SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
PHP คือ อะไร
หลายคนที่ทำาเว็บไซต์ด้วย HTML หรือโปรแกรมช่วยสร้างเว็บไซต์
ต่างๆ เช่น Dreamweaver แล้วอาจสงสัยว่าเมื่อทำา form สำาหรับ รับ
ค่าเช่น ชื่อ ทีอยู่ เสร็จแล้วจะเก็บค่ายังไง หรือจะทำาอย่างไรต่อ หรือเว็บ
               ่
บอร์ดทำางานอย่างไร CMS ทำางานอย่างไร ทำาไมบางเว็บไซต์สามารถ
โต้ตอบกับ ผู้ใช้งานได้ คำาตอบของทุกคำาถามคือ PHP ครับ
PHP นั้นเป็นภาษาสำาหรับใช้ในการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ สามารถ
เขียนได้หลากหลายโปรแกรมเช่นเดียวกับภาษาทั่วไป อาจมีข้อสงสัยว่า
ต่างจาก HTML อย่างไร คำาตอบคือ HTML นั้นเป็นภาษาที่ใช้ในการ
จัดรูปแบบของเว็บไซต์ จัดตำาแหน่งรูป จัดรูปแบบตัวอักษร หรือใส่สีสัน
ให้กับ เว็บไซต์ของเรา แต่ PHP นั้นเป็นส่วนที่ใช้ในการคำานวน
ประมวลผล เก็บค่า และทำาตามคำาสั่งต่างๆ อย่างเช่น รับค่าจากแบบ
form ที่เราทำา รับค่าจากช่องคำาตอบของเว็บบอร์ดและเก็บไว้เพื่อนำามา
แสดงผลต่อไป แม้แต่กระทั่งใช้ในการเขียน CMS ยอดนิยมเช่น
Drupal , Joomla พูดง่ายๆคือเว็บไซต์จะโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ ต้องมี
ภาษา PHP ส่วน HTML หรือ Javascript ใช้เป็นเพียงแค่ตัวควบคุม
การแสดงผลเท่านั้น
นอกจากภาษา PHP แล้ว ยัง มีภ าษาอื่น อีก หรือ ไม่
คำาตอบคือมีครับ เช่น ASP , JSP แต่ที่นิยมมาก คือ PHP เพราะเป็น
ภาษาที่สามารถศึกษาได้ง่าย ทำางานได้มีประสิทธิภาพ ทำาให้เป็นที่นิยม
อย่างยิ่งในปัจจุบัน รวมทั้งมีชุมชนคนใช้งาน และคู่มือที่ ดีมาก และ
สำาคัญสุดคือฟรีครับ การใช้งานภาษา PHP ไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายใดๆทั้ง
สิ้น ทุกคนสามารถเข้าถึงได้
การจะเขีย น PHP ต้อ งมีอ ะไรบ้า ง
อย่างที่บอกไปว่า PHP นั้นจำาเป็นจะต้องมีการประมวลผลดังนั้นการใช้
งานเราจะต้องมี Web Server เพื่อให้ตัว PHP สามารถทำางานได้ ต่าง
จาก HTML งั้นจะทำาอย่างไรถ้าเราไม่ได้เช่า Web Server เอาไว้จะใช้
งาน PHP ไม่ได้หรือ คำาตอบคือได้ครับ แต่เราจะต้องลงโปรแกรม ให้
เครื่องที่เราใช้งานอยู่นั้นทำางานเหมือนกับ Web Server ซะก่อนซึ่ง
โปรแกรมนั้นชื่อว่า Apache ครับเป็นโปรแกรมฟรีเหมือนกัน นี่เป็น
ข้อดี ที่ทำาให้ทุกคนรัก PHP ครับ หลังจากที่เราทำาให้เครื่องของเรานั้น
เหมือนกับ Web Server แล้วจะเก็บข้อมูลเว็บไซต์เช่น คำาตอบของเว็บ
บอร์ด จะเก็บอย่างไร คำาตอบคือต้องมีโปรแกรมฐานข้อมูลอีกตัวเข้ามา
ช่วยครับ ซึ่งโปรแกรมที่แนะนำาคือ MySQL ครับฟรีอีกเช่นกัน ทั้งหมด
สำาหรับมือใหม่อาจ จะเริ่มลงโปรแกรมทั้งหมดนั้นยากนะครับ จึงมี
โปรแกรมที่รวมทุกอย่าง เพื่อจำาลองเครื่องของเราให้เป็น Web Server
เลยสามารถลงได้ง่ายๆ ซึ่ง จะมีสอนในบทต่อไปนะครับ
การพัฒ นาเว็บ ไซต์ด ้ว ย PHP
สำาหรับผู้พัฒนาเว็บไซต์ด้วย PHP นั้นปรกติจะทำาการจำาลองเครื่องของ
ตัวเองให้เป็น Web Server ระหว่างการพัฒนาเพื่อดูการทำางาน ของ
โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาครับ จากนั้นจึงจะอัพไฟล์ทั้งหมดลงใน Web
Server จริงครับ ในส่วนของ Web Server นั้นทาง Hellomyweb ก็มี
ให้บริการอยู่นะครับ สนใจคลิกที่นี่ครับ ถามว่าเราจะให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ของเรานั้นทำางานได้เหมือนกับ Web server จริงได้หรือ
ไม่ คำาตอบคือได้ครับ แต่มันออกจะไม่คุ่มค่า ทางการเงินนะครับ เพราะ
เราต้องเสียค่าไฟ ค่าอินเตอร์เน็ต เครื่องคอมก็ต้องเปิดไว้ตลอดปิดไม่ได้
เวลาผู้ใช้งานจากภายนอกมาเรียกใช้ก็รองรับไม่ได้ไม่มาก ดังนั้นการ
เช่า Web Server ภายนอกจะคุ่มค่ามากกว่าครับ หากต้องการจะ
พัฒนาเว็บไซต์เพื่อใช้งานจริงๆ
สำาหรับคนที่มีข้อสงสัยหรือมีคำาถามสามารถตั้งคำาถามได้ที่ Webboard
ของ Hellomyweb นะครับ ทางเรายินดีตอบทุกคำาถามครับ สำาหรับบท
ต่อไปจะพูดถึงโปรแกรมที่ทำาการจำาลองเว็บไซต์ของเราให้เป็น Web
Server ครับ
 PHP ย่อมาจากคำาว่า "Personal Home Page Tool" เป็น Server
Side Script ที่มีการทำางานที่ฝั่งของเครื่องคอมพิวเตอร์ Server ซึ่งรูป
แบบในการเขียนคำาสั่งการทำางานนั้นจะมีลักษณะคล้ายกับภาษา Perl
หรือภาษา C และสามารถที่จะใช้ร่วมกับภาษา HTML ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งจะทำาให้รูปแบบเว็บเพจมีความสามารถเพิ่มขึ้นในด้าน
ของการเขียนโปรแกรม ในการสร้างเว็บจะใช้ Script อยู่ 2 แบบด้วย
กันคือ
    - Server-Side Script เป็นลักษณะของภาษาที่ทำางานบนเครื่อง
Server เช่น CGI, ASP
      - Client-Side Script เป็นลักษณะของภาษาที่ทำางานบนเครื่องผู้
ใช้เช่น JavaScript, VBScript
      ความสามารถของ PHP นั้น สามารถที่จะทำางานเกี่ยวกับ
Dynamic Web ได้ทุกรูปแบบ เหมือนกับ CGI หรือ ASP ไม่ว่าจะ
เป็นการดูแลจัดการระบบฐานข้อมูล ระบบรักษาความปลอดภัยของ
เว็บเพจ การรับ - ส่ง Cookies เป็นต้น
แต่ที่เป็นคุณสมบัติเด่นของ PHP ก็น่าจะเป็นการติดต่อกับ
โปรแกรมจัดการระบบฐานข้อมูล ที่มอยู่มากมาย ซึ่งฐานข้อมูลที่ PHP
                                  ี
สนับสนุนมีดังนี้
Adabas D         InterBase Solid           Microsoft Access
dBase            mSQL                                 Sybase
Empress             MySQL                   Velocis
FilePro           Oracle                     Unix dbm
Informix         PostgreSQL                SQL Server




