SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
คะแนนและความหมายของคะแนน 
อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
 คะแนนที่ได้จากการวัดผลด้านการศึกษานั้น ส่วนมากจะ 
เป็นคะแนนที่อยู่ในมาตราอันตรภาค ซึ่งคะแนนชนิดนี้จะ 
ไม่มีความหมายในตัวมันเอง นอกจากจะนาไปเปรียบเทียบ 
กับสิ่งหนึ่งสิ่งใดเสียก่อน เช่น คะแนนสูงสุด คะแนนต่า สุด 
คะแนนเต็ม หรือคะแนนที่ครูตั้งไว้เป็นเกณฑ์ 
(criterion score) จึงจะมีความหมาย
 คะแนนที่ได้จากการสอบโดยตรงนี้เรียกว่า คะแนนดิบ (raw 
score) คะแนนดิบที่ได้จากการทดสอบแต่ละวิชานั้น เราไม่ 
สามารถที่จะเปรียบเทียบกัน หรือรวมกันได้โดยตรง ทั้งนี้เพราะ 
ความยากง่ายของข้อสอบแตกต่างกันไป และนอกจากนี้คะแนนเต็ม 
ของแต่ละวิชาก็อาจจะไม่เท่ากัน ถึงแม้ว่าผู้สอนบางท่านจะปรับ 
คะแนนเต็มของแต่ละวิชาให้เป็นหน่วยเท่ากันคือหน่วย 100 และ 
คิดคะแนนของแต่ละวิชาออกเป็นมาเป็นเปอร์เซ็นต์ก็ไม่ช่วยได้มาก 
นัก เพราะคะแนนที่ได้จากการวัดความสามารถที่เป็นนามธรรมของ 
มนุษย์นั้นจัดอยู่ในมาตราที่ไม่มีศูนย์สมบูรณ์
 การที่จะทา ให้คะแนนที่ได้จากการสอบสามารถเปรียบเทียบ 
กันได้ รวมกันได้ และมีความหมายที่ทุกคนเข้าใจตรงกันนั้น 
ต้องอาศัยวิธีการทางสถิติในการแปลงคะแนนให้เป็น 
คะแนนมาตรฐาน (standard score) หรือคะแนน 
แปลงรูป (derived scores)
คะแนนแปลงรูป (derived scores) 
 คะแนนดิบจากวิชาต่างๆ ต้องเปลี่ยนให้เป็นคะแนน 
แปลงรูปเสียก่อนจึงค่อยรวมกันซึ่งจะทา ให้การรวม 
คะแนนของแต่ละวิชาเป็นไปอย่างยุติธรรม ทั้งนี้ 
เพราะเมื่อเราแปลงคะแนนให้อยู่ในหน่วยของคะแนน 
แปลงรูปแล้วจะทา ให้ค่าคะแนนเฉลี่ยและความ 
เบี่ยงเบนมาตรฐานของแต่ละวิชาอยู่ในหน่วยเดียวกัน
เปรียบเทียบคะแนนมาตรฐานและคะแนนดิบของนักเรียนสองคนที่ได้ 
จากการสอบ 5 วิชา 
แบบทดสอบ คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน 
Mean S.D. นร.ก. นร.ข. นร.ก. นร.ข. 
ภาษาอังกฤษ 155.7 26.4 195 162 +1.49 +0.24 
อ่านเอาเรื่อง 33.7 8.2 20 54 -1.67 +2.48 
ความร้ทูั่วไป 54.5 9.3 39 72 -1.67 +1.88 
ความถนัดทางวิชาการ 87.1 25.8 139 84 +2.01 -0.12 
จิตวิทยา 24.8 6.8 41 25 +2.38 +0.03 
รวม 434 397 +2.54 +4.51 
เฉลี่ย +0.51 +0.90
การแปลงคะแนนแบบเส้นตรง 
(Linear Conversion) 
 การแปลงคะแนนแบบเส้นตรงนี้ หลักการสา คัญก็คือ การ 
เปลี่ยนคะแนนดิบให้อยู่ในมาตรที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยและ 
ความเบี่ยงเบนมาตรฐานร่วมกัน ฉะนั้นลักษณะการกระจาย 
ของคะแนนที่แปลงรูปแล้วจะไม่เปลี่ยนแปลงไปจาก 
ลักษณะการกระจายของคะแนนดิบ
คะแนนมาตรฐาน (standard score) 
คะแนนมาตรฐาน คือ มาตราของการวัดที่แสดง 
ความหมายและทิศทางของคะแนนในรูปของช่วง 
ความเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ห่างจากคะแนนเฉลี่ย 
มาตราของคะแนนชนิดนี้ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 0 
และความเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1
สูตร คานวณเพื่อแปลงคะแนนดิบเป็นคะแนนมาตรฐาน 
Z คือ คะแนนมาตรฐาน 
X คือ คะแนนดิบ 
คือ คะแนนเฉลี่ยของคะแนนดิบ 
X X 
Z  
S .D . 
 
