SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 24
Baixar para ler offline
จัดทำโดย
                                             น.ส.วราภรณ์ แสงศรี จนทร์ เลขที่ 25
                                                                   ั
                                             น.ส.วริ นทร ธนะกูลวัฒนา เลขที่ 26
                                             น.ส.สลิลทิพย์ แสงศรี จนทร์ เลขที่ 28
                                                                     ั
                                                  น.ส.สุ ชญา มีศรี เลขที่ 29
                                                น.ส.อัจฉรา กันสิ ทธิ์ เลขที่ 33




ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 6/2 เสนอ คุณครูสายพิน วงษารัตน์
สาเหตุความขัดแย้ง
ระหว่างอิรก-คูเวต
          ั
สาเหตุความขัดแย้งระหว่างอิรก-คูเวต
                            ั
             คูเวต เป็ นประเทศในกลุ่มอาหรับขนาดเล็ก ตั้งอยูตอนบนของอ่าวเปอร์เซีย ทาง
                                                               ่
เหนือและตะวันตกติดกับอิรัก ทางตะวันออกติดกับอ่าวเปอร์เซีย ทางใต้ติดกับซาอุดิอาระเบีย มี
การค้นพบน้ ามันปิ โตรเลียมในคูเวตซึ่งมีปริ มาณร้อยละ 20 ของปริ มาณน้ ามันทั้งโลก นับตั้งแต่
ค.ศ.1946 คูเวตเป็ นประเทศผูผลิตน้ ามันรายใหญ่และส่ งน้ ามันมากเป็ นอันดับสองของโลก
                                 ้
             คูเวตเคยเป็ นรัฐในอารักขาของอังกฤษ ทาให้ฐานะเศรษฐกิจของอิรักทรุ ดหนักเพราะ
สิ นค้าหลักที่ส่งออกคือน้ ามัน ซึ่งมีปริ มาณร้อยละ 99 ของมูลค่าสิ นค้าออกทั้งหมด อิรักจึง
พยายามผลักดันให้องค์การโอเปกกาหนดโควต้าการผลิตน้ ามันและกาหนดราคาน้ ามันใหม่
เพื่อให้อิรักมีรายได้เพิ่มขึ้น อิรักอ้างว่าการที่ราคาน้ ามันในตลาดโลกลดลง เพราะคูเวตและ
สหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ลอบผลิตและขายน้ ามันเกินโควตา
เหตุการณ์
            ค.ศ. 1914-1961 เมื่อคูเวตได้รับเอกราชในวันที่ 19 มิถุนายน1961รัฐบาลอิรักอ้าง
       ่
สิ ทธิวาคูเวตเป็ นส่ วนหนึ่งของตนตามหลักเชื้อชาติภูมิศาสตร์ และสังคม แต่สนนิบาตอาหรับ
                                                                           ั
รับรองเอกราชของคูเวต
            ภายหลังสงครามอิรัก-อิหร่ านซึ่งกินเวลาถึง 8 ปี ส่ งผลให้อิรัก บอบช้ ามากจากการ
บูรณะประเทศ อิรักต้องเป็ นหนี้ต่างประเทศประมาณ 80,000 ล้านเหรี ยญดอลล่าร์
สหรัฐอเมริ กา
ข้อเรี ยกร้องที่รุนแรงของอิรักคือให้คูเวตคืนดินแดนที่รุกล้ าเข้ามา คือ เขต
Rumailah oilfield ซึ่ งมีน้ ามันอุดมสมบูรณ์และขอเช่าเกาะบูมิยน กับเกาะวาร์ บาห์ ใน
                                                                    ั
อ่าวเปอร์ เซี ย เพื่อให้อิรักขายน้ ามันผ่านอ่าวเปอร์ เซี ยโดยตรง โดยมิตองขายน้ ามันทาง
                                                                        ้
ท่อส่ งน้ ามันผ่านซาอุดิอาระเบียและตุรกีเช่นเดิม
            นอกจากนี้ อิรกยังกล่าวหาว่าระหว่างอิรกทาสงครามกับอิหร่านเป็ นเวลา8
                            ั                           ั
ปี คูเวตได้ขยายพรมแดนล่วงล้าเข้ามาทางใต้ของอิรก 4 กิโลเมตร เพื่อตั้งค่าย
                                                           ั
ทหารและตั้งสถานี ขุดเจาะน้ ามันเป็ นการขโมยน้ ามันของอิรก ยิ่งไปกว่านั้น อิรกทา
                                                                  ั                  ั
สงครามกับอิหร่านในนามชาติอาหรับและเพื่อความมันคงของชาติอาหรับทั้งมวล
                                                             ่
จึงสมควรที่คเวตต้องช่วยเหลือค่าใช้จายในการทาสงคราม
                ู                          ่
เมื่อสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรประเทศต่างๆ ส่งกาลังเข้าไปใน
ซาอุดิอาระเบียเพื่อปองกันการรุกรานของอิรก อิรกหันไปฟื้ นฟูความสัมพันธ์กบ