ประวัติความเป็นมา
PHP ย่อมาจาก Professional Home Page ซึ่งเป็นภาษาจำาพวก
Script Language คำาสั่งต่างๆ จะเก็บอยู่ในไฟล์ที่เรียกว่า สคริปต์
(Scrip) และเวลาใช้งานต้องอาศัยตัวแปรชุดคำาสั่ง ซึ่งทำางานโดยการ
สั่งงานจากเว็บเพจ แต่ไปประมวลผลที่ Web Server สำาหรับแสดง
เว็บเพจอย่างหนึ่ง ที่จดอยู่ในกลุ่ม Server Side Script และจะทำางาน
                      ั
ในฝั่ง Server แล้วส่งการแสดงผลมายัง Browser ของตัว Client
นอกจากนี้มันยังเป็น Script ที่ Embed บน HTML อีกด้วย ส่วนเลขที่
ต่อท้ายก็หมายถึงรุ่น (version) นั่นเอง และกำาลังเป็นที่นิยมกันมากใน
หมู่นักสร้างเว็บทั่วโลก ตัวอย่างของภาษาสคริปต์ก็ เช่น Java Script,
Perl, ASP (Active Server Page) เป็นต้น
PHP ถือกำาเนิดในปี 1994 เดิมทีเป็นเพียงโปรแกรมเล็กๆ ที่นาย
Rasmus Lerdorf นำามาใช้งานสำาหรับทำา เว็บเพจ resume ของเขา
โดยตอนแรกใช้ภาษา Perl แต่กลับพบว่ามันทำางานค่อนข้างช้า จึงได้
ลงมือเขียนขึ้นใหม่เองด้วยไวยากรณ์ภาษา C และให้ชื่อว่า "Personal
Home Page Tools" ขณะเดียวกันก็ได้พัฒนาส่วนติดต่อกับฐานข้อมูล
ที่เรียกว่า Form Intepreter (FI) เมื่อเขามีของดีอยู่กับตัวใครๆที่มา
เยี่ยมเว็บไซต์ของเขาต่างก็ขอสำาเนาโปรแกรมดังกล่าว เพื่อเอากลับไป
ใช้งานเองบ้าง จนมีคนรู้จักกันดี นี่อาจจะนับเป็น PHP รุ่นที่ 1 ก็น่าจะ
ได้ หลังจากใช้งานไประยะหนึ่งผู้ใช้ก็ร้องขอ นาย Rasmus Lerdorf
ให้ขยายความสามารถของโปรแกรมให้มากขึ้น จนใกล้เคียงกับการใช้
CGI (Commom Gateway Interface)ใน Web Server กลายเป็น
PHP/FI รุ่นที่ 2
แต่ก็อีกนั่นแหละเมื่อ PHP เป็นที่นิยมของชนหมู่มาก นาย Rasmus
Lerdorf คนเดียวก็ดูเหมือนจะพัฒนาคนเดียวไม่ไหว โชคดีที่ได้ผู้ร่วม
งานที่ก้าวเข้ามา ช่วยปรับปรุง เปลี่ยนแปลงกันแบบขนานใหญ่ คือ นาย
Zeev Suraski กับ Andi Gutmans ชาวอิสราเอลที่ Lerdorf ถึงกับ
เอ่ยปากชมว่าเป็นสุดยอดจริงๆ ทั้งสองคนเอา PHP ของ Lerdorf มา
เขียนใหม่หมดเลยด้วย C++ และได้อีกสามหนุ่มคือ Stig
Bakken,Shane Caraveo และ Jim Winstrad มาเป็นทีมงานที่สร้าง
PHP3 โดยนาย Stig Bakken รับผิดชอบเกี่ยวกับความสามารถในการ
สนับสนุน Oracle, Shane Caraveo ดูแล PHP บน Windows
9x/NT และ Jim Winstrad คอยตรวจสอบข้อบกพร่องต่างๆอีกครั้ง
ตอนนี้ Zeev Suraski กับ Andi Gutmans ปัจจุบันร่วมกันพัฒนาต่อ
เป็น PHP4 โดยตั้งชื่อว่า Zend ซึ่งเป้าหมายคือชิงความเป็นเลิศเหนือ
ASP โดยที่ Zend จะเป็น complie script เลย ไม่ใช่ embed
script interprete ซึ่งจะทำาให้ run ได้เร็วกว่า จะเหมือนกับ
concept ของ advance ASP ที่ใช้ VB6 สร้างคือทำาเป็น dll ให้หมด
ตอนนี้ Zend ได้แจก beta ให้ tester ของเขาแล้ว แต่บอกว่า it
would obviously be free for use and open source และดู
เหมือนจะ support activex
Zend ก็คือ Ze(ev)+(A)nd(i Gutmans) ชาวอิสราเอลสองคนที่มาฉุด
ให้ PHP4 วิ่งฉิว หากสนใจก็แวะไปดูได้ที่ www. zend.com แต่
Lerdorf ก็บอกว่า ทีมงานยังเหมือนเดิม



