SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 157
Baixar para ler offline
Innovation on demand ::
                      SPARK IDEA
พันธพงศ์ ตังธีระสุนนท์
           !       ั
ผูจดการโครงการ
  ้ ั
สํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
2 กันยายน 2553                                   2
วันที@ 1 กันยายน 2553 16:00 น.


                 920.11 | +6.92


                     31.47



                    18,450
2 กันยายน 2553                                3
2 กันยายน 2553   4
2 กันยายน 2553   5
2 กันยายน 2553   6
2 กันยายน 2553   7
หุ่นยนต์ไทยเชิงพาณิชย์
ชุดหูฟังบลูทูธขนาดเล็ก




ถังคอมโพสิตบรรจุก๊าซ LPG   หลอด T5 นาโนไร้ฝุ่น
แถบเข็มขนาดไมโคร




  ระบบติดตามและตรวจวัดสัญญาณชีพไร้สาย
2 กันยายน 2553   11
2 กันยายน 2553   12
2 กันยายน 2553   13
การสรรหาคนมาร่วมงาน

       คน        การมอบหมายหน้าที@ให้คนทํางาน
                 การประเมินทรัยากรมนุษย์ในปั จจุบนและอนาคต
                 การเรียนรูแบบการฝึ กโดยงาน
                           ้
                                                 ั

                 การเรียนรูโดยฝึ กอบรม
                             ้
       กับ       ความสามารถ ทักษะ | ทัศนคติ | องค์ความรู ้
                 การทํางานร่วมกันได้อย่างดี

                 แหล่งที@มาของนวัตกรรม ความใหม่ของสินค้า
       ของ       คูคาทางธุรกิจ | พนักงาน | ฝ่ ายขาย | คู่แข่ง
                   ้ ้
                 นวัตกรรมแบบเปิ ด | นวัตกรรมแบบปิ ด
                 การจัดการความคิดสร้างสรรค์
2 กันยายน 2553                                                  14
หัวข้อการนําเสนอ

       โลกที@เปลี@ ยนไป (ทําไมต้องนวัตกรรม?)
       การสร้างสรรค์และนวัตกรรม
       แหล่งที@มาของนวัตกรรม
   | Creativity | TRIZ | New Knowledge | Customers |
   Early Adopter | Designomics | R&D
       TRIZ กุญแจสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม
   Workshop : New Product Development Using TRIZ


2 กันยายน 2553                                                        16
บริบทที@เปลี@ ยนไปของโลกในระบบเศรษฐกิจ

             ระบบเศรษฐกิจ
        การจัดการ “ทรัพยากร”
          การจัดการ “เวลา”
          ให้มี “ประสิทธิภาพ”
2 กันยายน 2553                                        17
เกิดอะไรขึ! นในโลกใบนี! ?




                 iPed-ประเทศจีน        iPad-Apple
2 กันยายน 2553                                           18
The 50 Most Innovative Companies 2010




                                     # Note: No Thai Company


2 กันยายน 2553                                                 19
The 50 Most Innovative Companies 2010




2 กันยายน 2553                                      20
Give and Take
2 กันยายน 2553   21
การสร้างสรรค์กบ
                               ั
                   นวัตกรรม
2 กันยายน 2553                     22
นิ ยาม


       การสร้างสรรค์คือ กระบวนการ
  (การจินตนาการ การคิด การสร้างสรรค์) ในการสร้างแนวคิ ดใหม่
       สิ@ งประดิษฐ์คือ การนํ าแนวคิดใหม่ไปสร้าง
  สิ@ งใหม่จากองค์ความรูที@มีอยู่ (สิ ทธิบตร)
                            ้              ั
       นวัตกรรมคือ การต่อยอดแนวคิดใหม่ ไปสร้างให้เกิดขึ! น
  จริง การนํ าไปใช้และต้องขายได้ในเชิงพาณิ ชย์


2 กันยายน 2553                                                23
นิ ยาม
     การสร้างสรรค์คือ กระบวนการ
   (การจินตนาการ การคิด) ในการสร้างแนวคิ ดใหม่
           การจินตนาการ เป็ นการสร้างภาพจากประสบการณ์
           เดิมที@เคยเจอโดยสามารถเล่าออกมาเป็ นฉากๆ
           การคิด การประมวลผล การแสดงความคิดเห็น
           ไตร่ตรองเพื@อหาข้อสรุป และยังเป็ นการจัดการข้อมูล
           ในสมองเมื@อได้รบข้อมูลที@เหมาะสม
                          ั

2 กันยายน 2553                                                 24
นิ ยาม
          การสร้า งสรรค์ การขยายขอบเขตทางความคิ ด จาก
          กรอบความคิ ดเดิ มที@ มีอยู่ให้ออกเป็ นความคิ ดใหม่ๆ ที@
          แตกต่างและไม่มีมาก่อน เพื@อแก้ปัญหาหรือหาคําตอบที@
          ดีที@สุด
      สิ@ ง ประดิ ษ ฐ์คื อ การนํ า แนวคิ ด ใหม่ ไ ปสร้า ง
  สิ@งใหม่จากองค์ความรูที@มีอยู่ (สิทธิบตร)
                             ้             ั

                 นวัตกรรมคือ .......... ???
2 กันยายน 2553                                                  25
นวัตกรรม (Innovation):
                 สิ@งใหม่ท@ีเกิดจาก
  การใช้ความรูและความคิดสร้างสรรค์
              ้
  ที@มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม
2 กันยายน 2553                        26
นวัตกรรม คือ
          การเปลี@ ยนแปลงและ
            ความท้าทายที@จะ
         ก้าวข้ามข้อจํากัดเดิมๆ
2 กันยายน 2553                    27
นวัตกรรม.
   ความท้ายทายจากสภาพปั จจุบนั
   โดยการหลอมรวมกันของ
                   และ
   เพื@อสร้างสรรค์มลค่าใหม่.
                   ู
2 กันยายน 2553                   28
นวัตกรรม.
   ความท้ายทายจากสภาพปั จจุบน  ั
   โดยการหลอมรวมกันของ
         ศิลปะ     และ วิทยาศาสตร์
   เพื@อสร้างสรรค์มลค่าใหม่.
                   ู
2 กันยายน 2553                       29
นวัตกรรม.
   ความท้ายทายจากสภาพปั จจุบนั
   โดยการหลอมรวมกันของ
         ตรรกะ     และ อารมณ์
   เพื@อสร้างสรรค์มลค่าใหม่.
                   ู
2 กันยายน 2553                   30
นวัตกรรม.
   ความท้ายทายจากสภาพปั จจุบน   ั
   โดยการหลอมรวมกันของ
         สิ@งใหม่  และ สิ@งเก่า
   เพื@อสร้างสรรค์มลค่าใหม่.
                   ู
2 กันยายน 2553                      31
นวัตกรรม.
   ความท้ายทายจากสภาพปั จจุบนั
   โดยการหลอมรวมกันของ
         ภายใน     และ ภายนอก
   เพื@อสร้างสรรค์มลค่าใหม่.
                   ู
2 กันยายน 2553                   32
การหลอมรวมกัน

2 กันยายน 2553                   33
นวัตกรรม คือ
          การพัฒนาความ
 อยากรูอยากเห็นให้อยู่ในความ
        ้
   เชื@อที@มีผลต่อพฤติกรรม
2 กันยายน 2553             34
ทําไมเรายังทําตัว
   เหมือนอย่างไดโนเสาร์?
2 กันยายน 2553             35
ทําไมเรายังคงหลงทาง?
2 กันยายน 2553           36
ทําไมขยะถุงพลาสติก
  ยังมีต่อไปอีก 100 ปี ?




2 กันยายน 2553             37
นาโนเทคโนโลยีสามารถ
  ช่วยในการซักล้างได้ไหม?




2 กันยายน 2553              38
ความอยากรูและ
                  ้
     ประสบการณ์แปลกใหม่
2 กันยายน 2553            39
สร้างลักษณะเฉพาะ
   ของนวัตกรรมเข้าไป
       อยู่ในองค์กร
2 กันยายน 2553         40
วัฒนธรรมองค์กร

2 กันยายน 2553                    41
การหลอมรวม
                  ความอยากรู ้
                     รูปแบบ
                   วัฒนธรรม
                 ความกล้าหาญ
2 กันยายน 2553                   42
ประเภทของนวัตกรรม


2 กันยายน 2553                43
ประเภทของนวัตกรรม


             ผลิ ตภัณฑ์ กระบวนการหรือการบริการ
             ระดับความใหม่
             นวัตกรรมนันมาจากไหน
                        !
             ผลตอบแทนที@คาดหวัง และ ต้องมีการใช้งาน



2 กันยายน 2553                                        44
ผลิ ตภัณฑ์ กระบวนการหรือการบริการ

    ผลิ ตภัณฑ์ เป็ นสิ นค้าใหม่
    โดยเฉพาะสิ นค้า
    อุปโภคบริโภค
    เป็ นสิ@ งของที@สามารถจับ
    ต้องได้
    เช่น iPhone4 | iPad

2 กันยายน 2553                                             45
ผลิ ตภัณฑ์ กระบวนการหรือการบริการ

        กระบวนการหรือการบริการ เป็ นการเปลี@ ยนระบบ
        รูปแบบที@แตกต่างจากเดิม การคิดค้นกระบวนการ
        ผลิ ตใหม่ การเปลี@ ยนลําดับขันตอนการทํางานใหม่
                                     !




2 กันยายน 2553                                            46
ระดับความใหม่




                 ใหม่ระดับ   ใหม่ระดับ    ใหม่ระดับ   ใหม่ระดับ   ใหม่สําหรับ      ใหม่ระดับโลก
                 องค์กร      อุตสาหกรรม   ประเทศ      ภูมิภาค     อุตสาหกรรมอื@น   เป็ นครังแรกที@
                                                                                           !
                                                                                   มีการใช้




2 กันยายน 2553                                                                                       47
ระดับความใหม่

                  องค์ประกอบ              ระบบ      ผลตอบแทน
                      component           system       benefits

 Incremental:     เปลี@ยนแปลงให้ดีข! ึน
                        บางอย่าง

 Modular:         สร้างองค์ประกอบใหม่

 Architectural:    พัฒนาองค์ประกอบ
                       ให้ดีข! ึน

 Radical:         สร้างองค์ประกอบใหม่


2 กันยายน 2553                                                     48
ระดับความใหม่
                                             Architectural
                                                       component
                                                       system




                                                   3
                   1                    2
                 Modular           Incremental
2 กันยายน 2553         component    system                      49
the world's first MP3 player   ระดับความใหม่

                                                  1st ipod |5/10G

                               Eiger Labs
                            MPMan F10 | 32M




                     Rio PMP300 US $200

2 กันยายน 2553
                 Radical                                         50
ระดับความใหม่


          Modular
                    Incremental




2 กันยายน 2553                       51
ระดับความใหม่

  การปรับปรุง
       |
  ประสิทธิภาพ                 Radical
       |                นวัตกรรมที@สร้างความ
   นวัตกรรม             แตกต่างอย่างสิ!นเชิง
       |
   ความใหม่
       |                Incremental | Modular
  วิวฒนาการ
     ั                     นวัตกรรมส่วนเพิ@ม
                 เวลา
2 กันยายน 2553                                  52
ผลตอบแทนที@คาดหวัง
                จากนวัตกรรม
2 กันยายน 2553                    53
ผลตอบแทนที@คาดหวังจากนวัตกรรม (1)
     Economic Efficiency: ผลตอบแทนเศรษฐกิจ รวยขึ! น
     Competitiveness: การแข่งขันได้
          Reducing production costs—new elements
          Reducing lifecycle costs
     Improve Quality of output: คุณภาพที@เพิ@มสูงขึ! น
          Better quality of goods and services
          Add new functions / attribute



2 กันยายน 2553                                                    54
ผลตอบแทนที@คาดหวังจากนวัตกรรม (2)
      New Products/Services: สิ นค้าและบริการใหม่
          Diversify products / services
          New markets
          New industries
      Quality of Life: คุณภาพชีวิตที@ดีข! ึ น
          Availability of goods and services
          Overall quality of goods and services
          Conservation of natural resources and environment
          Better health and safety of people
2 กันยายน 2553                                                    55
นวัตกรรม
                     ความแตกต่าง
2 กันยายน 2553
                 สินค้า     การตลาด   56
แหล่งที@มาของนวัตกรรม


2 กันยายน 2553                 57
กระบวนการของนวัตกรรม


 Ralph Katz, Managing Creativity and Innovation, Harvard Business Essentials Series
   การก่อเกิด               การรับรูถึง
                                    ้                                           การออกสู่
                                                      การพัฒนา
  ความคิดใหม่                โอกาส                                             เชิงพาณิ ชย์

                           การประเมิน
                            ความคิด



2 กันยายน 2553                                                                                58
การรับรูถึงโอกาส
                         ้




2 กันยายน 2553                      59
2 กันยายน 2553   60
ธรรมชาติของนวัตกรรม

             Innovation Cash Flow
                                                          X Months or Years
                                                   Market distribution (Diffusion)


           +               Development                             competitors
                                                                                                  Evolution
      Cash flow




                  Design
                                                                                                  Time
                                            Early adoption
                                                                                              [maybe]
           _
                  Bathtub Curve & Valley of Death                                  Obsolete
                  Singh Intrachooto, Ph.D. Head of Building Innovation and Technology
                  Program Kasetsart University Architecture, Bangkok, Thailand

2 กันยายน 2553                                                                                                61
Technology Adoption is Accelerating
      How long does it take to get to 50 million users?