                      ้                   ั ั                           ั
อิหร่าน ซึ่งเป็ นศัตรูของสหรัฐอเมริกาและเคยเป็ นศัตรูของอิรกเองในสงคราม
                                                           ั
อิรก-อิหร่าน อิรก-อิหร่านได้ทาการแลกตัวประกันจานวน 70,000 คน และ
     ั             ั
อิรกได้ถอนทหารของตนออกจากดินแดนของอิหร่าน ซึ่งอิรกยึดครองมาตั้งแต่
   ั                                                     ั
สงครามอิรก-อิหร่าน การกระทาของอิรกชี้ ให้เห็นว่าอิรกต้องการให้สถานการณ์
            ั                          ั              ั
ด้านอิหร่านสงบ เพื่อไม่ตองพะวงศึกสองด้าน
                          ้
การเผชิญหน้าระหว่างอิรกและสหรัฐอเมริกาทวีความรุนแรง ในเดือน
                                 ั
ธันวาคม ค.ศ. 1998 รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาเตือนอิรกว่า
                               ่                                           ั
อาจจะมีการโจมตีอิรกได้ทุกเวลาหากอิรกยังคงขัดขวางการปฏิบติงานของอันสคอม
                    ั                  ั                    ั
         16 ธันวาคม ค.ศ.1998 เจ้าหน้าที่ของอันสคอมต้องเดินทางออกจากอิรก      ั
เพราะเกรงจะได้รบอันตรายจากอิรก และเช้าตรู่ของวันรุ่นขึ้ น ประธานาธิบดี บิล
                  ั                ั
คลินตัน ได้ส่งกาลังทหารไปยังอ่าวเปอร์เซียร่วมกับกองกาลังทหารอังกฤษเพื่อยิงถล่ม
อิรกภายใต้ปฏิบติการชื่อ “ปฏิบติการจิ้ งจอกทะเลทราย” เป็ นเวลา 4 วัน
   ั            ั            ั
จีน รัสเซีย ฝรังเศส รวมทั้งบรรดาชาติอาหรับอื่นๆ ต่างประณามการ
                        ่
กระทาของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ พร้อมทั้งเรียกร้องให้ยุติการโจมตีอิรกส่วน
                                                                   ั
สมาชิกนาโต ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิ วซีแลนด์ ต่างสนับสนุ นมาตรการแข็งกร้าวของ
สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ
         ปั ญหาอิรก คือ ปั ญหาที่ทาทายบทบาทของสหประชาชาติ ในเวลา
                    ั              ้
เดียวกันก็เป็ นปั ญหาภาพลักษณ์ของสหรัฐอเมริกาที่ชี้นาและดาเนิ นการโดยพลการ
ในนามสหประชาชาติ ถือเป็ นการละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติและหลักการของ
ประชาคมโลก
ผลกระทบจากสงครามอิรก - คูเวต
                    ั
   การสูญเสีย
กองกาลังผสม
           มีการรายงานว่ากองกาลังสหรัฐเสียทหารไปในการรบ 148 นาย (35 นาย
เสียชีวตจากการยิงพวกเดียวกันเอง) มีนักบินหนึ่ งนายที่ขึ้นว่าสูญหาย (ร่างของเขาถูกพบ
       ิ
และระบุตวได้ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552) อีก 145 นายเสียชีวตจากอุบติเหตุ สหราช
         ั                                                      ิ       ั
อาณาจักรเสียทหารไป 47 นาย (9 นายเสียชีวตจากการยิงพวกเดียวกันเอง) ฝรังเศสเสีย
                                           ิ                                 ่
ไป 2 นาย และอาหรับ ไม่รวมคูเวต เสียทหารไป 37 นาย (ซาอุ 18 นาย อียปต์ 10   ิ
นาย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 6 นาย และซีเรีย 3 นาย) ทหารคูเวตอย่างน้อย 605 นายที่
ยังคงหายสาบสูญหลังจากผ่านไป 10 ปี
การยิงพวกเดียวกันเอง
       ในขณะที่การตายของกองกาลังผสมมาจากการปะทะกับทหารอิรกนั้นตาั       ่
 มาก การตายส่วนมากเกิดจากการยิงพวกเดียวกันเอง ทหารอเมริกน 148ั
 นายที่เสียชีวิตในการรบมี 24% ที่ถกพวกเดียวกันเองยิง อีก 11 นายเสียชีวิต
                                  ู
 จากการระเบิด ทหารอังกฤษ 9 นายถูกสังหารโดยพวกเดียวกันเองเมื่อเอ-10
 ธันเดอร์โบลท์ 2 ของกองทัพอากาศสหรัฐโจมตีใส่กลุ่มยานพาหนะของ
 พันธมิตร
การตายของฝ่ ายอิรก
                  ั
         รายงานของกองทัพอากาศสหรัฐ ประมาณว่ามีทหารอิรกเสียชีวิต