ประโยชน์ที่ได้รับจาก PHP
ในปัจจุบัน Web Site ต่างๆได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว
เช่น เรื่องของความสวยงามและแปลกใหม่ การบริการข่าวสารข้อมูลที่
ทันสมัย เป็นสื่อกลางในการติดต่อ และสิ่งหนึ่งที่กำาลังได้รับความนิยม
เป็นอย่างมากซึ่ง ถือได้ว่าเป็นการปฏิวัติรูปแบบการขายของก็คือ E-
commerce ซึ่งเจ้าของสินค้าต่างๆ ไม่จำาเป็นต้องมีร้านค้าจริงและไม่
จำาเป็นต้องจ้างคนขายของอีกต่อไป ร้านค้าและตัวสินค้านั้น จะไป
ปรากฏอยู่บน Web Site แทน และการซื้อขายก็เกิดขึ้นบนโลกของ
Internet แล้ว PHP ช่วยเราให้เป็นเจ้าของร้านบน Internet ได้
อย่างไร PHP เป็นภาษาสคริปต์ที่มีความสามารถสูง สำาหรับการพัฒนา
Web Site และความสามารถที่โดดเด่นอีกประการหนึ่งของ PHP คือ
database enabled web page ทำาให้เอกสารของ HTML สามารถที่
จะเชื่อมต่อกับระบบฐานข้อมูล (database) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
รวดเร็ว จึงทำาให้ความต้องการในเรื่องการจัดรายการสินค้าและรับ
รายการสั่งของตลอดจนการจัดเก็บ ข้อมูลต่างๆ ที่สำาคัญผ่านทาง
Internet เป็นไปได้อย่างง่ายดาย
รายการระบบฐานข้อมูลที่ PHP สามารถเชื่อมต่อได้คือ
Oracle, Sybase, mSQL, MySQL, SOLID, ODBC, PostgreSQL,
Adabas D, FilePro, Velocis, Informix, dbase, Unix dbm