                  Phone         74 years
                  Radio         38 years
                  PC            16 years
                  TV            13 years
                  Internet      2 years
                  Blogs         1 year
2 กันยายน 2553                                            62
แหล่งที@มาของนวัตกรรม
        การสร้างสรรค์และเครื@องมือ TRIZ | Brainstorms
        ความรูใหม่
                ้
        การใช้ประโยชน์จากความคิดของลูกค้า
        การเรียนรูจากกลุ่มผูใช้หวก้าวหน้า
                    ้       ้ ั
        การออกแบบที@เข้าถึงใจคน
        ฝ่ ายวิจยและพัฒนา และทีมงานเฉพาะกิจ
                  ั
2 กันยายน 2553                                          63
Creativity Tool
     เครื@องมือสําหรับ    การคิดเชิงระบบ
     การคิดเชิงจิตวิทยา     TRIZ
         การระดมสมอง        (Methodology +
         Mind Map           knowledge base)




2 กันยายน 2553                                 64
การสร้างสรรค์
                 กับ นวัตกรรม

2 กันยายน 2553                   65
การสร้างสรรค์
                               เหมือนกันไหม




                 วิทยาศาสตร์                   ศิลป
                    ตรรกะ                     สวยงาม
                 คณิ ตศาสตร์                  ลายเส้น
2 กันยายน 2553                                                66
การสร้างสรรค์
                  การสร้างสรรค์ เกิดขึMนตรงไหนบ้าง
                     ั@
  การสร้างสรรค์พบได้ทวไป : ในงานศิลปะ งานบันเทิง งานธุรกิจ ใน
  คณิ ตศาสตร์ ในวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม การแพทย์ สังคมศาสตร์
  เศรษฐศาสตร์
  การสร้างสรรค์ตองมีเงื@อนไข 3 อย่าง POM | ความเป็ นส่วนตัว personality
                  ้
  | ความเป็ นสิ@งแรก originality | การมีความหมาย meaning
  การสร้างสรรค์ ในแง่ ศิลป คล้ายกับช่วงความรูสึกที@อิสระของงานออกแบบ
                                             ้
  การประดิษฐ์และ ความฝัน แต่ ในแง่ วิทยาศาสตร์ การค้นหาเข้าถึงความ
  จริงเพื@อพิสจน์องค์ความรูต่างๆ
              ู            ้
2 กันยายน 2553                            The Creative Economy, John Howkins   67
การสร้างสรรค์
   ศาสนาพุทธ : การเกิดปั ญญามาจาก
                      ศีล | สมาธิ |ปั ญญา
   บางครัง
         !
      “การสร้างสรรค์ มาพร้อมกับความรูสึกที@มีสติสงผิดปกติ”
                                       ้         ู

   หรือจะมองต่างออกไปว่า
       “การสร้างสรรค์ คล้ายกับการสูญเสียการควบคุมสติและ
                 ล่องลอยในอากาศราวกับความฝัน”
2 กันยายน 2553                        The Creative Economy, John Howkins   68
การสร้างสรรค์
   ความเป็ นส่วนตัว personality
        ความเป็ นปั จเจกบุคคล
        มนุษย์เท่านันที@สามารถสร้างสรรค์ได้
                    !
        เครื@องจักรจะมีสติในการสร้างสิ@ งใหม่ได้ไหม
        เขาทําได้แค่การผลิ ตได้ แต่สร้างไม่ได้
                 “คอมพิวเตอร์เป็ นสิ@งไร้ค่า
                 มันให้ได้แค่คําตอบเท่านัน”!
2 กันยายน 2553                        The Creative Economy, John Howkins   69
การสร้างสรรค์
   ความเป็ นสิ@ งแรก originality
      การสร้างสรรค์ตองเป็ นสิ@ งต้นแบบ สิ@ งใหม่
                        ้
     “บางสิ@ งที@เกิดจากความไม่มี” | “สร้างจากความไม่มี”
      การเป็ นสิ@ งแรกนันต้อง ไม่มีมาก่อน คือ ความใหม่
                          !
    แตกต่าง คือ ความเป็ นเอกลักษณ์
       ความเป็ นเอกลักษณ์ นันเคย เป็ นสิ@งใหม่
                                !
       แต่ส@ิ งใหม่ บางครังก็ไม่มีเอกลักษณ์เอาเสี ยเลย
                            !
2 กันยายน 2553                     The Creative Economy, John Howkins   70
การสร้างสรรค์
   การมีความหมาย meaning
        การสร้างสรรค์ตองมีความหมาย ไม่ว่าจะเป็ น
                       ้
        ความหมายส่วนตัวหรือความหมายเล็ กๆ
        ความหมาย สื@ อถึง ความเป็ นเฉพาะกลุ่ม คณะ ซึ@งการ
        สร้างสรรค์อย่างไรก็ตองมีความหมาย
                            ้



2 กันยายน 2553                      The Creative Economy, John Howkins   71
การสร้างสรรค์
     การสร้างสรรค์เฉยๆ นันไม่มีมลค่าทางเศรษฐกิจ
                          !      ู
     ต้องนําการสร้างสรรค์นนมา แปรรูป รังสรรค์
                            ั!
     จนมันกลายเป็ น ผลิ ตภัณฑ์ | บริการ | กระบวนการ
     ซึ@งจะสามารถกําหนดราคาอย่างมีเหตุมีผล
     จนเกิดการ แลกเปลี@ยน ทําการซื!อ การขาย เกิดเป็ น
     มูลค่าทางเศรษฐกิจออกมา

2 กันยายน 2553                  The Creative Economy, John Howkins   72
Creative Education

                                              องค์ความรู ้
   การคิดเชิงสร้างสรรค์                ความเชี@ยวชาญ ความรู ้
  แนวทางในการแก้ปัญหา                  ความเข้าใจในประเด็นที@
   หรือจินตนาการของ                      ต้องการสร้างสรรค์
       แต่ละบุคคล
                          การสร้างสรรค์
                            creativity

                            แรงจูงใจ
                   ความสนใจ ความหลงใหลใน
2 กันยายน 2553
                     งานที@ตองการสร้างสรรค์
                            ้                                73
ขันตอนและรูปแบบในการคิดเชิงสร้างสรรค์
                   !




2 กันยายน 2553                                           74
องค์ความรู ้
        Is too much knowledge a bad thing? (Weisberg, 1999)
          Foundation view        Tension view
   Creativity                 Creativity




                 Knowledge                 Knowledge
2 กันยายน 2553                                              75
แรงจูงใจ




2 กันยายน 2553          76
แรงจูงใจ




2 กันยายน 2553          77
แรงจูงใจ




2 กันยายน 2553          78
แรงจูงใจ




2 กันยายน 2553          79
สิ@ งแวดล้อมที@ช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์




                 creative work
                 environment.
2 กันยายน 2553                                                  80
2 กันยายน 2553   81
2 กันยายน 2553   82
2 กันยายน 2553   83
TRIZ
   กุญแจสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม


2 กันยายน 2553                     84
Accelerate innovation with TRIZ
       a Catalyst of innovation
       Theory of inventive
       The theory of inventor's problem solving
       Innovation tool

2 กันยายน 2553                                85
อะไรคือ “TRIZ” ?
       Теория решения изобретательских задач
      Teoriya Resheniya Izobretatelskikh Zadatch

                    ความหมายคือ
       “Theory of Inventive Problem Solving”
                         หรือ
          เรากําลังพูดถึงวิธีแก้ปัญหาในการ
             ประดิษฐ์คิดค้นแบบ รัสเซีย
2 กันยายน 2553                                     86
New Product Development using
      TRIZ technique contradiction
         Patent circumvention
         Cost reduction / Productivity
         System/Process improvement
         Product improvement
         Technical forecasting (S-curve)
2 กันยายน 2553                             87
“ประวัติ TRIZ”
                 พัฒนาและคิดค้นโดย เกนริค อัลชูลเลอร์ และคณะ
                       โดยการวิเคราะห์สิทธิบตรกว่า 3 ล้านฉบับ
                                            ั



   ความคิดสร้างสรรค์เป็ นสิTงทีสามารถ
                               T
               เรียนรูกนได้หรือไม่ ?
                      ้ ั
2 กันยายน 2553                                             88
2 กันยายน 2553   89
ตัวอย่าง : รูปแบบการประดิษฐ์คิดค้น
  ปั ญหา : ช่วยกันหาวิธีในการปองกันไม่ให้ผิวนอก
                             ้
  ของเรือไฮดรอฟลอยด์นนถูกทําลาย กัดกร่อน
                          ั!




2 กันยายน 2553                                    90
ความเฉื@ อยเชิงจิตวิทยา (Psychological Inertia)




2 กันยายน 2553                                                91
TRIZ ทํางานอย่างไร?




2 กันยายน 2553                     92
TRIZ ทํางานอย่างไร?




2 กันยายน 2553                     93
การพัฒนานวัตกรรมด้วย TRIZ
                                              สังเคราะห์ระบบ
   ระบุปัญหา / ระบบของปั ญหาคืออะไร

   ความเป็ นอุดมคติ ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติ   วิเคราะห์ปัญหา
   Ideal Final Result, IFR

   พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ คและกายภาพ     วิเคราะห์ปัญหา


                @                             การปฏิบติ
                                                     ั
   ค้นหาคําตอบทัวไปและลงมือทํา
2 กันยายน 2553                                             94
ระบุปัญหา / ระบบของปั ญหาคืออะไร

                                                        ปั ญหาและระบบ
                                           TRIZ มองปั ญหาอย่างเป็ นระบบ



2 กันยายน 2553                                                        95
การระบุปัญหา
                   ปากกาไม่สามารถเขี ยนอวกาศได้
                   การแก้ปัญหานี! NASA ใช้เวลา 10 ปี และ
                 ใช้เงินมูลค่า 12 ล้านดอลลาร์ (480 ล้านบาท)
                   ปากกาที@สามารถใช้งานได้ที@แรงโน้มถ่วงเป็ น 0
                   เขี ยนแบบควําหรือเขี ยนที@ใต้นํ!า
                               @
                   เขี ยนที@อุณหภูมิช่วงตํากว่าจุดเยื อกแข็ งจนถึงที@
                                          @
                 มากกว่า 300 องศาเซลเซียส

                       ปั ญหาที@แท้จริงคืออะไร! ?
2 กันยายน 2553                                                          96
การระบุปัญหา




2 กันยายน 2553             97
ระบบคืออะไร?

         อินพุท   ระบบทางเทคนิ ค       เอาต์พุท




2 กันยายน 2553                                    98
ระบบคืออะไร?


     เมื@อกล่าวถึงระบบทางเทคนิ คประกอบด้วย
         “กลไก/อุปกรณ์” สําหรับทําหน้าที@หรือ
         เป็ นสื@ อกลางเพื@อ ทําหน้าที@อะไรบางอย่าง
         จะต้องมี “เปาหมาย” ในการทําหน้าที@ของเขา
                      ้



2 กันยายน 2553                                          99
TRIZ
    TRIZ มองปั ญหาอย่างเป็ นระบบ (System approach)
             TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานัน จะไม่ยึดติดอยู่กบ
                                         !               ั
            เหตุการณ์ที@เกิดเฉพาะเท่านัน แต่จะมองอย่างเป็ น
                                       !
            ระบบ ซึ@งระบบนันอาจประกอบขึ! นจาก
                             !
             ระบบส่วนบน และ ระบบส่วนล่าง
             ซึ@งต้องมองให้ออกว่าแก่นของสภาพปั ญหาอยู่ระดับ
             ไหนของระบบ

2 กันยายน 2553                                                100
ระบบคืออะไร?
ระบบทางเทคนิ ค         ระบบย่อย

           ระบบขนส่ง

                                  ระบบความปลอดภัย




2 กันยายน 2553                                      101
ตัวอย่าง มองปั ญหาอย่างเป็ นระบบ
   การแก้ปัญหาความปลอดภัยของระบบการขนส่ง
       ระบบการบังคับเลี!ยว คือ การพัฒนาระบบเซนเซอร์ในการ
       ตรวจสอบและประเมินอันตรายที@เกิดขึ!น เพื@อนําไปประมวลและ
       เข้าควบคุมระบบบังคับเลี!ยวโดยตรง
       ระบบการเบรค คือ การพัฒนาระบบเบรคให้ลงลึงเข้าไปใน
       อนุภาคของผ้าเบรคให้มีคณภาพดีข! ึน
                                ุ
       ระบบเครื@องยนต์ คือ การพัฒนาเครื@องยนต์ที@สามารถควบคุม
       ความเร็วในการขับขี@ได้ เป็ นต้น

2 กันยายน 2553                                               102
TRIZ
    TRIZ เข้าใจฟั งก์ชนของระบบ (Function approach)
                      ั
             TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานัน ต้องรูหน้าที@
                                         !     ้
             การทํางาน หรือ ฟั งก์ชน Function
                                     ั
             ฟั งก์ชนหลัก ที@เป็ นประโยชน์ของระบบ
                    ั
             ฟั งก์ชนที@ไม่เป็ นประโยชน์
                      ั
             ฟั งก์ชนที@ควรมีในระบบ แต่หายไป
                        ั


2 กันยายน 2553                                           103
TRIZ
    TRIZ เข้าใจทรัพยากรในระบบ (Resource approach)
             TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานัน ต้องพิจารณาทรัยากรที@
                                        !
            มีอยู่ในระบบ
             วัสดุ เวลา ฟั งก์ชน พลังงาน ข้อมูล
                               ั




2 กันยายน 2553                                             104
ความเป็ นอุดมคติ ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติ
        Ideal Final Result, IFR

                                                     ความเป็ นอุดมคติ
                                     ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติท@ีตองการ
                                                                 ้
                                                     Ideal Final Result


2 กันยายน 2553                                                            105
Law of ideality?
    กฎความเป็ นอุดมคติ คืออะไร
                 เมื@อกล่าวถึงระบบทางเทคนิ ค
                    จะต้องมี “กลไก/อุปกรณ์” สําหรับทําหน้าที@หรือ
                    เป็ นสื@อกลาง เพื@อทําหน้าที@อะไรบางอย่าง
                    จะต้องมี “เปาหมาย” ในการทําหน้าที@ของเขา
                                ้


       อินพุท                ระบบทางเทคนิ ค                         เอาต์พุท

       พลังงาน                    กลไก #1                           เปาหมาย
                                                                     ้