                                                           ั
 10,000-12,000 นายจากการทัพทางอากาศและบนพื้ นดินอาจมีถึง
 10,000 นาย การประเมินนี้ อ้างอิงจากการรายงานจานวนเชลยศึกชาวอิรก         ั
 เป็ นที่ทราบกันว่ามีทหารอิรกเสียชีวิต 20,000 นาย
                            ั
         รัฐบาลของซัดดัมแจ้งจานวนพลเรือนที่เสียชีวิตสูงมากเพื่อเรียกร้องการ
 สนับสนุ นจากกลุ่มประเทศอิสลามรัฐบาลอิรกอ้างว่ามีพลเรือนเสียชีวิต 2,300
                                           ั
 รายจากการทัพทางอากาศ
 ตามการศึกษาของการปองกันทางเลือก (Defense Alternatives)
                        ้
 มีพลเรือนประมาณ 20,000 รายและทหารอีก 26,000 นายที่ถกสังหาร     ู
 ทหารอิรกได้รบบาดเจ็บทั้งสิ้ น 75,000 นายในสงคราม
            ั ั
การตายของพลเรือน
        พลเรือนได้รบความเสียหายอย่างมาก ในเหตุการณ์หนึ่ งเครื่องบินทิ้ ง
                     ั
 ระเบิดสเตลท์ได้โจมตีบงเกอร์ในอาเมียร์ยา ทาให้พลเรือนเสียชีวิตไป 200-
                           ั              ่
 400 ราย ซึ่งเป็ นผูลี้ภัยในตอนนั้น ผลที่ตามมาคือภาพสถานที่เกิดเหตุถก
                       ้                                             ู
 ถ่ายทอดและการโต้เถียงในเรื่องสถานะของบังเกอร์ก็เกิดขึ้ น โดยมีบางคนที่
 กล่าวว่ามันเป็ นที่หลบภัยของพลเรือนในขณะที่คนอื่นๆ กล่าวว่ามันเป็ นฐาน
 ปฏิบติการทางทหารและพลเมืองถูกย้ายไปที่นันเพื่อใช้เป็ นโล่มนุ ษย์ การ
      ั                                      ่
 สอบสวนของBeth Osborne Daponteได้ประมาณว่ามีพลเรือน
 บาดเจ็บสาหัส 3,500 รายจากการทิ้ งระเบิดกองกาลังผสมอ้างว่าพวกเขาได้
 หลีกเลี่ยงการโจมตีเปาหมายในเขตพลเรือนและหลีกเลี่ยงการทาลายที่อยู่
                         ้
 อาศัยของพลเรือน ไม่เหมือนกับการทัพก่อนหน้าอย่างการทิ้ งระเบิดโตเกียวใน
 สงครามโลกครั้งที่ 2
การตายของพลเรือนจากขีปนาวุธสกั๊ด

        ขีปนาวุธสกั๊ด 42 ลูกถูกยิงเข้าใส่อิสราเอลโดยอิรกตลอด 7 สัปดาห์ของ
                                                        ั
 สงครามพลเรือนอิสราเอลสองคนเสียชีวตจากการโจมตี มีบาดเจ็บอีก 230 ราย
                                          ิ
 ในรายงาน 10 คนได้รบบาดเจ็บปานกลางและสาหัสหนึ่ งราย อีกหลายคนตาย
                         ั
 เพราะหัวใจวาย อิสราเอลกระหายที่จะโต้ตอบด้วยกาลังทางทหาร แต่ตกลงที่จะไม่
 เข้าร่วมเมื่อรัฐบาลสหรัฐขอร้อง ซึ่งกลัวว่าหากอิสราเอลเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง
 ประเทศอาหรับอื่นๆ ก็จะเข้าร่วมกับอิรก อสราเอลได้รบแท่นยิงเอ็มไอเอ็ม-104
                                        ั             ั
 เพเทรียทสาหรับการปองกันขีปนาวุธ กองทัพอากาศเนเธอแลนด์ยงติดตั้ง
                       ้                                          ั
 ขีปนาวุธเพเทรียทเอาไว้ในตุรกีและอิสราเอลเพื่อตอบโต้จากโจมตีจากสกั๊ด ต่อมา
 กระทรวงกลาโหมของเนเธอแลนด์ได้กล่าวว่าการใช้ขีปนาวุธเพเทรียทนั้นไม่มี
 ประสิทธิภาพ แต่คุณค่าทางจิทยานั้นก็สง มีการแนะนาว่าการก่อสร้างที่แข็งแรง
                                            ู
 ในอิสราเอล และด้วยเหตุที่วาสกั๊ดมักยิงในตอนกลางคืน เป็ นปั จจัยที่ทาให้มีการ
                             ่
 เสียชีวตและบาดเจ็บน้อย
        ิ
การเจ็บป่ วยจากสงครามอ่าว
   ทหารของกองกาลังผสมหลายนายที่กลับมาถูกรายงานว่าเจ็บป่ วยหลังจากที่
    พวกเขาได้มีสวนร่วมในสงครามอ่าว อาการดังกล่าวถูกเรียกว่ากัลฟท์วอร์ซิน
                  ่
    โดรม (Gulf War syndrome) มีการไตร่ตรองอย่างแพร่หลายและ
    การไม่เห็นด้วยถึงสาเหตุของอาการป่ วย บางปั จจัยถูกมองว่าเป็ นสาเหตุของ
    การเจ็บป่ วย อย่าง กระสุนยูเรเนี ยม อาวุธเคมี วัคซีนแอนแทร็กซ์ที่ทหาร
    ต้องได้รบ และการติดเชื้ อ ผูพนไมเคิล ดอนเนลลี่ อดีตนายทหาร
            ั                   ้ ั
    กองทัพอากาศสหรัฐในสงครามอ่าว ได้ชวยกระจายข่าวของการเจ็บป่ วยและ