เหตุผลที่ PHP ได้รับความนิยมก็คือ
1. เป็นของฟรี ว่ากันว่าสุดยอดของ Web Server ในฝันของผู้ใช้ที่รู้จัก
คุณค่าของเงินก็คือ ระบบปฏิบัติการ Linux, โปรแกรมเว็บ Apache,
โปรแกรมฐานข้อมูล MySQL, และ Server Site Script อย่าง PHP
เพราะทุกอย่างฟรีหมด
2. มีความเร็ว อะไรที่เกิดมาทีหลังย่อมได้เปรียบ คำาพูดนี้ดูเหมือนจะเป็น
จริงเสมอ เพราะ PHP นำาเอาข้อดีของทั้ง C, Perl และ Java มาผนวก
เข้าด้วยกัน ทำาให้ทำางานได้รวดเร็วกว่า CGI หรือแม้แต่ ASP และมี
ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อใช้กับ Apache Server เพราะไม่ต้องใช้
โปรแกรมจากภายนอก
3. Open Source การพัฒนาของโปรแกรมไม่ได้ยึดติดกับบุคคลหรือ
กลุ่มคนเล็กๆ แต่เปิดโอกาสให้โปรแกรมเมอร์ทั่วไปได้เข้ามาช่วยกัน
พัฒนา ทำาให้มีคนใช้งานจำานวนมาก และพัฒนาได้เร็วขึ้น
4. Crossable Platform ใช้ได้กับหลายๆระบบปฏิบัติการไม่ว่าบน
Windows,Unix, Linux หรืออื่นๆ โดยแทบจะไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโค้ด
คำาสั่งเลย
5. เรียนรู้ง่าย เนื่องจาก PHP ฝังเข้าไปใน HTML และใช้โครงสร้าง
และไวยากรณ์ภาษาง่ายๆ
6. ใช้ร่วมกับ XML ได้ทันที
7. ใช้ร่วมกับ Database ได้เกือบทุกยี่ห้อ ดังกล่าวไปแล้วข้างต้น
8. ใช้กับระบบแฟ้มข้อมูลได้
9. ใช้ร่วมกับข้อมูลตัวอักษรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
10. ใช้กับโครงสร้างข้อมูลได้ทั้งแบบ Scalar, Array, Associative
array
11. ใช้กับการประมวลผลภาพได้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Javacentrix com chap05-0
Javacentrix com chap05-0Javacentrix com chap05-0
Javacentrix com chap05-0
Theeravaj Tum
 
Book sru
Book sruBook sru
Book sru
phochai
 
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บการเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Khon Kaen University
 
คณิศร บุตรดีไชย
คณิศร  บุตรดีไชยคณิศร  บุตรดีไชย
คณิศร บุตรดีไชย
Minny Doza
 
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
krunoommr
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
nichaphat22
 

Mais procurados (19)

Javacentrix com chap05-0
Javacentrix com chap05-0Javacentrix com chap05-0
Javacentrix com chap05-0
 
Web browser คืออะไร
Web browser คืออะไรWeb browser คืออะไร
Web browser คืออะไร
 
Book sru
Book sruBook sru
Book sru
 
HTML5 Startup
HTML5 StartupHTML5 Startup
HTML5 Startup
 
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บการเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
 
Php training
Php trainingPhp training
Php training
 
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
 
ภาษา java sript
ภาษา java sriptภาษา java sript
ภาษา java sript
 
คณิศร บุตรดีไชย
คณิศร  บุตรดีไชยคณิศร  บุตรดีไชย
คณิศร บุตรดีไชย
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTMLการเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
 