        ต้นทุน                    กลไก #2                           ผลตอบแทน
2 กันยายน 2553                                                                 106
กฎความเป็ นอุดมคติ
    กฎความเป็ นอุดมคติ Law of ideality คือ ความเป็ นไปได้
    ในเหตุการณ์หรือผลลัพธ์ของระบบที@ดีที@สด สําหรับการ
                                            ุ
    แก้ปัญหานันๆ!
    โดยไม่คํานึ งถึง ทรัพยากร หรือ เงื@อนไขต่างๆ ของปั ญหา
    Ideal Final Result ,IFR
    คือ เปาหมายหรือผลลัพท์สุดท้ายในอุดมคติที@ตองการ
          ้                                       ้


2 กันยายน 2553                                               107
กฎความเป็ นอุดมคติ
    แนวคิดเรื@อง “Ideal Machine”
    เป็ นแนวคิดที@ตองการวาดฝันแบบสุดโต่งและ
                   ้
    วาดเปาหมายสูงสุด ผลลัพธ์สุดท้าย ของ
          ้
    การวิวฒนาการระบบ
            ั
    การไม่ตองมี Machine แต่สามารถบรรลุเปาหมายได้
              ้                          ้
    การไม่ตองใช้ทรัยากร แต่ Machine ยังสามารถทําตาม
                ้
    หน้าที@ของเขาได้
2 กันยายน 2553                                    108
กฎความเป็ นอุดมคติ




                                Michael A. Orloff :
2 กันยายน 2553      Inventive Thinking through TRIZ
                                                109
วิวฒนาการของระบบสู่ความเป็ นอุดมคติ?
                    ั




                                                Michael A. Orloff :
2 กันยายน 2553                      Inventive Thinking through TRIZ
                                                                110
กฎความเป็ นอุดมคติ



                          แก้ปัญหาในเรื@อง
                          พื!นที@ โดยทําให้
    ประโยชน์ในการใช้
                          สามารถซ้อนกันได้
    ซํามากขึ!น เนื@ องจาก
       !
                          ขณะใช้งานเสร็จแล้ว
    ปั ญหาทางด้าน
    ทรัพยากรที@มีจํากัด
    และความแข็งแรง
    ทนทาน
2 กันยายน 2553                                                  111
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค

                                       พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
                                            การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่



2 กันยายน 2553                                                     112
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
                        ความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
                 กับหลักการ 40 ข้อในการประดิษฐ์คิดค้น
                       ตัวอย่างความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
         ระบบเทคนิ ค                  ความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
   เครื@องจักร อุปกรณ์ทางกล           เมื@อเพิ@มความแข็งแรง
                                      นํ!าหนักจะเพิ@มขึ!น
   รถไฟ รถยนต์ เครื@องบิน             เมื@อเพิ@มความเร็ว
                                             @
                                      การสันสะเทือนจะมากขึ!น
   วงจรไฟฟา
          ้                           เมื@อเพิ@มความเร็วการสวิตชิ@ง
2 กันยายน 2553                        ทําให้สญญาณรบกวนมากขึ!น
                                               ั                      113
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค

   3 ขันตอนในการแก้ปัญหา
       !
      วิเคราะห์ระบบทางเทคนิ ค

        ระบุขอขัดแย้งทางเทคนิ ค
             ้

      แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิ ค
2 กันยายน 2553                                 114
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
    วิเคราะห์ระบบทางเทคนิ ค
     เพื@อกําหนดลักษณะสมบัติของระบบ
     ลักษณะสมบัติของระบบ คือ ค่าทางกายภาพหรือคุณสมบัติที@
     ต้องการปรับปรุง เช่น นํ!าหนัก ขนาด สี ความเร็ว ความ
     แข็ งแรง ปริมาตร อุณหภูมิ ความแม่นยํา แรงดึง แรงดัน
     อันตรายจากระบบ ความสะดวกในการใช้งาน พื!นที@ …
     สุดท้ายก็คือ สมบัติความขัดแย้งทัง 39 ข้อของระบบทาง
                                     !
2 กันเทคนิ ค
     ยายน 2553                                         115
ลักษณะสมบัติของระบบ
         1. นํ!าหนักของวัตถุซึ@งเคลื@อนที@        19. พลังงานที@ ใช้ไปโดยวัตถุซึ@งเคลื@อนที@
         2. นํ!าหนักของวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@     20. พลังงานที@ ใช้ไปโดยวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@
         3. ความยาวของวัตถุซึ@งเคลื@อนที@         21. กําลัง
         4. ความยาวของวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@      22. การสูญเสียไปของพลังงาน
                                                  23. การสูญเสียไปของสสาร
         5. พื!นที@ของวัตถุซึ@งเคลื@อนที@         24. การสูญเสียไปของข้อมูล
         6. พื!นที@ของวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@      25. การสูญเสียไปของเวลา
         7. ปริมาตรของวัตถุซึ@งเคลื@อนที@         26. จํานวนของสสาร
         8. ปริมาตรของวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@      27. ความน่ าเชื@ อถือ
         9. ความเร็ว                              28. ความแม่นยําของการวัด
         10. แรง                                  29. ความแม่นยําของการผลิต
         11. แรงดึง แรงดัน                        30. ปั จจัยอันตรายซึ@งกระทําต่อวัตถุ
         12. รูปร่าง                              31. ปั จจัยอันตรายที@ตามมา
                                                  32. ความสามารถในการผลิต
         13. เสถียรภาพของวัตถุ                    33. ความสะดวกในการใช้
         14. ความแข็งแรง                          34. ความสะดวกในการเก็บรักษา
         15. ความทนทานของวัตถุซึ@งเคลื@อนที@      35. ความสามารถในการปรับตัวได้
         16. ความทนทานของวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@   36. ความซับซ้อนของอุปกรณ์
         17. อุณหภูมิ                             37. ความซับซ้อนของการควบคุม
         18. ความสว่าง                            38. ระดับของความอัตโนมัติ
2 กันยายน 2553                                    39. ผลิตภาพ                                     116
2 กันยายน 2553   117
2 กันยายน 2553   118
ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
  การแก้ปัญหาหลอดไฟ T8 ไม่ให้ฝุ่นเกาะ




                                                                        วิเคราะห์ระบบทางเทคนิ ค
                                                                        วิเคราะห์ระบบทางเทคนิ ค
แบบฟอร์ม P1 การสร้างสูตรของลักษณะสมบัติที@จะปรับปรุง
  ระบุชื@อของระบบทางเทคนิ ค :: การลดฝุ่ นละอองที@เกาะอยู่บนผิ วหลอดไฟ
  กําหนดเปาหมายของระบบทางเทคนิ ค (ระบบได้รบการออกแบบมาเพื@อ)
             ้                                    ั
  เพื@อลดปั ญหาฝุ่ นที@จะเกาะบนผิ วหลอดไฟ
  รายชื@ อส่วนประกอบของระบบทางเทคนิ คและหน้าที@การทํางานของระบบ
         ชื@อส่วนประกอบ                   หน้าที@การทํางาน
         หลอดไฟ                           เป็ นตัวกลางให้แสงสว่าง
         เส้นหลอด ขัวหลอดและขารับหลอด ยึดหลอดไว้บนเพดาน
                       !
         สารเคลือบหลอด                    เพิ@มความสว่างของหลอดไฟ
         ก๊าซเฉื@ อย
2 กันยายน 2553                                                                  119
ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
    บรรยายการทํางานของระบบทางเทคนิ ค
    กระแสไฟฟาจะกระตุนอะตอมของสารปรอท ให้อยู่ในสภาวะกระตุนและจะปลดปล่อย
                 ้        ้                                 ้
    พลังงานออกมาในรูปของแสง ซึ@งหลอดไฟก็เกิดไฟฟาสถิตย์จึงทําให้ฝุ่นละอองมาเกาะ
                                                 ้
    และทําให้แสงสว่างลดลงและต้องทําความสะอาดบ่อยครัง   !
    กําหนดลักษณะสมบัติท@ีควรได้รบการปรับปรุงหรือขจัดทิ!งไป
                                 ั
    ปรับปรุงสภาพผิ วหลอดไฟ ต้องการขจัดและลดปั ญหาการเกาะของฝุ่ นละอองในอากาศ
    ที@เป็ นผลร้ายจากสิ@งแวดล้อม




2 กันยายน 2553                                                             120
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
        ระบุขอขัดแย้งทางเทคนิ ค
             ้
   ลักษณะของวัตถุบางอย่างจะลดลงเมื@อมีการปรับปรุงหรือ
   เปลี@ ยนแปลงลักษณะสมบัตินึง ระบุขอขัดแย้งให้ชดเจน
                                    ้           ั
   โดยสามารถมองออกมาเป็ น scenario#1,2,3… ซึ@งเป็ นการ
   ระบุค่ความขัดแย้งที@สามารถหาได้ในระบบหรือปั ญหา
          ู


2 กันยายน 2553                                       121
ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
แบบฟอร์ม P2 การสร้างสูตรของความขัดแย้งทางเทคนิ ค




                                                                              ระบุขอขัดแย้งทางเทคนิ ค
                                                                              ระบุขอขัดแย้งทางเทคนิ ค
รายการที@ 1 การระบุลกษณะสมบัติเชิงบวกที@ควรได้รบการปรับปรุง
                       ั                         ั
   ลักษณะสมบัติ ความสว่าง ปั จจัยอันตรายจากภายนอก (ฝุ่ นละอองที@เกาะบนผิ ว)




                                                                                   ้้
   ระบุวิถีปกติที@ใช้ในการปรับปรุงลักษณะสมบัติ หาอุปกรณ์มาครอบเอาไว้ ทํา
   ความสะอาดเป็ นประจํา
   ระบุลกษณะสมบัติท@ีดอยลงเมื@อตกอยู่ในเงื@อนไข 1b
         ั               ้
   ความสว่าง รูปร่าง เสถียรภาพองค์ประกอบ
   สร้างสูตรความขัดแย้งทางเทคนิ คดังต่อไปนี!




2 กันยายน 2553                                                                       122
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
      แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิ ค
   ในขันตอนนี! ใช้ตารางความขัดแย้งมาช่วยในการหาแนว
       !
   ทางการแก้ปัญหา และ ช่วยแก้ขอขัดแย้งทางเทคนิ ค
                               ้
   โดยการใช้ TRIZ หลักการ 40 ข้อ มาช่วยตอบปั ญหา




2 กันยายน 2553                                       123
TRIZ 40 หลักการ
   หลักการ                                               หลักการ
   1 แบ่งส่วน (segmentation)                             21 กระทําอย่างว่องไว (rushing through)
   2 สกัดออก (extraction)                                22 เปลียนวิกฤติให้เป็ นโอกาส (convert harm into benefit)
                                                                  T
   3 ลักษณะเฉพาะ (local quality)                         23 ปอนกลับ (feedback)
                                                              ้
   4 ไม่สมมาตร (asymmetry)                               24 ตัวกลาง (mediator)
   5 รวมกัน (consolidation)                              25 บริการตัวเอง (self service)
   6 อเนกประสงค์ (universality)                          26 เลียนแบบ (copying)
   7 ซ้อนกัน (nesting)                                   27 ใช้แล้วทิMง (dispose)
   8 คานนํMาหนัก (counterweight)                         28 แทนระบบเชิงกล (replacement of mechanical system)
   9 กระทําการต้านทานก่อน (prior counter-action)         29 ใช้ระบบนิวเมติคหรือไฮดรอลิค (pneumatic or hydraulic
   10 กระทําก่อน (prior action)                          construction)
   11 ปองกันไว้ก่อน (cushion in advance)
       ้                                                 30 เยือยืดหยุนและฟิ ลม์บาง (flexible membranes or thin
                                                                T       ่
   12 ศักยภาพเท่ากัน (equipotentiality)                  films)
   13 ทํากลับทาง (do it in reverse)                      31 วัสดุรูพรุน (porous material)
   14 ทรงกลม (spheroidality)                             32 เปลียนสี (changing of colour)
                                                                    T
   15 พลวัต (dynamicity)                                 33 เนืMอเดียว (homogeneity)
   16 กระทําบางส่วนหรือมากกว่า                           34 ใช้ชM ินส่วนทีสลายและเกิดใหม่ (rejecting and
                                                                          T
   (partial or excessive action)                         regenerating part)
   17 แปลงสู่มิตใหม่ (transition into a new dimension)
                  ิ                                      35 เปลียนลักษณะสมบัติ (transformation of the properties)
                                                                      T
   18 สัTนเชิงกล (mechanical vibration)                  36 แปลงสถานะ (phase transition)
   19 กระทําเป็ นจังหวะ (periodic action)                37 ขยายตัวด้วยความร้อน (thermal expansion)
   20 กระทําต่อเนืTองทีเป็ นประโยชน์
                        T                                38 เติมอากาศอย่างรวดเร็ว (accelerated oxidation)
   (continuity of useful action)                         39 สภาพแวดล้อมเฉีTอย (inert environment)
2 กันยายน 2553                                           40 วัสดุคอมโพสิท (composite materials)               124
ตารางแมทริกซ์ความขัดแย้ง




                 40 ,26,              32,35,
                  27,1                 19

2 กันยายน 2553                               125
ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
   สร้างสูตรความขัดแย้งทางเทคนิ คดังต่อไปนี!