                                            ่
    เรียกร้องสิทธิให้กบทหารผ่านศึกเหล่านี้
                      ั
ผลกระทบจากกระสุนยูเรเนี ยม
   พื้ นที่ที่คาดว่ามีกระสุนยูเรเนี ยมตกอยู่
             กระสุนยูเรเนี ยม (Depleted uranium) ถูกใช้ในสงครามอ่าว
    เป็ นกระสุนเจาะเกราะพลังงานจลล์ของรถถังและกระสุนปื นใหญ่ขนาด 20-
    30 ม.ม. การใช้กระสุนแบบนี้ ในสงครามอ่าวครั้งแรกถูกกล่าวว่าเป็ นผลทา
    ให้สุขภาพของทหารผ่านศึกและพลเรือนได้รบผลกระทบ
                                              ั
ทางหลวงมรณะ
        ในคืนของวันที่26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 กองกาลังอิรกที่พายแพ้
                                                          ั ่
 กาลังล่าถอยออกจากคูเวตโดยใช้ทางหลวงสายเหนื อของอัล จาห์ราโดยเป็ น
 แถวขบวนรถทั้งสิ้ น 1,400 คัน เครื่องบินลาดตระเวนอี-8 จอยท์สตาร์สลา
 หนึ่ งได้ตรวจพบกองกาลังดังกล่าวและส่งข้อมูลให้กบศูนย์ปฏิบติการทาง
                                                 ั         ั
 อากาศเครื่องบินของกองทัพอากาศและกองทัพเรือสหรัฐได้เข้าติดตามและ
 ทาลายขบวนรถ ด้วยการทิ้ งระเบิดใส่เป็ นเวลาหลายชัวโมง เนื่ องจากว่าการ
                                                   ่
 โจมตีมากจากอากาศยานปี กนิ่ งที่บินในระดับสูง จึงทาให้ทหารอิรกไม่มี
                                                              ั
 โอกาสในการยอมจานน
สงครามระหว่างอิรกกับอิหร่านกินเวลายาวนาน 8 ปี ตั้งแต่ปี 2523 ถึง
                        ั
2531 สร้างความเสียหายมหาศาลให้กบทั้งสองประเทศนามาสู่การเปลี่ยนแปลง
                                 ั
ทางการเมืองในระดับภูมิภาคและระดับโลกอย่างไม่คาดคิดในเวลาต่อมา
จุดเริ่มของสงครามมาจากการโค่นล้ม
พระเจ้าชาห์ ปาฮ์เลวี โดยกลุ่มฝ่ ายซ้าย กลุ่ม
เสรีนิยม และกลุ่มศาสนานาโดย อยาโตเลาะ
โคไมนิ ทาให้สหรัฐต้องสูญเสียพันธมิตรทาง
ทหารและดุลทางทหารในภูมิภาค ใน
ขณะเดียวกันชาติอาหรับซุนหนี่ มีความ
หวาดกลัวต่อการขยายของการปฏิวติอิสลาม
                                  ั
โดยเฉพาะอิรกเพื่อนบ้านที่มีชาวชีอะเป็ นชน
               ั
ส่วนใหญ่ของประเทศถึงร้อยละ 60แต่มีรฐบาล ั
เป็ นชาวซุนนี่ ภายใต้การปกครองของพรรค
บาธที่มี ซัดดัม ฮุ สเซนเป็ นประธานาธิบดี
ประกอบกับอิรกมีความขัดแย้งด้านพรมแดน
                 ั
มาก่อนหน้านี้ จึงนาไปสู่การทาสงครามระหว่าง
สองประเทศ
การต่อต้านปฏิวติอิหร่านโดยการสนับสนุ นชาติอาหรับซุนหนี่ และสหรัฐ
                           ั
โดยให้อิรกเป็ นแนวหน้าก็ตามแต่ผลประโยชน์ของอิรกเป็ นจุดสาคัญต่อการ
           ั                                       ั
ตัดสินใจของอิรกความขัดแย้งเกิดจากแม่น้ าไทกริสและยูเฟรติสความขัดแย้งของ
                   ั
การอ้างสิทธิเหนื อแม่น้ าสายนี้ สืบกลับไปถึงสัญญาสันติภาพ ปี พ.ศ.2193 ระหว่าง
อาณาจักร อ๊อตโตมันกับเปอร์เซีย ในยุคอาณาอาณานิ คม มีความพยายามแก้ไข
พิพาทนี้ โดยอังกฤษเสนอให้ใช้ร่องน้ าลึกเป็ นแนวเขตแดนแต่ฝ่ายอิรกไม่ยอม โดยมี
                                                                ั
ต้องการให้เส้นพรมแดนอยูที่ฝังของอิหร่านแต่ในที่สุดอิรกยอมลงนามในสัญญา
                             ่ ่                       ั
อัลเจียร์ ยอมใช้ร่องน้ าลึกเป็ นแนวเขตแดนภายใต้ความกดดันของสหรัฐที่หนุ นหลัง
พระเจ้าชาร์ ปาฮ์เลวี และอิหร่านคูเซสถานเป็ นจังหวัดของอิหร่านติดกับจังหวัด
บาสรา ของอิรก และอ่าวเปอร์เซียจังหวัดนี้ อุดมไปด้วยน้ามัน เมืองอบาดานมีโรง
                 ั
กลันน้ามันขนาดใหญ่องกฤษผนวกดินแดนให้กบอิหร่านในยุคอาณานิ คมทาให้อิรก
    ่                   ั                      ั                              ั
ใช้เป็ นข้ออ้างถึงอธิปไตย
พ.ศ.2514อิรกตัดความสัมพันธ์กบอิหร่านจนถึงปี 2522 เกิดปฏิวติ
                        ั                 ั                            ั