Answer unit2.1
Answer unit2.1Answer unit2.1
Answer unit2.1
 
Ch19
Ch19Ch19
Ch19
 
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
 
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
vb.net
vb.netvb.net
vb.net
 
E book4
E book4E book4
E book4
 
เสนอคอม.Doc
เสนอคอม.Docเสนอคอม.Doc
เสนอคอม.Doc
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 

Destaque (6)

การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
สมรรถนะการบริหาร
สมรรถนะการบริหารสมรรถนะการบริหาร
สมรรถนะการบริหาร
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
 

Semelhante a งานครูปลาม์

ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555
M'Mod Ta Noy
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555
M'Mod Ta Noy
 
20080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-920080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-9
Nong ton
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
เขมิกา กุลาศรี
 
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
hello8421
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
SubLt Masu
 
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
Cupid Eros
 

Semelhante a งานครูปลาม์ (20)

ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555
 
Introduction to PHP programming
Introduction to PHP programmingIntroduction to PHP programming
Introduction to PHP programming
 
Web Development with Joomla
Web Development with JoomlaWeb Development with Joomla
Web Development with Joomla
 
20080306 Joomla
20080306 Joomla20080306 Joomla
20080306 Joomla
 
20080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-920080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-9
 
Php beginner
Php beginnerPhp beginner
Php beginner
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
Dreamweaver
DreamweaverDreamweaver
Dreamweaver
 
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
 
Ppt Moodle
Ppt MoodlePpt Moodle
Ppt Moodle
 
ภาษา php
ภาษา phpภาษา php
ภาษา php
 
Joomla CMS
Joomla CMSJoomla CMS
Joomla CMS
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
Silverlight doc
Silverlight docSilverlight doc
Silverlight doc
 