                                                                             แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิ ค
                                                                             แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิ ค
   Scenario #1 ปั จจัยอันตราย (30): เสถียรภาพขององค์ประกอบ (13)
          @
   18 (สันเชิงกล), 24 (ตัวกลาง), 30 (ฟิ ลม์บาง), 35 (แปลงลักษณะสมบัติ)
   Scenario #2 ความสว่าง (33): รูปร่าง (12)
   30 (ฟิ ลม์บาง), 32 (เปลี@ยนสี)
   Scenario #3 ปั จจัยอันตราย (30): ความสว่าง (18)
   1 (แบ่งส่วน), 13 (กลับทาง), 19 (กระทําเป็ นจังหวะ), 32 (เปลี@ยนสี)

   วิเคราะห์หลักการดังกล่าว
   หลักการที@ 18 สันเชิงกล กับ 19 กระทําเป็ นจังหวะ ใช้ประโยชน์จากการแกว่ง
                   @
   ความถี@ การสันสะเทือนเป็ นจังหวะ เพื@อลดการเกาะติดของฝุ่ นละออง
                @
2 กันยายน 2553                                                                       126
ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค
   วิเคราะห์หลักการดังกล่าว
   หลักการที@ 24 การใช้ตวกลางเพื@อลดหรือก่อให้เกิดการกระทํา ซึ@งหมายถึงการเพิ@มฝา
                          ั
   ครอบที@เป็ นตัวกลางปองกันหลอดซึ@งเป็ นทางเลือกที@ยงไม่ดีเพียงพอในการปรับปรุง
                       ้                             ั
   หลักการที@ 30 การใช้ฟิลม์บาง เป็ นการใช้ฟิลม์บางเพื@อแทนที@โครงสร้างแข็ง โดยอาจ
   เป็ นการเคลือบผิวนอกเพื@อปองกันการเกิดไฟฟาสถิตย์ ลดการเกาะของฝุ่ นละออง ซึ@ง
                             ้                ้
   ใกล้เคียงที@สุดในการนําไปใช้งานจริง

   ปั จจุบนมีการพัฒนาและคิดค้นการนําสารเคลือบเพื@อใช้ในการลดปั ญหาการเกาะของ
          ั
   ฝุ่ นละออง และหลอดจะยังคงความสว่างตามมาตรฐานความสว่างตลอดอายุการใช้
   งานของหลอด


2 กันยายน 2553                                                                   127
TRIZ 40 หลักการ

      #1 แบ่งส่วน segmentation
       ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง
                 ขนาดของระบบที@ใหญ่เกินไปทําให้
               การทํางานของระบบไม่มีประสิ ทธิภาพ
       เพื@อลดปั ญหาด้านขนาดและพื!นที@ และเพื@อให้เกิดความ
       ราบรื@นของระบบสูงขึ! น

2 กันยายน 2553                                               128
TRIZ 40 หลักการ
อธิบายหลักการ
  แบ่งวัตถุออกเป็ นส่วนแยกอิสระส่วนต่างๆ ทําระบบให้
  สามารถพับได้
  เฟอร์นิเจอร์แบ่งส่วน เพื@อลดความขัดแย้งในด้านพื!นที@ ขนาด
  ความยาว จัดส่งง่าย สะดวกมากขึ! น
  การแบ่งส่วนข้อมูลเสี ยงออกเป็ นส่วนๆ เพื@อให้สามารถนํามา
  วิเคราะห์ส่วนต่างๆ ของสัญญาณเสี ยงแต่ละประเภทได้

2 กันยายน 2553                                           129
TRIZ 40 หลักการ




2 กันยายน 2553                130
TRIZ 40 หลักการ

          #4 ไม่สมมาตร asymmetry
        ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง
                      ความสะดวกในการใช้งาน
             เมื@อเพิ@มความไม่สมาตรแล้วระบบสามารถ
                       ทํางานได้เต็มประสิ ทธิภาพ


2 กันยายน 2553                                      131
TRIZ 40 หลักการ
อธิบายหลักการ
  แทนที@รปแบบปกติให้เป็ นแบบไม่สมมาตร
         ู
  ลักษณะใบปั ดนํ!าฝน ที@ลดความขัดแย้งในด้านขนาด และ
  รูปทรงต่างๆ ความไม่สมมาตร เกิดความสะดวกในการใช้
  งาน ระบบจึงทําหน้าได้ดีข! ึ น




2 กันยายน 2553                                        132
TRIZ 40 หลักการ

            #5 รวมกัน consolidation
        ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง
                   ความสะดวกในการใช้งาน
                  เมื@อเพิ@มความหน้าที@ของระบบ
              ให้สามารถทํางานได้เต็มประสิ ทธิภาพ


2 กันยายน 2553                                       133
TRIZ 40 หลักการ
อธิบายหลักการ
  เพิ@มหน้าที@การใช้งานใหม่สามารถรวมหน้าที@การใช้งานระบบ
  Wood plastic composite ที@นําลักษณะเด่นของวัสดุ 2 ชนิ ด
  ผงไม้ และ พลาสติก
  Metal composite การรวมกันระหว่าง พลาสติก กับ ผงโลหะ
  หรือการรวมกันระหว่าง ซิเมนต์ และ พลาสติก เป็ นต้น


2 กันยายน 2553                                          134
TRIZ 40 หลักการ

                 #7 ซ้อนกัน nesting
        ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง
             ปริมาตร หรือ พื!นที@ในการจัดเก็บที@จากัด
                                                 ํ
                 ความรวดเร็วในการนํ ามาใช้งาน
                    สามารถตังในพื!นที@เดียวกัน
                              !


2 กันยายน 2553                                           135
TRIZ 40 หลักการ
อธิบายหลักการ
  ใส่วตถุซอนเข้าไปในช่องว่างของวัตถุที@ 1
      ั ้
  การซ้อนกันของบรรจุภณฑ์ ที@ลดความขัดแย้งในด้านพื!นที@
                       ั
  จัดเก็บ รวมทังความรวดเร็วในการนําไปใช้งาน
               !




2 กันยายน 2553                                           136
TRIZ 40 หลักการ

  #10 กระทําก่อน prior action
   ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง
  บางครังระบบต้องการ ความเร็ว ในการทําหน้าที@บางอย่าง ซึ@ง
        !
             ก่อให้เกิดความสะดวกในการใช้งาน



2 กันยายน 2553                                           137
TRIZ 40 หลักการ
อธิบายหลักการ
  ทําการเปลี@ ยนแปลงที@ตองการกับระบบล่วงหน้า
                        ้
  หลอดเก็บเลื อดสุญญากาศ ที@สามารถเพิ@มความรวดเร็ว และ
  ระดับความเป็ นอัตโนมัติ มากขึ! นในการเก็บเลื อด




2 กันยายน 2553                                      138
TRIZ 40 หลักการ

                 #30 ฟิ ลม์บาง thin film
   ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง
   การปองกันระบบให้พนจากอันตรายจากภายนอก สามารถ
       ้              ้
                   อาศัยหลักการนี! มาช่วยได้



2 กันยายน 2553                                    139
TRIZ 40 หลักการ
อธิบายหลักการ
  นําฟิ ลม์ยืดหยุ่นหรือฟิ ลม์บาง
  การเคลื อบผิ วเครื@องมือตัด เจาะ เพื@อปองกันการกัดกร่อน ลด
                                        ้
  แรงเสี ยดทาน




2 กันยายน 2553                                           140
การออกแบบให้เข้าถึงใจคน


2 กันยายน 2553         141
Design + Economics
                 Designomics
                  “เศรษฐกิจบนฐานงานออกแบบ”


2 กันยายน 2553                               142
“งานออกแบบสร้างความมีชีวตชีวาให้กบเศรษฐกิจ”
                        ิ        ั




2 กันยายน 2553                           143
2 กันยายน 2553   144
“งานออกแบบสร้างความมีชีวตชีวาให้กบเศรษฐกิจ”
                        ิ        ั




2 กันยายน 2553                           145
เศรษฐกิจบนฐานงานออกแบบ

        งานออกแบบ นันเป็ น “กาว” ที@คอยประสาน
                         !
     เทคโนโลยีท@ียุ่งยากซับซ้อนให้ออกมาดูเรียบง่าย
     และสอดคล้องกับความต้องการและโดนใจผูใช้    ้
        หลายครังที@ งานออกแบบ สามารถสร้างมูลค่า
                  !
     ทางธุรกิจได้ดีและยังสามารถสร้างความแตกต่าง
        ท้ายที@สุดก็นําไปสู่ความได้เปรียบในการแข่งขัน
     ได้และมีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจเกิดการหมุนเวียน
2 กันยายน 2553                                          146
2 กันยายน 2553   147
งานออกแบบ กับ นวัตกรรม
                 “นวัตกรรม ต้องการ งานออกแบบ”
    เพื@อแก้ปัญหา
        หรือ ลดข้อจํากัดบางอย่างของสินค้าเดิม
        หรือ เพื@อแก้ปัญหาในการใช้งานของสินค้าเดิม
    เพื@อทําให้สินค้านันดีข! ึน
                       !
                      Design Innovation in Technology
                       Design Innovation in Creativity
                         Design Innovation in Social
                      Design Innovation in Environment
2 กันยายน 2553                                             148
งานออกแบบ กับ นวัตกรรม




2 กันยายน 2553                        149
งานออกแบบ กับ นวัตกรรม




2 กันยายน 2553                        150
งานออกแบบ กับ นวัตกรรม




2 กันยายน 2553                        151
งานออกแบบ กับ นวัตกรรม




2 กันยายน 2553                        152
งานออกแบบ กับ นวัตกรรม




2 กันยายน 2553                        153
นวัตกรรมวานิ ลลา

     นวัตกรรมวานิ ลลาคือ “ความเรียบง่ายของการประดิษฐ์ส่ปฏิวติ        ู ั
                   รูปแบบการรังสรรค์นวัตกรรม”
     แนวคิดที@ 1 แบบสุดขีด (extreme)
     แนวคิดที@ 2 แบบปะติดปะต่อกัน (A+B--->C)
     แนวคิดที@ 3 แบบพัฒนาสินค้าที@มีความพอดีกบตลาดที@เหมาะสม
                                                      ั
     แนวคิดที@ 4 การก้าวข้ามวังวนของการประดิษฐ์
     (un-invent cycle) คิดค้น ออกแบบ สร้างต้นแบบ ทดสอบ ปรับปรุง คิดใหม่ ทําอีก
      สร้างเพิ@ม ทดสอบ

2 กันยายน 2553                                                               154
“ไม่มีทางรูเ้ ลยว่าความคิดนัน
                                     !
       ใหม่หรือไม่ (ยกเว้นแต่จะอ้างอิงกับ
      มาตรฐานบางอย่าง) และไม่มีทางบอก
      ได้ว่ามันมีคณค่าหรือเปล่า จนกระทัง
                  ุ                      @
                 ผ่านการประเมินทาง สังคม”
2 กันยายน 2553                              155
สินค้าดี ตลาดดี ต้องดีแน่
    สินค้าแย่ ตลาดดี ยังพอไหว
    สินค้าดี ตลาดแย่ น่าเห็นใจ
    สินค้าแย่ ตลาดแย่ ... เอย!!!
2 กันยายน 2553                     156
ข้อมูลเพิ@มเติมติดต่อ
        พันธพงศ์ ตังธีระสุนนท์
                   !       ั
        ผูจดการโครงการ
          ้ ั
        สํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
        02 644 6000 ต่อ 133


                   pantapong@nia.or.th
                         name       organization

                 www.slideshare.net/pantz
2 กันยายน 2553                                               157

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Creativity & innovation management@KKU 20140823
Creativity & innovation management@KKU 20140823Creativity & innovation management@KKU 20140823
Creativity & innovation management@KKU 20140823pantapong
 
Innovation Journey 20140630 @KMITL
Innovation Journey 20140630 @KMITLInnovation Journey 20140630 @KMITL
Innovation Journey 20140630 @KMITLpantapong
 
Post hq innovation journey 2014091516
Post hq innovation journey 2014091516Post hq innovation journey 2014091516
Post hq innovation journey 2014091516pantapong
 
Innovation journey 20150402 07 day#2
Innovation journey 20150402 07 day#2Innovation journey 20150402 07 day#2
Innovation journey 20150402 07 day#2pantapong
 
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014pantapong
 
Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2pantapong
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilitypantapong
 

Mais procurados (8)

Creativity & innovation management@KKU 20140823
Creativity & innovation management@KKU 20140823Creativity & innovation management@KKU 20140823
Creativity & innovation management@KKU 20140823
 
Innovation Journey 20140630 @KMITL
Innovation Journey 20140630 @KMITLInnovation Journey 20140630 @KMITL
Innovation Journey 20140630 @KMITL
 
Post hq innovation journey 2014091516
Post hq innovation journey 2014091516Post hq innovation journey 2014091516
Post hq innovation journey 2014091516
 
Innovation journey 20150402 07 day#2
Innovation journey 20150402 07 day#2Innovation journey 20150402 07 day#2
Innovation journey 20150402 07 day#2
 
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
 
Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capability
 

Destaque

components de l’ordinador Martí Caro - Joan Grau
components de l’ordinador  Martí Caro  - Joan Graucomponents de l’ordinador  Martí Caro  - Joan Grau
components de l’ordinador Martí Caro - Joan Graujoangll4
 
(Sector) recortes de prensa 08 08-2013
(Sector) recortes de prensa 08 08-2013(Sector) recortes de prensa 08 08-2013
(Sector) recortes de prensa 08 08-2013Sff-cgt Cgt Málaga
 
Public private partnerships (pp ps) as collective action for improved urban e...
Public private partnerships (pp ps) as collective action for improved urban e...Public private partnerships (pp ps) as collective action for improved urban e...
Public private partnerships (pp ps) as collective action for improved urban e...Alexander Decker
 
Ceper
CeperCeper
CeperAlaor
 
United Health Group Form 8-K Related to Earnings Release
United Health Group Form 8-K Related to Earnings ReleaseUnited Health Group Form 8-K Related to Earnings Release
United Health Group Form 8-K Related to Earnings Releasefinance3
 
Parque Científico e Tecnológico de Juiz de Fora e Região
Parque Científico e Tecnológico de Juiz de Fora e RegiãoParque Científico e Tecnológico de Juiz de Fora e Região
Parque Científico e Tecnológico de Juiz de Fora e RegiãoInovatec JF
 

Destaque (8)

components de l’ordinador Martí Caro - Joan Grau
components de l’ordinador  Martí Caro  - Joan Graucomponents de l’ordinador  Martí Caro  - Joan Grau
components de l’ordinador Martí Caro - Joan Grau
 
(Sector) recortes de prensa 08 08-2013
(Sector) recortes de prensa 08 08-2013(Sector) recortes de prensa 08 08-2013
(Sector) recortes de prensa 08 08-2013
 
Deans2
Deans2Deans2
Deans2
 
Public private partnerships (pp ps) as collective action for improved urban e...
Public private partnerships (pp ps) as collective action for improved urban e...Public private partnerships (pp ps) as collective action for improved urban e...
Public private partnerships (pp ps) as collective action for improved urban e...
 