อิหร่านจุดนี้ อาจจะทาให้ซดดัม ฮุ สเซน เห็นโอกาสในการโจมตีอิหร่าน จึงส่งกาลัง
                            ั
รุกรานอิหร่านที่นาไปสู่สงครามอันยาวนาน เมืองสาคัญของอิหร่านใกล้กบปากแม่
                                                                    ั
น้าชัท อัล อาหรับได้ความเสียหายอย่างหนักจากสงคราม เมืองอบาดานเมืองสาคัญ
ด้านอุตสาหกรรมน้ ามันถูกอิรกยึดครอง แต่กองกาลังทหารอิหร่านต้านทานอย่าง
                              ั
เข้มแข็งจนอิรกไม่สามารถรุกคืบเข้าไป
               ั
          ด้านอิหร่านฝ่ ายศาสนาใช้โอกาสนี้ สร้างด้วยกระแสคลังชาติ กวาดล้าง
                                                            ่
หุนส่วนการปฏิวติ คือผูนาเสรีนิยมหลายคนต้องลี้ ภัยไปต่างประเทศ ผูนาศาสนา
  ้                 ั     ้                                       ้
ได้รบเสริมและขยายความเข้มแข็ง จนถึงปี 2530 จึงเริ่มเปิ ดการเจรจา จนกระทัง
    ั                                                                      ่
ลงนามในสนธิสญญาสงบศึกเมื่อ 26 สิงหาคม 2531 ฝ่ ายอิรกต้องกลับไปเหมือน
                  ั                                      ั
ไม่มีอะไรเกิดขึ้ นนอกจากความเสียหาย
อิรก-อิหร่าน ลงนามในสนธิสญญาสงบศึก
   ั                     ั
เอกสารอ้างอิง
[1]. สงครามอิรัก คูเวต.(เอกสารออนไลน์).เข้าถึงได้จาก:
           http://krusungkorm.blogspot.com/2012/0
           2/blog-post_9968.html
[2]. สงครามอ่าวเปอร์เซีย (Persian Gulf War).(เอกสารออนไลน์).เข้าถึงได้
           จาก:http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-
           4/persian_gulf_war/index.html
[3]. สงครามอิรัก.(เอกสารออนไลน์).เข้าถึงได้จาก:
            http://www.navy.mi.th/ians/document/misc/nvipdoc1.html
[4]. วิเคราะห์สงครามอิรัก.(เอกสารออนไลน์).เข้าถึงได้จาก:
           http://www.do.rtaf.mi.th/index.php?option=com_content&view=article&id=37&
           Itemid=93

Mais conteúdo relacionado

Mais de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Mais de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ

  • 1. จัดทำโดย น.ส.วราภรณ์ แสงศรี จนทร์ เลขที่ 25 ั น.ส.วริ นทร ธนะกูลวัฒนา เลขที่ 26 น.ส.สลิลทิพย์ แสงศรี จนทร์ เลขที่ 28 ั น.ส.สุ ชญา มีศรี เลขที่ 29 น.ส.อัจฉรา กันสิ ทธิ์ เลขที่ 33 ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 6/2 เสนอ คุณครูสายพิน วงษารัตน์
  • 3. สาเหตุความขัดแย้งระหว่างอิรก-คูเวต ั คูเวต เป็ นประเทศในกลุ่มอาหรับขนาดเล็ก ตั้งอยูตอนบนของอ่าวเปอร์เซีย ทาง ่ เหนือและตะวันตกติดกับอิรัก ทางตะวันออกติดกับอ่าวเปอร์เซีย ทางใต้ติดกับซาอุดิอาระเบีย มี การค้นพบน้ ามันปิ โตรเลียมในคูเวตซึ่งมีปริ มาณร้อยละ 20 ของปริ มาณน้ ามันทั้งโลก นับตั้งแต่ ค.ศ.1946 คูเวตเป็ นประเทศผูผลิตน้ ามันรายใหญ่และส่ งน้ ามันมากเป็ นอันดับสองของโลก ้ คูเวตเคยเป็ นรัฐในอารักขาของอังกฤษ ทาให้ฐานะเศรษฐกิจของอิรักทรุ ดหนักเพราะ สิ นค้าหลักที่ส่งออกคือน้ ามัน ซึ่งมีปริ มาณร้อยละ 99 ของมูลค่าสิ นค้าออกทั้งหมด อิรักจึง พยายามผลักดันให้องค์การโอเปกกาหนดโควต้าการผลิตน้ ามันและกาหนดราคาน้ ามันใหม่ เพื่อให้อิรักมีรายได้เพิ่มขึ้น อิรักอ้างว่าการที่ราคาน้ ามันในตลาดโลกลดลง เพราะคูเวตและ สหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ลอบผลิตและขายน้ ามันเกินโควตา
  • 4. เหตุการณ์ ค.ศ. 1914-1961 เมื่อคูเวตได้รับเอกราชในวันที่ 19 มิถุนายน1961รัฐบาลอิรักอ้าง ่ สิ ทธิวาคูเวตเป็ นส่ วนหนึ่งของตนตามหลักเชื้อชาติภูมิศาสตร์ และสังคม แต่สนนิบาตอาหรับ ั รับรองเอกราชของคูเวต ภายหลังสงครามอิรัก-อิหร่ านซึ่งกินเวลาถึง 8 ปี ส่ งผลให้อิรัก บอบช้ ามากจากการ บูรณะประเทศ อิรักต้องเป็ นหนี้ต่างประเทศประมาณ 80,000 ล้านเหรี ยญดอลล่าร์ สหรัฐอเมริ กา
  • 5. ข้อเรี ยกร้องที่รุนแรงของอิรักคือให้คูเวตคืนดินแดนที่รุกล้ าเข้ามา คือ เขต Rumailah oilfield ซึ่ งมีน้ ามันอุดมสมบูรณ์และขอเช่าเกาะบูมิยน กับเกาะวาร์ บาห์ ใน ั อ่าวเปอร์ เซี ย เพื่อให้อิรักขายน้ ามันผ่านอ่าวเปอร์ เซี ยโดยตรง โดยมิตองขายน้ ามันทาง ้ ท่อส่ งน้ ามันผ่านซาอุดิอาระเบียและตุรกีเช่นเดิม นอกจากนี้ อิรกยังกล่าวหาว่าระหว่างอิรกทาสงครามกับอิหร่านเป็ นเวลา8 ั ั ปี คูเวตได้ขยายพรมแดนล่วงล้าเข้ามาทางใต้ของอิรก 4 กิโลเมตร เพื่อตั้งค่าย ั ทหารและตั้งสถานี ขุดเจาะน้ ามันเป็ นการขโมยน้ ามันของอิรก ยิ่งไปกว่านั้น อิรกทา ั ั สงครามกับอิหร่านในนามชาติอาหรับและเพื่อความมันคงของชาติอาหรับทั้งมวล ่ จึงสมควรที่คเวตต้องช่วยเหลือค่าใช้จายในการทาสงคราม ู ่
  • 6. เมื่อสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรประเทศต่างๆ ส่งกาลังเข้าไปใน ซาอุดิอาระเบียเพื่อปองกันการรุกรานของอิรก อิรกหันไปฟื้ นฟูความสัมพันธ์กบ ้ ั ั ั อิหร่าน ซึ่งเป็ นศัตรูของสหรัฐอเมริกาและเคยเป็ นศัตรูของอิรกเองในสงคราม ั อิรก-อิหร่าน อิรก-อิหร่านได้ทาการแลกตัวประกันจานวน 70,000 คน และ ั ั อิรกได้ถอนทหารของตนออกจากดินแดนของอิหร่าน ซึ่งอิรกยึดครองมาตั้งแต่ ั ั สงครามอิรก-อิหร่าน การกระทาของอิรกชี้ ให้เห็นว่าอิรกต้องการให้สถานการณ์ ั ั ั ด้านอิหร่านสงบ เพื่อไม่ตองพะวงศึกสองด้าน ้
  • 7. การเผชิญหน้าระหว่างอิรกและสหรัฐอเมริกาทวีความรุนแรง ในเดือน ั ธันวาคม ค.ศ. 1998 รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาเตือนอิรกว่า ่ ั อาจจะมีการโจมตีอิรกได้ทุกเวลาหากอิรกยังคงขัดขวางการปฏิบติงานของอันสคอม ั ั ั 16 ธันวาคม ค.ศ.1998 เจ้าหน้าที่ของอันสคอมต้องเดินทางออกจากอิรก ั เพราะเกรงจะได้รบอันตรายจากอิรก และเช้าตรู่ของวันรุ่นขึ้ น ประธานาธิบดี บิล ั ั คลินตัน ได้ส่งกาลังทหารไปยังอ่าวเปอร์เซียร่วมกับกองกาลังทหารอังกฤษเพื่อยิงถล่ม อิรกภายใต้ปฏิบติการชื่อ “ปฏิบติการจิ้ งจอกทะเลทราย” เป็ นเวลา 4 วัน ั ั ั
  • 8. จีน รัสเซีย ฝรังเศส รวมทั้งบรรดาชาติอาหรับอื่นๆ ต่างประณามการ ่ กระทาของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ พร้อมทั้งเรียกร้องให้ยุติการโจมตีอิรกส่วน ั สมาชิกนาโต ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิ วซีแลนด์ ต่างสนับสนุ นมาตรการแข็งกร้าวของ สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ปั ญหาอิรก คือ ปั ญหาที่ทาทายบทบาทของสหประชาชาติ ในเวลา ั ้ เดียวกันก็เป็ นปั ญหาภาพลักษณ์ของสหรัฐอเมริกาที่ชี้นาและดาเนิ นการโดยพลการ ในนามสหประชาชาติ ถือเป็ นการละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติและหลักการของ ประชาคมโลก
  • 9. ผลกระทบจากสงครามอิรก - คูเวต ั  การสูญเสีย กองกาลังผสม มีการรายงานว่ากองกาลังสหรัฐเสียทหารไปในการรบ 148 นาย (35 นาย เสียชีวตจากการยิงพวกเดียวกันเอง) มีนักบินหนึ่ งนายที่ขึ้นว่าสูญหาย (ร่างของเขาถูกพบ ิ และระบุตวได้ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552) อีก 145 นายเสียชีวตจากอุบติเหตุ สหราช ั ิ ั อาณาจักรเสียทหารไป 47 นาย (9 นายเสียชีวตจากการยิงพวกเดียวกันเอง) ฝรังเศสเสีย ิ ่ ไป 2 นาย และอาหรับ ไม่รวมคูเวต เสียทหารไป 37 นาย (ซาอุ 18 นาย อียปต์ 10 ิ นาย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 6 นาย และซีเรีย 3 นาย) ทหารคูเวตอย่างน้อย 605 นายที่ ยังคงหายสาบสูญหลังจากผ่านไป 10 ปี
  • 10. การยิงพวกเดียวกันเอง ในขณะที่การตายของกองกาลังผสมมาจากการปะทะกับทหารอิรกนั้นตาั ่ มาก การตายส่วนมากเกิดจากการยิงพวกเดียวกันเอง ทหารอเมริกน 148ั นายที่เสียชีวิตในการรบมี 24% ที่ถกพวกเดียวกันเองยิง อีก 11 นายเสียชีวิต ู จากการระเบิด ทหารอังกฤษ 9 นายถูกสังหารโดยพวกเดียวกันเองเมื่อเอ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2 ของกองทัพอากาศสหรัฐโจมตีใส่กลุ่มยานพาหนะของ พันธมิตร