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
 

งานครูปลาม์

  • 1. PHP คือ อะไร หลายคนที่ทำาเว็บไซต์ด้วย HTML หรือโปรแกรมช่วยสร้างเว็บไซต์ ต่างๆ เช่น Dreamweaver แล้วอาจสงสัยว่าเมื่อทำา form สำาหรับ รับ ค่าเช่น ชื่อ ทีอยู่ เสร็จแล้วจะเก็บค่ายังไง หรือจะทำาอย่างไรต่อ หรือเว็บ ่ บอร์ดทำางานอย่างไร CMS ทำางานอย่างไร ทำาไมบางเว็บไซต์สามารถ โต้ตอบกับ ผู้ใช้งานได้ คำาตอบของทุกคำาถามคือ PHP ครับ PHP นั้นเป็นภาษาสำาหรับใช้ในการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ สามารถ เขียนได้หลากหลายโปรแกรมเช่นเดียวกับภาษาทั่วไป อาจมีข้อสงสัยว่า ต่างจาก HTML อย่างไร คำาตอบคือ HTML นั้นเป็นภาษาที่ใช้ในการ จัดรูปแบบของเว็บไซต์ จัดตำาแหน่งรูป จัดรูปแบบตัวอักษร หรือใส่สีสัน ให้กับ เว็บไซต์ของเรา แต่ PHP นั้นเป็นส่วนที่ใช้ในการคำานวน ประมวลผล เก็บค่า และทำาตามคำาสั่งต่างๆ อย่างเช่น รับค่าจากแบบ form ที่เราทำา รับค่าจากช่องคำาตอบของเว็บบอร์ดและเก็บไว้เพื่อนำามา แสดงผลต่อไป แม้แต่กระทั่งใช้ในการเขียน CMS ยอดนิยมเช่น Drupal , Joomla พูดง่ายๆคือเว็บไซต์จะโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ ต้องมี ภาษา PHP ส่วน HTML หรือ Javascript ใช้เป็นเพียงแค่ตัวควบคุม การแสดงผลเท่านั้น นอกจากภาษา PHP แล้ว ยัง มีภ าษาอื่น อีก หรือ ไม่ คำาตอบคือมีครับ เช่น ASP , JSP แต่ที่นิยมมาก คือ PHP เพราะเป็น ภาษาที่สามารถศึกษาได้ง่าย ทำางานได้มีประสิทธิภาพ ทำาให้เป็นที่นิยม อย่างยิ่งในปัจจุบัน รวมทั้งมีชุมชนคนใช้งาน และคู่มือที่ ดีมาก และ สำาคัญสุดคือฟรีครับ การใช้งานภาษา PHP ไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายใดๆทั้ง สิ้น ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ การจะเขีย น PHP ต้อ งมีอ ะไรบ้า ง อย่างที่บอกไปว่า PHP นั้นจำาเป็นจะต้องมีการประมวลผลดังนั้นการใช้ งานเราจะต้องมี Web Server เพื่อให้ตัว PHP สามารถทำางานได้ ต่าง จาก HTML งั้นจะทำาอย่างไรถ้าเราไม่ได้เช่า Web Server เอาไว้จะใช้ งาน PHP ไม่ได้หรือ คำาตอบคือได้ครับ แต่เราจะต้องลงโปรแกรม ให้ เครื่องที่เราใช้งานอยู่นั้นทำางานเหมือนกับ Web Server ซะก่อนซึ่ง โปรแกรมนั้นชื่อว่า Apache ครับเป็นโปรแกรมฟรีเหมือนกัน นี่เป็น ข้อดี ที่ทำาให้ทุกคนรัก PHP ครับ หลังจากที่เราทำาให้เครื่องของเรานั้น เหมือนกับ Web Server แล้วจะเก็บข้อมูลเว็บไซต์เช่น คำาตอบของเว็บ บอร์ด จะเก็บอย่างไร คำาตอบคือต้องมีโปรแกรมฐานข้อมูลอีกตัวเข้ามา ช่วยครับ ซึ่งโปรแกรมที่แนะนำาคือ MySQL ครับฟรีอีกเช่นกัน ทั้งหมด สำาหรับมือใหม่อาจ จะเริ่มลงโปรแกรมทั้งหมดนั้นยากนะครับ จึงมี
  • 2. โปรแกรมที่รวมทุกอย่าง เพื่อจำาลองเครื่องของเราให้เป็น Web Server เลยสามารถลงได้ง่ายๆ ซึ่ง จะมีสอนในบทต่อไปนะครับ การพัฒ นาเว็บ ไซต์ด ้ว ย PHP สำาหรับผู้พัฒนาเว็บไซต์ด้วย PHP นั้นปรกติจะทำาการจำาลองเครื่องของ ตัวเองให้เป็น Web Server ระหว่างการพัฒนาเพื่อดูการทำางาน ของ โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาครับ จากนั้นจึงจะอัพไฟล์ทั้งหมดลงใน Web Server จริงครับ ในส่วนของ Web Server นั้นทาง Hellomyweb ก็มี ให้บริการอยู่นะครับ สนใจคลิกที่นี่ครับ ถามว่าเราจะให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ของเรานั้นทำางานได้เหมือนกับ Web server จริงได้หรือ ไม่ คำาตอบคือได้ครับ แต่มันออกจะไม่คุ่มค่า ทางการเงินนะครับ เพราะ เราต้องเสียค่าไฟ ค่าอินเตอร์เน็ต เครื่องคอมก็ต้องเปิดไว้ตลอดปิดไม่ได้ เวลาผู้ใช้งานจากภายนอกมาเรียกใช้ก็รองรับไม่ได้ไม่มาก ดังนั้นการ เช่า Web Server ภายนอกจะคุ่มค่ามากกว่าครับ หากต้องการจะ พัฒนาเว็บไซต์เพื่อใช้งานจริงๆ สำาหรับคนที่มีข้อสงสัยหรือมีคำาถามสามารถตั้งคำาถามได้ที่ Webboard ของ Hellomyweb นะครับ ทางเรายินดีตอบทุกคำาถามครับ สำาหรับบท ต่อไปจะพูดถึงโปรแกรมที่ทำาการจำาลองเว็บไซต์ของเราให้เป็น Web Server ครับ PHP ย่อมาจากคำาว่า "Personal Home Page Tool" เป็น Server Side Script ที่มีการทำางานที่ฝั่งของเครื่องคอมพิวเตอร์ Server ซึ่งรูป แบบในการเขียนคำาสั่งการทำางานนั้นจะมีลักษณะคล้ายกับภาษา Perl หรือภาษา C และสามารถที่จะใช้ร่วมกับภาษา HTML ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งจะทำาให้รูปแบบเว็บเพจมีความสามารถเพิ่มขึ้นในด้าน ของการเขียนโปรแกรม ในการสร้างเว็บจะใช้ Script อยู่ 2 แบบด้วย กันคือ - Server-Side Script เป็นลักษณะของภาษาที่ทำางานบนเครื่อง Server เช่น CGI, ASP - Client-Side Script เป็นลักษณะของภาษาที่ทำางานบนเครื่องผู้ ใช้เช่น JavaScript, VBScript ความสามารถของ PHP นั้น สามารถที่จะทำางานเกี่ยวกับ Dynamic Web ได้ทุกรูปแบบ เหมือนกับ CGI หรือ ASP ไม่ว่าจะ เป็นการดูแลจัดการระบบฐานข้อมูล ระบบรักษาความปลอดภัยของ เว็บเพจ การรับ - ส่ง Cookies เป็นต้น
  • 3. แต่ที่เป็นคุณสมบัติเด่นของ PHP ก็น่าจะเป็นการติดต่อกับ โปรแกรมจัดการระบบฐานข้อมูล ที่มอยู่มากมาย ซึ่งฐานข้อมูลที่ PHP ี สนับสนุนมีดังนี้ Adabas D InterBase Solid Microsoft Access dBase mSQL Sybase Empress MySQL Velocis FilePro Oracle Unix dbm Informix PostgreSQL SQL Server ประวัติความเป็นมา PHP ย่อมาจาก Professional Home Page ซึ่งเป็นภาษาจำาพวก Script Language คำาสั่งต่างๆ จะเก็บอยู่ในไฟล์ที่เรียกว่า สคริปต์ (Scrip) และเวลาใช้งานต้องอาศัยตัวแปรชุดคำาสั่ง ซึ่งทำางานโดยการ สั่งงานจากเว็บเพจ แต่ไปประมวลผลที่ Web Server สำาหรับแสดง เว็บเพจอย่างหนึ่ง ที่จดอยู่ในกลุ่ม Server Side Script และจะทำางาน ั ในฝั่ง Server แล้วส่งการแสดงผลมายัง Browser ของตัว Client นอกจากนี้มันยังเป็น Script ที่ Embed บน HTML อีกด้วย ส่วนเลขที่ ต่อท้ายก็หมายถึงรุ่น (version) นั่นเอง และกำาลังเป็นที่นิยมกันมากใน หมู่นักสร้างเว็บทั่วโลก ตัวอย่างของภาษาสคริปต์ก็ เช่น Java Script, Perl, ASP (Active Server Page) เป็นต้น PHP ถือกำาเนิดในปี 1994 เดิมทีเป็นเพียงโปรแกรมเล็กๆ ที่นาย Rasmus Lerdorf นำามาใช้งานสำาหรับทำา เว็บเพจ resume ของเขา โดยตอนแรกใช้ภาษา Perl แต่กลับพบว่ามันทำางานค่อนข้างช้า จึงได้ ลงมือเขียนขึ้นใหม่เองด้วยไวยากรณ์ภาษา C และให้ชื่อว่า "Personal Home Page Tools" ขณะเดียวกันก็ได้พัฒนาส่วนติดต่อกับฐานข้อมูล ที่เรียกว่า Form Intepreter (FI) เมื่อเขามีของดีอยู่กับตัวใครๆที่มา เยี่ยมเว็บไซต์ของเขาต่างก็ขอสำาเนาโปรแกรมดังกล่าว เพื่อเอากลับไป ใช้งานเองบ้าง จนมีคนรู้จักกันดี นี่อาจจะนับเป็น PHP รุ่นที่ 1 ก็น่าจะ ได้ หลังจากใช้งานไประยะหนึ่งผู้ใช้ก็ร้องขอ นาย Rasmus Lerdorf
  • 4. ให้ขยายความสามารถของโปรแกรมให้มากขึ้น จนใกล้เคียงกับการใช้ CGI (Commom Gateway Interface)ใน Web Server กลายเป็น PHP/FI รุ่นที่ 2 แต่ก็อีกนั่นแหละเมื่อ PHP เป็นที่นิยมของชนหมู่มาก นาย Rasmus Lerdorf คนเดียวก็ดูเหมือนจะพัฒนาคนเดียวไม่ไหว โชคดีที่ได้ผู้ร่วม งานที่ก้าวเข้ามา ช่วยปรับปรุง เปลี่ยนแปลงกันแบบขนานใหญ่ คือ นาย Zeev Suraski กับ Andi Gutmans ชาวอิสราเอลที่ Lerdorf ถึงกับ เอ่ยปากชมว่าเป็นสุดยอดจริงๆ ทั้งสองคนเอา PHP ของ Lerdorf มา เขียนใหม่หมดเลยด้วย C++ และได้อีกสามหนุ่มคือ Stig Bakken,Shane Caraveo และ Jim Winstrad มาเป็นทีมงานที่สร้าง PHP3 โดยนาย Stig Bakken รับผิดชอบเกี่ยวกับความสามารถในการ สนับสนุน