Ceper
CeperCeper
Ceper
 
Innovation Spaces - English
Innovation Spaces - EnglishInnovation Spaces - English
Innovation Spaces - English
 
United Health Group Form 8-K Related to Earnings Release
United Health Group Form 8-K Related to Earnings ReleaseUnited Health Group Form 8-K Related to Earnings Release
United Health Group Form 8-K Related to Earnings Release
 
Parque Científico e Tecnológico de Juiz de Fora e Região
Parque Científico e Tecnológico de Juiz de Fora e RegiãoParque Científico e Tecnológico de Juiz de Fora e Região
Parque Científico e Tecnológico de Juiz de Fora e Região
 

Semelhante a Idig ericsson 20100902 by pantapong

Idig idesign 20100823 by pantapong
Idig idesign 20100823 by pantapongIdig idesign 20100823 by pantapong
Idig idesign 20100823 by pantapongpantapong
 
Idig thanulux 20101028 by pantapong
Idig thanulux 20101028 by pantapongIdig thanulux 20101028 by pantapong
Idig thanulux 20101028 by pantapongpantapong
 
PSU Medical Design
PSU Medical DesignPSU Medical Design
PSU Medical Designpantapong
 
Idig #2 ru 20100912 by pantapong
Idig #2 ru 20100912 by pantapongIdig #2 ru 20100912 by pantapong
Idig #2 ru 20100912 by pantapongpantapong
 
Innovation On Demand By Pantapong
Innovation On Demand By PantapongInnovation On Demand By Pantapong
Innovation On Demand By Pantapongpantapong
 
Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1pantapong
 
Idig simu 20100721 by pantapong
Idig simu 20100721 by pantapongIdig simu 20100721 by pantapong
Idig simu 20100721 by pantapongpantapong
 
RMUTT NIA Innovation Journey 26-27 06 2017
RMUTT NIA Innovation Journey 26-27 06 2017RMUTT NIA Innovation Journey 26-27 06 2017
RMUTT NIA Innovation Journey 26-27 06 2017pantapong
 
Innovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesInnovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesMaykin Likitboonyalit
 
Leveraging innovation for social opportunity
Leveraging innovation for social opportunityLeveraging innovation for social opportunity
Leveraging innovation for social opportunityThaweesak Koanantakool
 
NIAPMAT 2016 06-28
NIAPMAT 2016 06-28NIAPMAT 2016 06-28
NIAPMAT 2016 06-28pantapong
 
Idig #1 ru 20100912 by pantapong
Idig #1 ru 20100912 by pantapongIdig #1 ru 20100912 by pantapong
Idig #1 ru 20100912 by pantapongpantapong
 
Idig #1 necs 20110319 by pantapong
Idig #1 necs 20110319 by pantapongIdig #1 necs 20110319 by pantapong
Idig #1 necs 20110319 by pantapongpantapong
 
Din vol1
Din vol1Din vol1
Din vol1homphan
 
Idig creativity and triz 20110821 by pantapong
Idig creativity and triz 20110821 by pantapongIdig creativity and triz 20110821 by pantapong
Idig creativity and triz 20110821 by pantapongpantang
 
Idig nfe 20110507 by pantapong
Idig nfe 20110507 by pantapongIdig nfe 20110507 by pantapong
Idig nfe 20110507 by pantapongpantapong
 

Semelhante a Idig ericsson 20100902 by pantapong (20)

Idig idesign 20100823 by pantapong
Idig idesign 20100823 by pantapongIdig idesign 20100823 by pantapong
Idig idesign 20100823 by pantapong
 
Idig thanulux 20101028 by pantapong
Idig thanulux 20101028 by pantapongIdig thanulux 20101028 by pantapong
Idig thanulux 20101028 by pantapong
 
PSU Medical Design
PSU Medical DesignPSU Medical Design
PSU Medical Design
 
Idig #2 ru 20100912 by pantapong
Idig #2 ru 20100912 by pantapongIdig #2 ru 20100912 by pantapong
Idig #2 ru 20100912 by pantapong
 
Innovation On Demand By Pantapong
Innovation On Demand By PantapongInnovation On Demand By Pantapong
Innovation On Demand By Pantapong
 
Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1
 
Idig simu 20100721 by pantapong
Idig simu 20100721 by pantapongIdig simu 20100721 by pantapong
Idig simu 20100721 by pantapong
 
RMUTT NIA Innovation Journey 26-27 06 2017
RMUTT NIA Innovation Journey 26-27 06 2017RMUTT NIA Innovation Journey 26-27 06 2017
RMUTT NIA Innovation Journey 26-27 06 2017
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
Innovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesInnovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School libraries
 
Leveraging innovation for social opportunity
Leveraging innovation for social opportunityLeveraging innovation for social opportunity
Leveraging innovation for social opportunity
 
V 303
V 303V 303
V 303
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
NIAPMAT 2016 06-28
NIAPMAT 2016 06-28NIAPMAT 2016 06-28
NIAPMAT 2016 06-28
 
Idig #1 ru 20100912 by pantapong
Idig #1 ru 20100912 by pantapongIdig #1 ru 20100912 by pantapong
Idig #1 ru 20100912 by pantapong
 
Idig #1 necs 20110319 by pantapong
Idig #1 necs 20110319 by pantapongIdig #1 necs 20110319 by pantapong
Idig #1 necs 20110319 by pantapong
 
Din vol1
Din vol1Din vol1
Din vol1
 
Idig creativity and triz 20110821 by pantapong
Idig creativity and triz 20110821 by pantapongIdig creativity and triz 20110821 by pantapong
Idig creativity and triz 20110821 by pantapong
 
Idig nfe 20110507 by pantapong
Idig nfe 20110507 by pantapongIdig nfe 20110507 by pantapong
Idig nfe 20110507 by pantapong
 

Mais de pantapong

Next10 - exponential - innovation - 2024
Next10 - exponential - innovation - 2024Next10 - exponential - innovation - 2024
Next10 - exponential - innovation - 2024pantapong
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023pantapong
 
2023 Next10 Exponential Innovation
2023 Next10 Exponential Innovation2023 Next10 Exponential Innovation
2023 Next10 Exponential Innovationpantapong
 
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdf
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdfFinal APEC ERW 25 Aug 2022.pdf
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdfpantapong
 
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdfInnovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdfpantapong
 
2022 Next10 Exponential Innovation
2022 Next10 Exponential Innovation2022 Next10 Exponential Innovation
2022 Next10 Exponential Innovationpantapong
 
19102021 Innovation Management
19102021 Innovation Management19102021 Innovation Management
19102021 Innovation Managementpantapong
 
Innovation Management TNSC
 Innovation Management TNSC Innovation Management TNSC
Innovation Management TNSCpantapong
 
Innovation in crisis FTPI 02072021
Innovation in crisis FTPI 02072021Innovation in crisis FTPI 02072021
Innovation in crisis FTPI 02072021pantapong
 
Thailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSCThailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSCpantapong
 
Exponential innovation next10: 2021
Exponential innovation next10: 2021Exponential innovation next10: 2021
Exponential innovation next10: 2021pantapong
 
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap pantapong
 
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next level
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next levelThailand Innovation Road map: Transforming your business to Next level
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next levelpantapong
 
Exponential innovation next10 2020 Update June
Exponential innovation next10 2020 Update JuneExponential innovation next10 2020 Update June
Exponential innovation next10 2020 Update Junepantapong
 
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next level
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next levelThailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next level
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next levelpantapong
 
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformation
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation TransformationAIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformation
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformationpantapong
 
Innovation & Waste Transformation
Innovation & Waste TransformationInnovation & Waste Transformation
Innovation & Waste Transformationpantapong
 
Innovation and Farm Transformation March 2020
Innovation and Farm Transformation March 2020Innovation and Farm Transformation March 2020
Innovation and Farm Transformation March 2020pantapong
 
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation
NBTC 03122019 : Innovation and Digital TransformationNBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformationpantapong
 
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation :
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation : NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation :
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation : pantapong
 

Mais de pantapong (20)

Next10 - exponential - innovation - 2024
Next10 - exponential - innovation - 2024Next10 - exponential - innovation - 2024
Next10 - exponential - innovation - 2024
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023
 
2023 Next10 Exponential Innovation
2023 Next10 Exponential Innovation2023 Next10 Exponential Innovation
2023 Next10 Exponential Innovation
 
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdf
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdfFinal APEC ERW 25 Aug 2022.pdf
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdf
 
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdfInnovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
 
2022 Next10 Exponential Innovation
2022 Next10 Exponential Innovation2022 Next10 Exponential Innovation
2022 Next10 Exponential Innovation
 
19102021 Innovation Management
19102021 Innovation Management19102021 Innovation Management
19102021 Innovation Management
 
Innovation Management TNSC
 Innovation Management TNSC Innovation Management TNSC
Innovation Management TNSC
 
Innovation in crisis FTPI 02072021
Innovation in crisis FTPI 02072021Innovation in crisis FTPI 02072021
Innovation in crisis FTPI 02072021
 
Thailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSCThailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSC
 
Exponential innovation next10: 2021
Exponential innovation next10: 2021Exponential innovation next10: 2021
Exponential innovation next10: 2021
 
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap
 
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next level
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next levelThailand Innovation Road map: Transforming your business to Next level
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next level
 
Exponential innovation next10 2020 Update June
Exponential innovation next10 2020 Update JuneExponential innovation next10 2020 Update June
Exponential innovation next10 2020 Update June
 
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next level
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next levelThailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next level
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next level
 
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformation
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation TransformationAIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformation
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformation
 
Innovation & Waste Transformation
Innovation & Waste TransformationInnovation & Waste Transformation
Innovation & Waste Transformation
 
Innovation and Farm Transformation March 2020
Innovation and Farm Transformation March 2020Innovation and Farm Transformation March 2020
Innovation and Farm Transformation March 2020
 
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation
NBTC 03122019 : Innovation and Digital TransformationNBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation
 
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation :
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation : NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation :
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation :
 