  • 11. การตายของฝ่ ายอิรก ั รายงานของกองทัพอากาศสหรัฐ ประมาณว่ามีทหารอิรกเสียชีวิต ั 10,000-12,000 นายจากการทัพทางอากาศและบนพื้ นดินอาจมีถึง 10,000 นาย การประเมินนี้ อ้างอิงจากการรายงานจานวนเชลยศึกชาวอิรก ั เป็ นที่ทราบกันว่ามีทหารอิรกเสียชีวิต 20,000 นาย ั รัฐบาลของซัดดัมแจ้งจานวนพลเรือนที่เสียชีวิตสูงมากเพื่อเรียกร้องการ สนับสนุ นจากกลุ่มประเทศอิสลามรัฐบาลอิรกอ้างว่ามีพลเรือนเสียชีวิต 2,300 ั รายจากการทัพทางอากาศ ตามการศึกษาของการปองกันทางเลือก (Defense Alternatives) ้ มีพลเรือนประมาณ 20,000 รายและทหารอีก 26,000 นายที่ถกสังหาร ู ทหารอิรกได้รบบาดเจ็บทั้งสิ้ น 75,000 นายในสงคราม ั ั
  • 12. การตายของพลเรือน พลเรือนได้รบความเสียหายอย่างมาก ในเหตุการณ์หนึ่ งเครื่องบินทิ้ ง ั ระเบิดสเตลท์ได้โจมตีบงเกอร์ในอาเมียร์ยา ทาให้พลเรือนเสียชีวิตไป 200- ั ่ 400 ราย ซึ่งเป็ นผูลี้ภัยในตอนนั้น ผลที่ตามมาคือภาพสถานที่เกิดเหตุถก ้ ู ถ่ายทอดและการโต้เถียงในเรื่องสถานะของบังเกอร์ก็เกิดขึ้ น โดยมีบางคนที่ กล่าวว่ามันเป็ นที่หลบภัยของพลเรือนในขณะที่คนอื่นๆ กล่าวว่ามันเป็ นฐาน ปฏิบติการทางทหารและพลเมืองถูกย้ายไปที่นันเพื่อใช้เป็ นโล่มนุ ษย์ การ ั ่ สอบสวนของBeth Osborne Daponteได้ประมาณว่ามีพลเรือน บาดเจ็บสาหัส 3,500 รายจากการทิ้ งระเบิดกองกาลังผสมอ้างว่าพวกเขาได้ หลีกเลี่ยงการโจมตีเปาหมายในเขตพลเรือนและหลีกเลี่ยงการทาลายที่อยู่ ้ อาศัยของพลเรือน ไม่เหมือนกับการทัพก่อนหน้าอย่างการทิ้ งระเบิดโตเกียวใน สงครามโลกครั้งที่ 2
  • 13. การตายของพลเรือนจากขีปนาวุธสกั๊ด ขีปนาวุธสกั๊ด 42 ลูกถูกยิงเข้าใส่อิสราเอลโดยอิรกตลอด 7 สัปดาห์ของ ั สงครามพลเรือนอิสราเอลสองคนเสียชีวตจากการโจมตี มีบาดเจ็บอีก 230 ราย ิ ในรายงาน 10 คนได้รบบาดเจ็บปานกลางและสาหัสหนึ่ งราย อีกหลายคนตาย ั เพราะหัวใจวาย อิสราเอลกระหายที่จะโต้ตอบด้วยกาลังทางทหาร แต่ตกลงที่จะไม่ เข้าร่วมเมื่อรัฐบาลสหรัฐขอร้อง ซึ่งกลัวว่าหากอิสราเอลเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง ประเทศอาหรับอื่นๆ ก็จะเข้าร่วมกับอิรก อสราเอลได้รบแท่นยิงเอ็มไอเอ็ม-104 ั ั เพเทรียทสาหรับการปองกันขีปนาวุธ กองทัพอากาศเนเธอแลนด์ยงติดตั้ง ้ ั ขีปนาวุธเพเทรียทเอาไว้ในตุรกีและอิสราเอลเพื่อตอบโต้จากโจมตีจากสกั๊ด ต่อมา กระทรวงกลาโหมของเนเธอแลนด์ได้กล่าวว่าการใช้ขีปนาวุธเพเทรียทนั้นไม่มี ประสิทธิภาพ แต่คุณค่าทางจิทยานั้นก็สง มีการแนะนาว่าการก่อสร้างที่แข็งแรง ู ในอิสราเอล และด้วยเหตุที่วาสกั๊ดมักยิงในตอนกลางคืน เป็ นปั จจัยที่ทาให้มีการ ่ เสียชีวตและบาดเจ็บน้อย ิ
  • 14. การเจ็บป่ วยจากสงครามอ่าว  ทหารของกองกาลังผสมหลายนายที่กลับมาถูกรายงานว่าเจ็บป่ วยหลังจากที่ พวกเขาได้มีสวนร่วมในสงครามอ่าว อาการดังกล่าวถูกเรียกว่ากัลฟท์วอร์ซิน ่ โดรม (Gulf War syndrome) มีการไตร่ตรองอย่างแพร่หลายและ การไม่เห็นด้วยถึงสาเหตุของอาการป่ วย บางปั จจัยถูกมองว่าเป็ นสาเหตุของ การเจ็บป่ วย อย่าง กระสุนยูเรเนี ยม อาวุธเคมี วัคซีนแอนแทร็กซ์ที่ทหาร ต้องได้รบ และการติดเชื้ อ ผูพนไมเคิล ดอนเนลลี่ อดีตนายทหาร ั ้ ั กองทัพอากาศสหรัฐในสงครามอ่าว ได้ชวยกระจายข่าวของการเจ็บป่ วยและ ่ เรียกร้องสิทธิให้กบทหารผ่านศึกเหล่านี้ ั
  • 15. ผลกระทบจากกระสุนยูเรเนี ยม  พื้ นที่ที่คาดว่ามีกระสุนยูเรเนี ยมตกอยู่ กระสุนยูเรเนี ยม (Depleted uranium) ถูกใช้ในสงครามอ่าว เป็ นกระสุนเจาะเกราะพลังงานจลล์ของรถถังและกระสุนปื นใหญ่ขนาด 20- 30 ม.ม. การใช้กระสุนแบบนี้ ในสงครามอ่าวครั้งแรกถูกกล่าวว่าเป็ นผลทา ให้สุขภาพของทหารผ่านศึกและพลเรือนได้รบผลกระทบ ั
  • 16. ทางหลวงมรณะ ในคืนของวันที่26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 กองกาลังอิรกที่พายแพ้ ั ่ กาลังล่าถอยออกจากคูเวตโดยใช้ทางหลวงสายเหนื อของอัล จาห์ราโดยเป็ น แถวขบวนรถทั้งสิ้ น 1,400 คัน เครื่องบินลาดตระเวนอี-8 จอยท์สตาร์สลา หนึ่ งได้ตรวจพบกองกาลังดังกล่าวและส่งข้อมูลให้กบศูนย์ปฏิบติการทาง ั ั อากาศเครื่องบินของกองทัพอากาศและกองทัพเรือสหรัฐได้เข้าติดตามและ ทาลายขบวนรถ ด้วยการทิ้ งระเบิดใส่เป็ นเวลาหลายชัวโมง เนื่ องจากว่าการ ่ โจมตีมากจากอากาศยานปี กนิ่ งที่บินในระดับสูง จึงทาให้ทหารอิรกไม่มี ั โอกาสในการยอมจานน
  • 17.