Oracle, Shane Caraveo ดูแล PHP บน Windows 9x/NT และ Jim Winstrad คอยตรวจสอบข้อบกพร่องต่างๆอีกครั้ง ตอนนี้ Zeev Suraski กับ Andi Gutmans ปัจจุบันร่วมกันพัฒนาต่อ เป็น PHP4 โดยตั้งชื่อว่า Zend ซึ่งเป้าหมายคือชิงความเป็นเลิศเหนือ ASP โดยที่ Zend จะเป็น complie script เลย ไม่ใช่ embed script interprete ซึ่งจะทำาให้ run ได้เร็วกว่า จะเหมือนกับ concept ของ advance ASP ที่ใช้ VB6 สร้างคือทำาเป็น dll ให้หมด ตอนนี้ Zend ได้แจก beta ให้ tester ของเขาแล้ว แต่บอกว่า it would obviously be free for use and open source และดู เหมือนจะ support activex Zend ก็คือ Ze(ev)+(A)nd(i Gutmans) ชาวอิสราเอลสองคนที่มาฉุด ให้ PHP4 วิ่งฉิว หากสนใจก็แวะไปดูได้ที่ www. zend.com แต่ Lerdorf ก็บอกว่า ทีมงานยังเหมือนเดิม ประโยชน์ที่ได้รับจาก PHP ในปัจจุบัน Web Site ต่างๆได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว เช่น เรื่องของความสวยงามและแปลกใหม่ การบริการข่าวสารข้อมูลที่ ทันสมัย เป็นสื่อกลางในการติดต่อ และสิ่งหนึ่งที่กำาลังได้รับความนิยม เป็นอย่างมากซึ่ง ถือได้ว่าเป็นการปฏิวัติรูปแบบการขายของก็คือ E- commerce ซึ่งเจ้าของสินค้าต่างๆ ไม่จำาเป็นต้องมีร้านค้าจริงและไม่ จำาเป็นต้องจ้างคนขายของอีกต่อไป ร้านค้าและตัวสินค้านั้น จะไป ปรากฏอยู่บน Web Site แทน และการซื้อขายก็เกิดขึ้นบนโลกของ
  • 5. Internet แล้ว PHP ช่วยเราให้เป็นเจ้าของร้านบน Internet ได้ อย่างไร PHP เป็นภาษาสคริปต์ที่มีความสามารถสูง สำาหรับการพัฒนา Web Site และความสามารถที่โดดเด่นอีกประการหนึ่งของ PHP คือ database enabled web page ทำาให้เอกสารของ HTML สามารถที่ จะเชื่อมต่อกับระบบฐานข้อมูล (database) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ รวดเร็ว จึงทำาให้ความต้องการในเรื่องการจัดรายการสินค้าและรับ รายการสั่งของตลอดจนการจัดเก็บ ข้อมูลต่างๆ ที่สำาคัญผ่านทาง Internet เป็นไปได้อย่างง่ายดาย รายการระบบฐานข้อมูลที่ PHP สามารถเชื่อมต่อได้คือ Oracle, Sybase, mSQL, MySQL, SOLID, ODBC, PostgreSQL, Adabas D, FilePro, Velocis, Informix, dbase, Unix dbm เหตุผลที่ PHP ได้รับความนิยมก็คือ 1. เป็นของฟรี ว่ากันว่าสุดยอดของ Web Server ในฝันของผู้ใช้ที่รู้จัก คุณค่าของเงินก็คือ ระบบปฏิบัติการ Linux, โปรแกรมเว็บ Apache, โปรแกรมฐานข้อมูล MySQL, และ Server Site Script อย่าง PHP เพราะทุกอย่างฟรีหมด 2. มีความเร็ว อะไรที่เกิดมาทีหลังย่อมได้เปรียบ คำาพูดนี้ดูเหมือนจะเป็น จริงเสมอ เพราะ PHP นำาเอาข้อดีของทั้ง C, Perl และ Java มาผนวก เข้าด้วยกัน ทำาให้ทำางานได้รวดเร็วกว่า CGI หรือแม้แต่ ASP และมี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อใช้กับ Apache Server เพราะไม่ต้องใช้ โปรแกรมจากภายนอก 3. Open Source การพัฒนาของโปรแกรมไม่ได้ยึดติดกับบุคคลหรือ กลุ่มคนเล็กๆ แต่เปิดโอกาสให้โปรแกรมเมอร์ทั่วไปได้เข้ามาช่วยกัน พัฒนา ทำาให้มีคนใช้งานจำานวนมาก และพัฒนาได้เร็วขึ้น 4. Crossable Platform ใช้ได้กับหลายๆระบบปฏิบัติการไม่ว่าบน Windows,Unix, Linux หรืออื่นๆ โดยแทบจะไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโค้ด คำาสั่งเลย 5. เรียนรู้ง่าย เนื่องจาก PHP ฝังเข้าไปใน HTML และใช้โครงสร้าง และไวยากรณ์ภาษาง่ายๆ 6. ใช้ร่วมกับ XML ได้ทันที
  • 6. 7. ใช้ร่วมกับ Database ได้เกือบทุกยี่ห้อ ดังกล่าวไปแล้วข้างต้น 8. ใช้กับระบบแฟ้มข้อมูลได้ 9. ใช้ร่วมกับข้อมูลตัวอักษรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 10. ใช้กับโครงสร้างข้อมูลได้ทั้งแบบ Scalar, Array, Associative array 11. ใช้กับการประมวลผลภาพได้