Idig ericsson 20100902 by pantapong

  • 1.
  • 2. Innovation on demand :: SPARK IDEA พันธพงศ์ ตังธีระสุนนท์ ! ั ผูจดการโครงการ ้ ั สํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ 2 กันยายน 2553 2
  • 3. วันที@ 1 กันยายน 2553 16:00 น. 920.11 | +6.92 31.47 18,450 2 กันยายน 2553 3
  • 14. การสรรหาคนมาร่วมงาน คน การมอบหมายหน้าที@ให้คนทํางาน การประเมินทรัยากรมนุษย์ในปั จจุบนและอนาคต การเรียนรูแบบการฝึ กโดยงาน ้ ั การเรียนรูโดยฝึ กอบรม ้ กับ ความสามารถ ทักษะ | ทัศนคติ | องค์ความรู ้ การทํางานร่วมกันได้อย่างดี แหล่งที@มาของนวัตกรรม ความใหม่ของสินค้า ของ คูคาทางธุรกิจ | พนักงาน | ฝ่ ายขาย | คู่แข่ง ้ ้ นวัตกรรมแบบเปิ ด | นวัตกรรมแบบปิ ด การจัดการความคิดสร้างสรรค์ 2 กันยายน 2553 14
  • 15.
  • 16. หัวข้อการนําเสนอ โลกที@เปลี@ ยนไป (ทําไมต้องนวัตกรรม?) การสร้างสรรค์และนวัตกรรม แหล่งที@มาของนวัตกรรม | Creativity | TRIZ | New Knowledge | Customers | Early Adopter | Designomics | R&D TRIZ กุญแจสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม Workshop : New Product Development Using TRIZ 2 กันยายน 2553 16
  • 17. บริบทที@เปลี@ ยนไปของโลกในระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ การจัดการ “ทรัพยากร” การจัดการ “เวลา” ให้มี “ประสิทธิภาพ” 2 กันยายน 2553 17
  • 18. เกิดอะไรขึ! นในโลกใบนี! ? iPed-ประเทศจีน iPad-Apple 2 กันยายน 2553 18
  • 19. The 50 Most Innovative Companies 2010 # Note: No Thai Company 2 กันยายน 2553 19
  • 20. The 50 Most Innovative Companies 2010 2 กันยายน 2553 20
  • 21. Give and Take 2 กันยายน 2553 21
  • 22. การสร้างสรรค์กบ ั นวัตกรรม 2 กันยายน 2553 22
  • 23. นิ ยาม การสร้างสรรค์คือ กระบวนการ (การจินตนาการ การคิด การสร้างสรรค์) ในการสร้างแนวคิ ดใหม่ สิ@ งประดิษฐ์คือ การนํ าแนวคิดใหม่ไปสร้าง สิ@ งใหม่จากองค์ความรูที@มีอยู่ (สิ ทธิบตร) ้ ั นวัตกรรมคือ การต่อยอดแนวคิดใหม่ ไปสร้างให้เกิดขึ! น จริง การนํ าไปใช้และต้องขายได้ในเชิงพาณิ ชย์ 2 กันยายน 2553 23
  • 24. นิ ยาม การสร้างสรรค์คือ กระบวนการ (การจินตนาการ การคิด) ในการสร้างแนวคิ ดใหม่ การจินตนาการ เป็ นการสร้างภาพจากประสบการณ์ เดิมที@เคยเจอโดยสามารถเล่าออกมาเป็ นฉากๆ การคิด การประมวลผล การแสดงความคิดเห็น ไตร่ตรองเพื@อหาข้อสรุป และยังเป็ นการจัดการข้อมูล ในสมองเมื@อได้รบข้อมูลที@เหมาะสม ั 2 กันยายน 2553 24
  • 25. นิ ยาม การสร้า งสรรค์ การขยายขอบเขตทางความคิ ด จาก กรอบความคิ ดเดิ มที@ มีอยู่ให้ออกเป็ นความคิ ดใหม่ๆ ที@ แตกต่างและไม่มีมาก่อน เพื@อแก้ปัญหาหรือหาคําตอบที@ ดีที@สุด สิ@ ง ประดิ ษ ฐ์คื อ การนํ า แนวคิ ด ใหม่ ไ ปสร้า ง สิ@งใหม่จากองค์ความรูที@มีอยู่ (สิทธิบตร) ้ ั นวัตกรรมคือ .......... ??? 2 กันยายน 2553 25
  • 26. นวัตกรรม (Innovation): สิ@งใหม่ท@ีเกิดจาก การใช้ความรูและความคิดสร้างสรรค์ ้ ที@มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม 2 กันยายน 2553 26
  • 27. นวัตกรรม คือ การเปลี@ ยนแปลงและ ความท้าทายที@จะ ก้าวข้ามข้อจํากัดเดิมๆ 2 กันยายน 2553 27
  • 28. นวัตกรรม. ความท้ายทายจากสภาพปั จจุบนั โดยการหลอมรวมกันของ และ เพื@อสร้างสรรค์มลค่าใหม่. ู 2 กันยายน 2553 28
  • 29. นวัตกรรม. ความท้ายทายจากสภาพปั จจุบน ั โดยการหลอมรวมกันของ ศิลปะ และ วิทยาศาสตร์ เพื@อสร้างสรรค์มลค่าใหม่. ู 2 กันยายน 2553 29
  • 30. นวัตกรรม. ความท้ายทายจากสภาพปั จจุบนั โดยการหลอมรวมกันของ ตรรกะ และ อารมณ์ เพื@อสร้างสรรค์มลค่าใหม่. ู 2 กันยายน 2553 30
  • 31. นวัตกรรม. ความท้ายทายจากสภาพปั จจุบน ั โดยการหลอมรวมกันของ สิ@งใหม่ และ สิ@งเก่า เพื@อสร้างสรรค์มลค่าใหม่. ู 2 กันยายน 2553 31
  • 32. นวัตกรรม. ความท้ายทายจากสภาพปั จจุบนั โดยการหลอมรวมกันของ ภายใน และ ภายนอก เพื@อสร้างสรรค์มลค่าใหม่. ู 2 กันยายน 2553 32
  • 34. นวัตกรรม คือ การพัฒนาความ อยากรูอยากเห็นให้อยู่ในความ ้ เชื@อที@มีผลต่อพฤติกรรม 2 กันยายน 2553 34
  • 35. ทําไมเรายังทําตัว เหมือนอย่างไดโนเสาร์? 2 กันยายน 2553 35
  • 39. ความอยากรูและ ้ ประสบการณ์แปลกใหม่ 2 กันยายน 2553 39
  • 40. สร้างลักษณะเฉพาะ ของนวัตกรรมเข้าไป อยู่ในองค์กร 2 กันยายน 2553 40
  • 42. การหลอมรวม ความอยากรู ้ รูปแบบ วัฒนธรรม ความกล้าหาญ 2 กันยายน 2553 42
  • 44. ประเภทของนวัตกรรม ผลิ ตภัณฑ์ กระบวนการหรือการบริการ ระดับความใหม่ นวัตกรรมนันมาจากไหน ! ผลตอบแทนที@คาดหวัง และ ต้องมีการใช้งาน 2 กันยายน 2553 44
  • 45. ผลิ ตภัณฑ์ กระบวนการหรือการบริการ ผลิ ตภัณฑ์ เป็ นสิ นค้าใหม่ โดยเฉพาะสิ นค้า อุปโภคบริโภค เป็ นสิ@ งของที@สามารถจับ ต้องได้ เช่น iPhone4 | iPad 2 กันยายน 2553 45
  • 46. ผลิ ตภัณฑ์ กระบวนการหรือการบริการ กระบวนการหรือการบริการ เป็ นการเปลี@ ยนระบบ รูปแบบที@แตกต่างจากเดิม การคิดค้นกระบวนการ ผลิ ตใหม่ การเปลี@ ยนลําดับขันตอนการทํางานใหม่ ! 2 กันยายน 2553 46
  • 47. ระดับความใหม่ ใหม่ระดับ ใหม่ระดับ ใหม่ระดับ ใหม่ระดับ ใหม่สําหรับ ใหม่ระดับโลก องค์กร อุตสาหกรรม ประเทศ ภูมิภาค อุตสาหกรรมอื@น เป็ นครังแรกที@ ! มีการใช้ 2 กันยายน 2553 47
  • 48. ระดับความใหม่ องค์ประกอบ ระบบ ผลตอบแทน component system benefits Incremental: เปลี@ยนแปลงให้ดีข! ึน บางอย่าง Modular: สร้างองค์ประกอบใหม่ Architectural: พัฒนาองค์ประกอบ ให้ดีข! ึน Radical: สร้างองค์ประกอบใหม่ 2 กันยายน 2553 48
  • 49. ระดับความใหม่ Architectural component system 3 1 2 Modular Incremental 2 กันยายน 2553 component system 49
  • 50. the world's first MP3 player ระดับความใหม่ 1st ipod |5/10G Eiger Labs MPMan F10 | 32M Rio PMP300 US $200 2 กันยายน 2553 Radical 50
  • 51. ระดับความใหม่ Modular Incremental 2 กันยายน 2553 51
  • 52. ระดับความใหม่ การปรับปรุง | ประสิทธิภาพ Radical | นวัตกรรมที@สร้างความ นวัตกรรม แตกต่างอย่างสิ!นเชิง | ความใหม่ | Incremental | Modular วิวฒนาการ ั นวัตกรรมส่วนเพิ@ม เวลา 2 กันยายน 2553 52
  • 53. ผลตอบแทนที@คาดหวัง จากนวัตกรรม 2 กันยายน 2553 53
  • 54. ผลตอบแทนที@คาดหวังจากนวัตกรรม (1) Economic Efficiency: ผลตอบแทนเศรษฐกิจ รวยขึ! น Competitiveness: การแข่งขันได้ Reducing production costs—new elements Reducing lifecycle costs Improve Quality of output: คุณภาพที@เพิ@มสูงขึ! น Better quality of goods and services Add new functions / attribute 2 กันยายน 2553 54
  • 55. ผลตอบแทนที@คาดหวังจากนวัตกรรม (2) New Products/Services: สิ นค้าและบริการใหม่ Diversify products / services New markets New industries Quality of Life: คุณภาพชีวิตที@ดีข! ึ น Availability of goods and services Overall quality of goods and services Conservation of natural resources and environment Better health and safety of people 2 กันยายน 2553 55
  • 56. นวัตกรรม ความแตกต่าง 2 กันยายน 2553 สินค้า การตลาด 56
  • 58. กระบวนการของนวัตกรรม Ralph Katz, Managing Creativity and Innovation, Harvard Business Essentials Series การก่อเกิด การรับรูถึง ้ การออกสู่ การพัฒนา ความคิดใหม่ โอกาส เชิงพาณิ ชย์ การประเมิน ความคิด 2 กันยายน 2553 58
  • 59. การรับรูถึงโอกาส ้ 2 กันยายน 2553 59
  • 61. ธรรมชาติของนวัตกรรม Innovation Cash Flow X Months or Years Market distribution (Diffusion) + Development competitors Evolution Cash flow Design Time Early adoption [maybe] _ Bathtub Curve & Valley of Death Obsolete Singh Intrachooto, Ph.D. Head of Building Innovation and Technology Program Kasetsart University Architecture, Bangkok, Thailand 2 กันยายน 2553 61
  • 62. Technology Adoption is Accelerating How long does it take to get to 50 million users? Phone 74 years Radio 38 years PC 16 years TV 13 years Internet 2 years Blogs 1 year 2 กันยายน 2553 62
  • 63. แหล่งที@มาของนวัตกรรม การสร้างสรรค์และเครื@องมือ TRIZ | Brainstorms ความรูใหม่ ้ การใช้ประโยชน์จากความคิดของลูกค้า การเรียนรูจากกลุ่มผูใช้หวก้าวหน้า ้ ้ ั การออกแบบที@เข้าถึงใจคน ฝ่ ายวิจยและพัฒนา และทีมงานเฉพาะกิจ ั 2 กันยายน 2553 63
  • 64. Creativity Tool เครื@องมือสําหรับ การคิดเชิงระบบ การคิดเชิงจิตวิทยา TRIZ การระดมสมอง (Methodology + Mind Map knowledge base) 2 กันยายน 2553 64
  • 65. การสร้างสรรค์ กับ นวัตกรรม 2 กันยายน 2553 65
  • 66. การสร้างสรรค์ เหมือนกันไหม วิทยาศาสตร์ ศิลป ตรรกะ สวยงาม คณิ ตศาสตร์ ลายเส้น 2 กันยายน 2553 66
  • 67. การสร้างสรรค์ การสร้างสรรค์ เกิดขึMนตรงไหนบ้าง ั@ การสร้างสรรค์พบได้ทวไป : ในงานศิลปะ งานบันเทิง งานธุรกิจ ใน คณิ ตศาสตร์ ในวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม การแพทย์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การสร้างสรรค์ตองมีเงื@อนไข 3 อย่าง POM | ความเป็ นส่วนตัว personality ้ | ความเป็ นสิ@งแรก originality | การมีความหมาย meaning การสร้างสรรค์ ในแง่ ศิลป คล้ายกับช่วงความรูสึกที@อิสระของงานออกแบบ ้ การประดิษฐ์และ ความฝัน แต่ ในแง่ วิทยาศาสตร์ การค้นหาเข้าถึงความ จริงเพื@อพิสจน์องค์ความรูต่างๆ ู ้ 2 กันยายน 2553 The Creative Economy, John Howkins 67
  • 68. การสร้างสรรค์ ศาสนาพุทธ : การเกิดปั ญญามาจาก ศีล | สมาธิ |ปั ญญา บางครัง ! “การสร้างสรรค์ มาพร้อมกับความรูสึกที@มีสติสงผิดปกติ” ้ ู หรือจะมองต่างออกไปว่า “การสร้างสรรค์ คล้ายกับการสูญเสียการควบคุมสติและ ล่องลอยในอากาศราวกับความฝัน” 2 กันยายน 2553 The Creative Economy, John Howkins 68
  • 69. การสร้างสรรค์ ความเป็ นส่วนตัว personality ความเป็ นปั จเจกบุคคล มนุษย์เท่านันที@สามารถสร้างสรรค์ได้ ! เครื@องจักรจะมีสติในการสร้างสิ@ งใหม่ได้ไหม เขาทําได้แค่การผลิ ตได้ แต่สร้างไม่ได้ “คอมพิวเตอร์เป็ นสิ@งไร้ค่า มันให้ได้แค่คําตอบเท่านัน”! 2 กันยายน 2553 The Creative Economy, John Howkins 69
  • 70. การสร้างสรรค์ ความเป็ นสิ@ งแรก originality การสร้างสรรค์ตองเป็ นสิ@ งต้นแบบ สิ@ งใหม่ ้ “บางสิ@ งที@เกิดจากความไม่มี” | “สร้างจากความไม่มี” การเป็ นสิ@ งแรกนันต้อง ไม่มีมาก่อน คือ ความใหม่ ! แตกต่าง คือ ความเป็ นเอกลักษณ์ ความเป็ นเอกลักษณ์ นันเคย เป็ นสิ@งใหม่ ! แต่ส@ิ งใหม่ บางครังก็ไม่มีเอกลักษณ์เอาเสี ยเลย ! 2 กันยายน 2553 The Creative Economy, John Howkins 70