  • 18. สงครามระหว่างอิรกกับอิหร่านกินเวลายาวนาน 8 ปี ตั้งแต่ปี 2523 ถึง ั 2531 สร้างความเสียหายมหาศาลให้กบทั้งสองประเทศนามาสู่การเปลี่ยนแปลง ั ทางการเมืองในระดับภูมิภาคและระดับโลกอย่างไม่คาดคิดในเวลาต่อมา
  • 19. จุดเริ่มของสงครามมาจากการโค่นล้ม พระเจ้าชาห์ ปาฮ์เลวี โดยกลุ่มฝ่ ายซ้าย กลุ่ม เสรีนิยม และกลุ่มศาสนานาโดย อยาโตเลาะ โคไมนิ ทาให้สหรัฐต้องสูญเสียพันธมิตรทาง ทหารและดุลทางทหารในภูมิภาค ใน ขณะเดียวกันชาติอาหรับซุนหนี่ มีความ หวาดกลัวต่อการขยายของการปฏิวติอิสลาม ั โดยเฉพาะอิรกเพื่อนบ้านที่มีชาวชีอะเป็ นชน ั ส่วนใหญ่ของประเทศถึงร้อยละ 60แต่มีรฐบาล ั เป็ นชาวซุนนี่ ภายใต้การปกครองของพรรค บาธที่มี ซัดดัม ฮุ สเซนเป็ นประธานาธิบดี ประกอบกับอิรกมีความขัดแย้งด้านพรมแดน ั มาก่อนหน้านี้ จึงนาไปสู่การทาสงครามระหว่าง สองประเทศ
  • 20. การต่อต้านปฏิวติอิหร่านโดยการสนับสนุ นชาติอาหรับซุนหนี่ และสหรัฐ ั โดยให้อิรกเป็ นแนวหน้าก็ตามแต่ผลประโยชน์ของอิรกเป็ นจุดสาคัญต่อการ ั ั ตัดสินใจของอิรกความขัดแย้งเกิดจากแม่น้ าไทกริสและยูเฟรติสความขัดแย้งของ ั การอ้างสิทธิเหนื อแม่น้ าสายนี้ สืบกลับไปถึงสัญญาสันติภาพ ปี พ.ศ.2193 ระหว่าง อาณาจักร อ๊อตโตมันกับเปอร์เซีย ในยุคอาณาอาณานิ คม มีความพยายามแก้ไข พิพาทนี้ โดยอังกฤษเสนอให้ใช้ร่องน้ าลึกเป็ นแนวเขตแดนแต่ฝ่ายอิรกไม่ยอม โดยมี ั ต้องการให้เส้นพรมแดนอยูที่ฝังของอิหร่านแต่ในที่สุดอิรกยอมลงนามในสัญญา ่ ่ ั อัลเจียร์ ยอมใช้ร่องน้ าลึกเป็ นแนวเขตแดนภายใต้ความกดดันของสหรัฐที่หนุ นหลัง พระเจ้าชาร์ ปาฮ์เลวี และอิหร่านคูเซสถานเป็ นจังหวัดของอิหร่านติดกับจังหวัด บาสรา ของอิรก และอ่าวเปอร์เซียจังหวัดนี้ อุดมไปด้วยน้ามัน เมืองอบาดานมีโรง ั กลันน้ามันขนาดใหญ่องกฤษผนวกดินแดนให้กบอิหร่านในยุคอาณานิ คมทาให้อิรก ่ ั ั ั ใช้เป็ นข้ออ้างถึงอธิปไตย
  • 21.
  • 22. พ.ศ.2514อิรกตัดความสัมพันธ์กบอิหร่านจนถึงปี 2522 เกิดปฏิวติ ั ั ั อิหร่านจุดนี้ อาจจะทาให้ซดดัม ฮุ สเซน เห็นโอกาสในการโจมตีอิหร่าน จึงส่งกาลัง ั รุกรานอิหร่านที่นาไปสู่สงครามอันยาวนาน เมืองสาคัญของอิหร่านใกล้กบปากแม่ ั น้าชัท อัล อาหรับได้ความเสียหายอย่างหนักจากสงคราม เมืองอบาดานเมืองสาคัญ ด้านอุตสาหกรรมน้ ามันถูกอิรกยึดครอง แต่กองกาลังทหารอิหร่านต้านทานอย่าง ั เข้มแข็งจนอิรกไม่สามารถรุกคืบเข้าไป ั ด้านอิหร่านฝ่ ายศาสนาใช้โอกาสนี้ สร้างด้วยกระแสคลังชาติ กวาดล้าง ่ หุนส่วนการปฏิวติ คือผูนาเสรีนิยมหลายคนต้องลี้ ภัยไปต่างประเทศ ผูนาศาสนา ้ ั ้ ้ ได้รบเสริมและขยายความเข้มแข็ง จนถึงปี 2530 จึงเริ่มเปิ ดการเจรจา จนกระทัง ั ่ ลงนามในสนธิสญญาสงบศึกเมื่อ 26 สิงหาคม 2531 ฝ่ ายอิรกต้องกลับไปเหมือน ั ั ไม่มีอะไรเกิดขึ้ นนอกจากความเสียหาย
  • 24. เอกสารอ้างอิง [1]. สงครามอิรัก คูเวต.(เอกสารออนไลน์).เข้าถึงได้จาก: http://krusungkorm.blogspot.com/2012/0 2/blog-post_9968.html [2]. สงครามอ่าวเปอร์เซีย (Persian Gulf War).(เอกสารออนไลน์).เข้าถึงได้ จาก:http://www.baanjomyut.com/library_2/extension- 4/persian_gulf_war/index.html [3]. สงครามอิรัก.(เอกสารออนไลน์).เข้าถึงได้จาก: http://www.navy.mi.th/ians/document/misc/nvipdoc1.html [4]. วิเคราะห์สงครามอิรัก.(เอกสารออนไลน์).เข้าถึงได้จาก: http://www.do.rtaf.mi.th/index.php?option=com_content&view=article&id=37& Itemid=93