  • 71. การสร้างสรรค์ การมีความหมาย meaning การสร้างสรรค์ตองมีความหมาย ไม่ว่าจะเป็ น ้ ความหมายส่วนตัวหรือความหมายเล็ กๆ ความหมาย สื@ อถึง ความเป็ นเฉพาะกลุ่ม คณะ ซึ@งการ สร้างสรรค์อย่างไรก็ตองมีความหมาย ้ 2 กันยายน 2553 The Creative Economy, John Howkins 71
  • 72. การสร้างสรรค์ การสร้างสรรค์เฉยๆ นันไม่มีมลค่าทางเศรษฐกิจ ! ู ต้องนําการสร้างสรรค์นนมา แปรรูป รังสรรค์ ั! จนมันกลายเป็ น ผลิ ตภัณฑ์ | บริการ | กระบวนการ ซึ@งจะสามารถกําหนดราคาอย่างมีเหตุมีผล จนเกิดการ แลกเปลี@ยน ทําการซื!อ การขาย เกิดเป็ น มูลค่าทางเศรษฐกิจออกมา 2 กันยายน 2553 The Creative Economy, John Howkins 72
  • 73. Creative Education องค์ความรู ้ การคิดเชิงสร้างสรรค์ ความเชี@ยวชาญ ความรู ้ แนวทางในการแก้ปัญหา ความเข้าใจในประเด็นที@ หรือจินตนาการของ ต้องการสร้างสรรค์ แต่ละบุคคล การสร้างสรรค์ creativity แรงจูงใจ ความสนใจ ความหลงใหลใน 2 กันยายน 2553 งานที@ตองการสร้างสรรค์ ้ 73
  • 75. องค์ความรู ้ Is too much knowledge a bad thing? (Weisberg, 1999) Foundation view Tension view Creativity Creativity Knowledge Knowledge 2 กันยายน 2553 75
  • 84. TRIZ กุญแจสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 2 กันยายน 2553 84
  • 85. Accelerate innovation with TRIZ a Catalyst of innovation Theory of inventive The theory of inventor's problem solving Innovation tool 2 กันยายน 2553 85
  • 86. อะไรคือ “TRIZ” ? Теория решения изобретательских задач Teoriya Resheniya Izobretatelskikh Zadatch ความหมายคือ “Theory of Inventive Problem Solving” หรือ เรากําลังพูดถึงวิธีแก้ปัญหาในการ ประดิษฐ์คิดค้นแบบ รัสเซีย 2 กันยายน 2553 86
  • 87. New Product Development using TRIZ technique contradiction Patent circumvention Cost reduction / Productivity System/Process improvement Product improvement Technical forecasting (S-curve) 2 กันยายน 2553 87
  • 88. “ประวัติ TRIZ” พัฒนาและคิดค้นโดย เกนริค อัลชูลเลอร์ และคณะ โดยการวิเคราะห์สิทธิบตรกว่า 3 ล้านฉบับ ั ความคิดสร้างสรรค์เป็ นสิTงทีสามารถ T เรียนรูกนได้หรือไม่ ? ้ ั 2 กันยายน 2553 88
  • 90. ตัวอย่าง : รูปแบบการประดิษฐ์คิดค้น ปั ญหา : ช่วยกันหาวิธีในการปองกันไม่ให้ผิวนอก ้ ของเรือไฮดรอฟลอยด์นนถูกทําลาย กัดกร่อน ั! 2 กันยายน 2553 90
  • 94. การพัฒนานวัตกรรมด้วย TRIZ สังเคราะห์ระบบ ระบุปัญหา / ระบบของปั ญหาคืออะไร ความเป็ นอุดมคติ ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติ วิเคราะห์ปัญหา Ideal Final Result, IFR พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ คและกายภาพ วิเคราะห์ปัญหา @ การปฏิบติ ั ค้นหาคําตอบทัวไปและลงมือทํา 2 กันยายน 2553 94
  • 95. ระบุปัญหา / ระบบของปั ญหาคืออะไร ปั ญหาและระบบ TRIZ มองปั ญหาอย่างเป็ นระบบ 2 กันยายน 2553 95
  • 96. การระบุปัญหา ปากกาไม่สามารถเขี ยนอวกาศได้ การแก้ปัญหานี! NASA ใช้เวลา 10 ปี และ ใช้เงินมูลค่า 12 ล้านดอลลาร์ (480 ล้านบาท) ปากกาที@สามารถใช้งานได้ที@แรงโน้มถ่วงเป็ น 0 เขี ยนแบบควําหรือเขี ยนที@ใต้นํ!า @ เขี ยนที@อุณหภูมิช่วงตํากว่าจุดเยื อกแข็ งจนถึงที@ @ มากกว่า 300 องศาเซลเซียส ปั ญหาที@แท้จริงคืออะไร! ? 2 กันยายน 2553 96
  • 98. ระบบคืออะไร? อินพุท ระบบทางเทคนิ ค เอาต์พุท 2 กันยายน 2553 98
  • 99. ระบบคืออะไร? เมื@อกล่าวถึงระบบทางเทคนิ คประกอบด้วย “กลไก/อุปกรณ์” สําหรับทําหน้าที@หรือ เป็ นสื@ อกลางเพื@อ ทําหน้าที@อะไรบางอย่าง จะต้องมี “เปาหมาย” ในการทําหน้าที@ของเขา ้ 2 กันยายน 2553 99
  • 100. TRIZ TRIZ มองปั ญหาอย่างเป็ นระบบ (System approach) TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานัน จะไม่ยึดติดอยู่กบ ! ั เหตุการณ์ที@เกิดเฉพาะเท่านัน แต่จะมองอย่างเป็ น ! ระบบ ซึ@งระบบนันอาจประกอบขึ! นจาก ! ระบบส่วนบน และ ระบบส่วนล่าง ซึ@งต้องมองให้ออกว่าแก่นของสภาพปั ญหาอยู่ระดับ ไหนของระบบ 2 กันยายน 2553 100
  • 101. ระบบคืออะไร? ระบบทางเทคนิ ค ระบบย่อย ระบบขนส่ง ระบบความปลอดภัย 2 กันยายน 2553 101
  • 102. ตัวอย่าง มองปั ญหาอย่างเป็ นระบบ การแก้ปัญหาความปลอดภัยของระบบการขนส่ง ระบบการบังคับเลี!ยว คือ การพัฒนาระบบเซนเซอร์ในการ ตรวจสอบและประเมินอันตรายที@เกิดขึ!น เพื@อนําไปประมวลและ เข้าควบคุมระบบบังคับเลี!ยวโดยตรง ระบบการเบรค คือ การพัฒนาระบบเบรคให้ลงลึงเข้าไปใน อนุภาคของผ้าเบรคให้มีคณภาพดีข! ึน ุ ระบบเครื@องยนต์ คือ การพัฒนาเครื@องยนต์ที@สามารถควบคุม ความเร็วในการขับขี@ได้ เป็ นต้น 2 กันยายน 2553 102
  • 103. TRIZ TRIZ เข้าใจฟั งก์ชนของระบบ (Function approach) ั TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานัน ต้องรูหน้าที@ ! ้ การทํางาน หรือ ฟั งก์ชน Function ั ฟั งก์ชนหลัก ที@เป็ นประโยชน์ของระบบ ั ฟั งก์ชนที@ไม่เป็ นประโยชน์ ั ฟั งก์ชนที@ควรมีในระบบ แต่หายไป ั 2 กันยายน 2553 103
  • 104. TRIZ TRIZ เข้าใจทรัพยากรในระบบ (Resource approach) TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานัน ต้องพิจารณาทรัยากรที@ ! มีอยู่ในระบบ วัสดุ เวลา ฟั งก์ชน พลังงาน ข้อมูล ั 2 กันยายน 2553 104
  • 105. ความเป็ นอุดมคติ ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติ Ideal Final Result, IFR ความเป็ นอุดมคติ ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติท@ีตองการ ้ Ideal Final Result 2 กันยายน 2553 105
  • 106. Law of ideality? กฎความเป็ นอุดมคติ คืออะไร เมื@อกล่าวถึงระบบทางเทคนิ ค จะต้องมี “กลไก/อุปกรณ์” สําหรับทําหน้าที@หรือ เป็ นสื@อกลาง เพื@อทําหน้าที@อะไรบางอย่าง จะต้องมี “เปาหมาย” ในการทําหน้าที@ของเขา ้ อินพุท ระบบทางเทคนิ ค เอาต์พุท พลังงาน กลไก #1 เปาหมาย ้ ต้นทุน กลไก #2 ผลตอบแทน 2 กันยายน 2553 106
  • 107. กฎความเป็ นอุดมคติ กฎความเป็ นอุดมคติ Law of ideality คือ ความเป็ นไปได้ ในเหตุการณ์หรือผลลัพธ์ของระบบที@ดีที@สด สําหรับการ ุ แก้ปัญหานันๆ! โดยไม่คํานึ งถึง ทรัพยากร หรือ เงื@อนไขต่างๆ ของปั ญหา Ideal Final Result ,IFR คือ เปาหมายหรือผลลัพท์สุดท้ายในอุดมคติที@ตองการ ้ ้ 2 กันยายน 2553 107
  • 108. กฎความเป็ นอุดมคติ แนวคิดเรื@อง “Ideal Machine” เป็ นแนวคิดที@ตองการวาดฝันแบบสุดโต่งและ ้ วาดเปาหมายสูงสุด ผลลัพธ์สุดท้าย ของ ้ การวิวฒนาการระบบ ั การไม่ตองมี Machine แต่สามารถบรรลุเปาหมายได้ ้ ้ การไม่ตองใช้ทรัยากร แต่ Machine ยังสามารถทําตาม ้ หน้าที@ของเขาได้ 2 กันยายน 2553 108
  • 109. กฎความเป็ นอุดมคติ Michael A. Orloff : 2 กันยายน 2553 Inventive Thinking through TRIZ 109
  • 110. วิวฒนาการของระบบสู่ความเป็ นอุดมคติ? ั Michael A. Orloff : 2 กันยายน 2553 Inventive Thinking through TRIZ 110
  • 111. กฎความเป็ นอุดมคติ แก้ปัญหาในเรื@อง พื!นที@ โดยทําให้ ประโยชน์ในการใช้ สามารถซ้อนกันได้ ซํามากขึ!น เนื@ องจาก ! ขณะใช้งานเสร็จแล้ว ปั ญหาทางด้าน ทรัพยากรที@มีจํากัด และความแข็งแรง ทนทาน 2 กันยายน 2553 111
  • 112. พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ 2 กันยายน 2553 112
  • 113. พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค ความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค กับหลักการ 40 ข้อในการประดิษฐ์คิดค้น ตัวอย่างความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค ระบบเทคนิ ค ความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค เครื@องจักร อุปกรณ์ทางกล เมื@อเพิ@มความแข็งแรง นํ!าหนักจะเพิ@มขึ!น รถไฟ รถยนต์ เครื@องบิน เมื@อเพิ@มความเร็ว @ การสันสะเทือนจะมากขึ!น วงจรไฟฟา ้ เมื@อเพิ@มความเร็วการสวิตชิ@ง 2 กันยายน 2553 ทําให้สญญาณรบกวนมากขึ!น ั 113
  • 114. พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค 3 ขันตอนในการแก้ปัญหา ! วิเคราะห์ระบบทางเทคนิ ค ระบุขอขัดแย้งทางเทคนิ ค ้ แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิ ค 2 กันยายน 2553 114
  • 115. พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค วิเคราะห์ระบบทางเทคนิ ค เพื@อกําหนดลักษณะสมบัติของระบบ ลักษณะสมบัติของระบบ คือ ค่าทางกายภาพหรือคุณสมบัติที@ ต้องการปรับปรุง เช่น นํ!าหนัก ขนาด สี ความเร็ว ความ แข็ งแรง ปริมาตร อุณหภูมิ ความแม่นยํา แรงดึง แรงดัน อันตรายจากระบบ ความสะดวกในการใช้งาน พื!นที@ … สุดท้ายก็คือ สมบัติความขัดแย้งทัง 39 ข้อของระบบทาง ! 2 กันเทคนิ ค ยายน 2553 115
  • 116. ลักษณะสมบัติของระบบ 1. นํ!าหนักของวัตถุซึ@งเคลื@อนที@ 19. พลังงานที@ ใช้ไปโดยวัตถุซึ@งเคลื@อนที@ 2. นํ!าหนักของวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@ 20. พลังงานที@ ใช้ไปโดยวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@ 3. ความยาวของวัตถุซึ@งเคลื@อนที@ 21. กําลัง 4. ความยาวของวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@ 22. การสูญเสียไปของพลังงาน 23. การสูญเสียไปของสสาร 5. พื!นที@ของวัตถุซึ@งเคลื@อนที@ 24. การสูญเสียไปของข้อมูล 6. พื!นที@ของวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@ 25. การสูญเสียไปของเวลา 7. ปริมาตรของวัตถุซึ@งเคลื@อนที@ 26. จํานวนของสสาร 8. ปริมาตรของวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@ 27. ความน่ าเชื@ อถือ 9. ความเร็ว 28. ความแม่นยําของการวัด 10. แรง 29. ความแม่นยําของการผลิต 11. แรงดึง แรงดัน 30. ปั จจัยอันตรายซึ@งกระทําต่อวัตถุ 12. รูปร่าง 31. ปั จจัยอันตรายที@ตามมา 32. ความสามารถในการผลิต 13. เสถียรภาพของวัตถุ 33. ความสะดวกในการใช้ 14. ความแข็งแรง 34. ความสะดวกในการเก็บรักษา 15. ความทนทานของวัตถุซึ@งเคลื@อนที@ 35. ความสามารถในการปรับตัวได้ 16. ความทนทานของวัตถุซึ@งไม่เคลื@อนที@ 36. ความซับซ้อนของอุปกรณ์ 17. อุณหภูมิ 37. ความซับซ้อนของการควบคุม 18. ความสว่าง 38. ระดับของความอัตโนมัติ 2 กันยายน 2553 39. ผลิตภาพ 116
  • 119. ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค การแก้ปัญหาหลอดไฟ T8 ไม่ให้ฝุ่นเกาะ วิเคราะห์ระบบทางเทคนิ ค วิเคราะห์ระบบทางเทคนิ ค แบบฟอร์ม P1 การสร้างสูตรของลักษณะสมบัติที@จะปรับปรุง ระบุชื@อของระบบทางเทคนิ ค :: การลดฝุ่ นละอองที@เกาะอยู่บนผิ วหลอดไฟ กําหนดเปาหมายของระบบทางเทคนิ ค (ระบบได้รบการออกแบบมาเพื@อ) ้ ั เพื@อลดปั ญหาฝุ่ นที@จะเกาะบนผิ วหลอดไฟ รายชื@ อส่วนประกอบของระบบทางเทคนิ คและหน้าที@การทํางานของระบบ ชื@อส่วนประกอบ หน้าที@การทํางาน หลอดไฟ เป็ นตัวกลางให้แสงสว่าง เส้นหลอด ขัวหลอดและขารับหลอด ยึดหลอดไว้บนเพดาน ! สารเคลือบหลอด เพิ@มความสว่างของหลอดไฟ ก๊าซเฉื@ อย 2 กันยายน 2553 119
  • 120. ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค บรรยายการทํางานของระบบทางเทคนิ ค กระแสไฟฟาจะกระตุนอะตอมของสารปรอท ให้อยู่ในสภาวะกระตุนและจะปลดปล่อย ้ ้ ้ พลังงานออกมาในรูปของแสง ซึ@งหลอดไฟก็เกิดไฟฟาสถิตย์จึงทําให้ฝุ่นละอองมาเกาะ ้ และทําให้แสงสว่างลดลงและต้องทําความสะอาดบ่อยครัง ! กําหนดลักษณะสมบัติท@ีควรได้รบการปรับปรุงหรือขจัดทิ!งไป ั ปรับปรุงสภาพผิ วหลอดไฟ ต้องการขจัดและลดปั ญหาการเกาะของฝุ่ นละอองในอากาศ ที@เป็ นผลร้ายจากสิ@งแวดล้อม 2 กันยายน 2553 120
  • 121. พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค ระบุขอขัดแย้งทางเทคนิ ค ้ ลักษณะของวัตถุบางอย่างจะลดลงเมื@อมีการปรับปรุงหรือ เปลี@ ยนแปลงลักษณะสมบัตินึง ระบุขอขัดแย้งให้ชดเจน ้ ั โดยสามารถมองออกมาเป็ น scenario#1,2,3… ซึ@งเป็ นการ ระบุค่ความขัดแย้งที@สามารถหาได้ในระบบหรือปั ญหา ู 2 กันยายน 2553 121
  • 122. ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค แบบฟอร์ม P2 การสร้างสูตรของความขัดแย้งทางเทคนิ ค ระบุขอขัดแย้งทางเทคนิ ค ระบุขอขัดแย้งทางเทคนิ ค รายการที@ 1 การระบุลกษณะสมบัติเชิงบวกที@ควรได้รบการปรับปรุง ั ั ลักษณะสมบัติ ความสว่าง ปั จจัยอันตรายจากภายนอก (ฝุ่ นละอองที@เกาะบนผิ ว) ้้ ระบุวิถีปกติที@ใช้ในการปรับปรุงลักษณะสมบัติ หาอุปกรณ์มาครอบเอาไว้ ทํา ความสะอาดเป็ นประจํา ระบุลกษณะสมบัติท@ีดอยลงเมื@อตกอยู่ในเงื@อนไข 1b ั ้ ความสว่าง รูปร่าง เสถียรภาพองค์ประกอบ สร้างสูตรความขัดแย้งทางเทคนิ คดังต่อไปนี! 2 กันยายน 2553 122
  • 123. พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิ ค ในขันตอนนี! ใช้ตารางความขัดแย้งมาช่วยในการหาแนว ! ทางการแก้ปัญหา และ ช่วยแก้ขอขัดแย้งทางเทคนิ ค ้ โดยการใช้ TRIZ หลักการ 40 ข้อ มาช่วยตอบปั ญหา 2 กันยายน 2553 123
  • 124. TRIZ 40 หลักการ หลักการ หลักการ 1 แบ่งส่วน (segmentation) 21 กระทําอย่างว่องไว (rushing through) 2 สกัดออก (extraction) 22 เปลียนวิกฤติให้เป็ นโอกาส (convert harm into benefit) T 3 ลักษณะเฉพาะ (local quality) 23 ปอนกลับ (feedback) ้ 4 ไม่สมมาตร (asymmetry) 24 ตัวกลาง (mediator) 5 รวมกัน (consolidation) 25 บริการตัวเอง (self service) 6 อเนกประสงค์ (universality) 26 เลียนแบบ (copying) 7 ซ้อนกัน (nesting) 27 ใช้แล้วทิMง (dispose) 8 คานนํMาหนัก (counterweight) 28 แทนระบบเชิงกล (replacement of mechanical system) 9 กระทําการต้านทานก่อน (prior counter-action) 29 ใช้ระบบนิวเมติคหรือไฮดรอลิค (pneumatic or hydraulic 10 กระทําก่อน (prior action) construction) 11 ปองกันไว้ก่อน (cushion in advance) ้ 30 เยือยืดหยุนและฟิ ลม์บาง (flexible membranes or thin T ่ 12 ศักยภาพเท่ากัน (equipotentiality) films) 13 ทํากลับทาง (do it in reverse) 31 วัสดุรูพรุน (porous material) 14 ทรงกลม (spheroidality) 32 เปลียนสี (changing of colour) T 15 พลวัต (dynamicity) 33 เนืMอเดียว (homogeneity) 16 กระทําบางส่วนหรือมากกว่า 34 ใช้ชM ินส่วนทีสลายและเกิดใหม่ (rejecting and T (partial or excessive action) regenerating part) 17 แปลงสู่มิตใหม่ (transition into a new dimension) ิ 35 เปลียนลักษณะสมบัติ (transformation of the properties) T 18 สัTนเชิงกล (mechanical vibration) 36 แปลงสถานะ (phase transition) 19 กระทําเป็ นจังหวะ (periodic action) 37 ขยายตัวด้วยความร้อน (thermal expansion) 20 กระทําต่อเนืTองทีเป็ นประโยชน์ T 38 เติมอากาศอย่างรวดเร็ว (accelerated oxidation) (continuity of useful action) 39 สภาพแวดล้อมเฉีTอย (inert environment) 2 กันยายน 2553 40 วัสดุคอมโพสิท (composite materials) 124
  • 125. ตารางแมทริกซ์ความขัดแย้ง 40 ,26, 32,35, 27,1 19 2 กันยายน 2553 125
  • 126. ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค สร้างสูตรความขัดแย้งทางเทคนิ คดังต่อไปนี! แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิ ค แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิ ค Scenario #1 ปั จจัยอันตราย (30): เสถียรภาพขององค์ประกอบ (13) @ 18 (สันเชิงกล), 24 (ตัวกลาง), 30 (ฟิ ลม์บาง), 35 (แปลงลักษณะสมบัติ) Scenario #2 ความสว่าง (33): รูปร่าง (12) 30 (ฟิ ลม์บาง), 32 (เปลี@ยนสี) Scenario #3 ปั จจัยอันตราย (30): ความสว่าง (18) 1 (แบ่งส่วน), 13 (กลับทาง), 19 (กระทําเป็ นจังหวะ), 32 (เปลี@ยนสี) วิเคราะห์หลักการดังกล่าว หลักการที@ 18 สันเชิงกล กับ 19 กระทําเป็ นจังหวะ ใช้ประโยชน์จากการแกว่ง @ ความถี@ การสันสะเทือนเป็ นจังหวะ เพื@อลดการเกาะติดของฝุ่ นละออง @ 2 กันยายน 2553 126
  • 127. ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิ ค วิเคราะห์หลักการดังกล่าว หลักการที@ 24 การใช้ตวกลางเพื@อลดหรือก่อให้เกิดการกระทํา ซึ@งหมายถึงการเพิ@มฝา ั ครอบที@เป็ นตัวกลางปองกันหลอดซึ@งเป็ นทางเลือกที@ยงไม่ดีเพียงพอในการปรับปรุง ้ ั หลักการที@ 30 การใช้ฟิลม์บาง เป็ นการใช้ฟิลม์บางเพื@อแทนที@โครงสร้างแข็ง โดยอาจ เป็ นการเคลือบผิวนอกเพื@อปองกันการเกิดไฟฟาสถิตย์ ลดการเกาะของฝุ่ นละออง ซึ@ง ้ ้ ใกล้เคียงที@สุดในการนําไปใช้งานจริง ปั จจุบนมีการพัฒนาและคิดค้นการนําสารเคลือบเพื@อใช้ในการลดปั ญหาการเกาะของ ั ฝุ่ นละออง และหลอดจะยังคงความสว่างตามมาตรฐานความสว่างตลอดอายุการใช้ งานของหลอด 2 กันยายน 2553 127
  • 128. TRIZ 40 หลักการ #1 แบ่งส่วน segmentation ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง ขนาดของระบบที@ใหญ่เกินไปทําให้ การทํางานของระบบไม่มีประสิ ทธิภาพ เพื@อลดปั ญหาด้านขนาดและพื!นที@ และเพื@อให้เกิดความ ราบรื@นของระบบสูงขึ! น 2 กันยายน 2553 128
  • 129. TRIZ 40 หลักการ อธิบายหลักการ แบ่งวัตถุออกเป็ นส่วนแยกอิสระส่วนต่างๆ ทําระบบให้ สามารถพับได้ เฟอร์นิเจอร์แบ่งส่วน เพื@อลดความขัดแย้งในด้านพื!นที@ ขนาด ความยาว จัดส่งง่าย สะดวกมากขึ! น การแบ่งส่วนข้อมูลเสี ยงออกเป็ นส่วนๆ เพื@อให้สามารถนํามา วิเคราะห์ส่วนต่างๆ ของสัญญาณเสี ยงแต่ละประเภทได้ 2 กันยายน 2553 129
  • 130. TRIZ 40 หลักการ 2 กันยายน 2553 130
  • 131. TRIZ 40 หลักการ #4 ไม่สมมาตร asymmetry ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง ความสะดวกในการใช้งาน เมื@อเพิ@มความไม่สมาตรแล้วระบบสามารถ ทํางานได้เต็มประสิ ทธิภาพ 2 กันยายน 2553 131
  • 132. TRIZ 40 หลักการ อธิบายหลักการ แทนที@รปแบบปกติให้เป็ นแบบไม่สมมาตร ู ลักษณะใบปั ดนํ!าฝน ที@ลดความขัดแย้งในด้านขนาด และ รูปทรงต่างๆ ความไม่สมมาตร เกิดความสะดวกในการใช้ งาน ระบบจึงทําหน้าได้ดีข! ึ น 2 กันยายน 2553 132
  • 133. TRIZ 40 หลักการ #5 รวมกัน consolidation ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง ความสะดวกในการใช้งาน เมื@อเพิ@มความหน้าที@ของระบบ ให้สามารถทํางานได้เต็มประสิ ทธิภาพ 2 กันยายน 2553 133
  • 134. TRIZ 40 หลักการ อธิบายหลักการ เพิ@มหน้าที@การใช้งานใหม่สามารถรวมหน้าที@การใช้งานระบบ Wood plastic composite ที@นําลักษณะเด่นของวัสดุ 2 ชนิ ด ผงไม้ และ พลาสติก Metal composite การรวมกันระหว่าง พลาสติก กับ ผงโลหะ หรือการรวมกันระหว่าง ซิเมนต์ และ พลาสติก เป็ นต้น 2 กันยายน 2553 134
  • 135. TRIZ 40 หลักการ #7 ซ้อนกัน nesting ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง ปริมาตร หรือ พื!นที@ในการจัดเก็บที@จากัด ํ ความรวดเร็วในการนํ ามาใช้งาน สามารถตังในพื!นที@เดียวกัน ! 2 กันยายน 2553 135
  • 136. TRIZ 40 หลักการ อธิบายหลักการ ใส่วตถุซอนเข้าไปในช่องว่างของวัตถุที@ 1 ั ้ การซ้อนกันของบรรจุภณฑ์ ที@ลดความขัดแย้งในด้านพื!นที@ ั จัดเก็บ รวมทังความรวดเร็วในการนําไปใช้งาน ! 2 กันยายน 2553 136
  • 137. TRIZ 40 หลักการ #10 กระทําก่อน prior action ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง บางครังระบบต้องการ ความเร็ว ในการทําหน้าที@บางอย่าง ซึ@ง ! ก่อให้เกิดความสะดวกในการใช้งาน 2 กันยายน 2553 137
  • 138. TRIZ 40 หลักการ อธิบายหลักการ ทําการเปลี@ ยนแปลงที@ตองการกับระบบล่วงหน้า ้ หลอดเก็บเลื อดสุญญากาศ ที@สามารถเพิ@มความรวดเร็ว และ ระดับความเป็ นอัตโนมัติ มากขึ! นในการเก็บเลื อด 2 กันยายน 2553 138
  • 139. TRIZ 40 หลักการ #30 ฟิ ลม์บาง thin film ลักษณะสมบัติ ที@สนใจและเกี@ยวข้อง การปองกันระบบให้พนจากอันตรายจากภายนอก สามารถ ้ ้ อาศัยหลักการนี! มาช่วยได้ 2 กันยายน 2553 139
  • 140. TRIZ 40 หลักการ อธิบายหลักการ นําฟิ ลม์ยืดหยุ่นหรือฟิ ลม์บาง การเคลื อบผิ วเครื@องมือตัด เจาะ เพื@อปองกันการกัดกร่อน ลด ้ แรงเสี ยดทาน 2 กันยายน 2553 140
  • 142. Design + Economics Designomics “เศรษฐกิจบนฐานงานออกแบบ” 2 กันยายน 2553 142
  • 146. เศรษฐกิจบนฐานงานออกแบบ งานออกแบบ นันเป็ น “กาว” ที@คอยประสาน ! เทคโนโลยีท@ียุ่งยากซับซ้อนให้ออกมาดูเรียบง่าย และสอดคล้องกับความต้องการและโดนใจผูใช้ ้ หลายครังที@ งานออกแบบ สามารถสร้างมูลค่า ! ทางธุรกิจได้ดีและยังสามารถสร้างความแตกต่าง ท้ายที@สุดก็นําไปสู่ความได้เปรียบในการแข่งขัน ได้และมีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจเกิดการหมุนเวียน 2 กันยายน 2553 146
  • 148. งานออกแบบ กับ นวัตกรรม “นวัตกรรม ต้องการ งานออกแบบ” เพื@อแก้ปัญหา หรือ ลดข้อจํากัดบางอย่างของสินค้าเดิม หรือ เพื@อแก้ปัญหาในการใช้งานของสินค้าเดิม เพื@อทําให้สินค้านันดีข! ึน ! Design Innovation in Technology Design Innovation in Creativity Design Innovation in Social Design Innovation in Environment 2 กันยายน 2553 148
  • 154. นวัตกรรมวานิ ลลา นวัตกรรมวานิ ลลาคือ “ความเรียบง่ายของการประดิษฐ์ส่ปฏิวติ ู ั รูปแบบการรังสรรค์นวัตกรรม” แนวคิดที@ 1 แบบสุดขีด (extreme) แนวคิดที@ 2 แบบปะติดปะต่อกัน (A+B--->C) แนวคิดที@ 3 แบบพัฒนาสินค้าที@มีความพอดีกบตลาดที@เหมาะสม ั แนวคิดที@ 4 การก้าวข้ามวังวนของการประดิษฐ์ (un-invent cycle) คิดค้น ออกแบบ สร้างต้นแบบ ทดสอบ ปรับปรุง คิดใหม่ ทําอีก สร้างเพิ@ม ทดสอบ 2 กันยายน 2553 154
  • 155. “ไม่มีทางรูเ้ ลยว่าความคิดนัน ! ใหม่หรือไม่ (ยกเว้นแต่จะอ้างอิงกับ มาตรฐานบางอย่าง) และไม่มีทางบอก ได้ว่ามันมีคณค่าหรือเปล่า จนกระทัง ุ @ ผ่านการประเมินทาง สังคม” 2 กันยายน 2553 155
  • 156. สินค้าดี ตลาดดี ต้องดีแน่ สินค้าแย่ ตลาดดี ยังพอไหว สินค้าดี ตลาดแย่ น่าเห็นใจ สินค้าแย่ ตลาดแย่ ... เอย!!! 2 กันยายน 2553 156
  • 157. ข้อมูลเพิ@มเติมติดต่อ พันธพงศ์ ตังธีระสุนนท์ ! ั ผูจดการโครงการ ้ ั สํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ 02 644 6000 ต่อ 133 pantapong@nia.or.th name organization www.slideshare.net/pantz 2 กันยายน 2553 157