X 
S.D. คือ ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนดิบ
คะแนนมาตรฐาน T (Standard T-score) 
 คะแนนมาตรฐาน T หรือคะแนน T นี้เป็นหน่วยการวัด 
ของคะแนนแปลงรูปซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 50 และความ 
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 
 การแปลงคะแนน z ให้เป็นคะแนน T กระทา ได้จากสูตร 
T = 10 z + 50
การแปลงคะแนนแบบอาศัยพื้นที่ใต้โค้งปรกติ 
(Area Conversion) 
 วิธีการแปลงคะแนนแบบอาศัยพื้นที่ใต้โค้งปรกตินี้เป็นวิธีการอย่าง 
หนึ่งที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ข้อตกลงเบื้องต้นของวิธีการนี้ ก็คือ 
คุณลักษณะหรือความสามารถของนักเรียนที่เราทา การทดสอบนั้น 
มีการแจกแจงเป็นโค้งปรกติ การแปลงคะแนนให้อยู่ภายใต้โค้ง 
ปรกตินี้จะสมเหตุสมผลก็ต่อเมื่อผู้สอนมีความรู้สึกว่า 
ความสามารถของนักเรียนที่ทา การทดสอบนั้นมีตั้งแต่ ต่า สุด - ปาน 
กลาง - สูงสุด และเมื่อรู้สึกว่าคะแนนดิบนั้นไม่ได้เป็นตัวแทนของ 
มาตราที่มีหน่วยแต่ละหน่วยเท่ากัน
การแปลงคะแนนดิบให้เป็นคะแนน T ปรกติ 
 เรียงคะแนนดิบตามลาดับจากน้อยไปหามาก 
 คานวณความถี่ของคะแนน จากรอยขีดคะแนน 
 คานวณความถี่สะสมของคะแนน (Cumulative frequency) 
โดยรวมความถี่จากคะแนนต่าสุดถึงคะแนนสูงสุด ค่าความถี่สะสมตัวสุดท้ายจะ 
เท่ากับจานวนของนักเรียนในกลุ่มที่ทาการทดสอบ หรือ cf 
 คานวณความถี่สะสมของจุดกลางของความถี่แต่ละช่วง (Cumulative 
frequency of midpoint) โดย นาความถี่สะสมจากคะแนนที่ 
ต่าลงไปจากจุดที่ต้องการหนึ่งจุดรวมกับครึ่งหนึ่งของความถี่ในจุดของคะแนน 
ที่ต้องการคานวณ 
 
 คานวณตาแหน่งร้อยละ (percentile) สาหรับคะแนนแต่ละจุดโดยนา 
100/n คูณกับค่าความถี่สะสมของจุดกลางของความถี่ของคะแนน 
 
1 
 
100 
cf f 
2 
n 
 เทียบคะแนน T ปรกติจากตารางที่กาหนดให้ 
 

คะแนน T % ทอี่ยู่ใต้คะแนน T % ทอี่ยู่ใต้คะแนน T % ทอี่ยู่ใต้คะแนน T % ทอี่ยู่ใต้ 
10 .0032 30 2.28 50 50.00 70 97.22 
11 .0048 31 2.87 51 53.98 71 98.21 
12 .007 32 3.59 52 57.93 72 98.61 
13 .011 33 4.46 53 61.79 73 98.93 
14 .016 34 5.48 54 65.54 74 99.18 
15 .023 35 6.68 55 69.15 75 99.38 
16 .034 36 8.08 56 72.57 76 99.53 
17 .048 37 9.68 57 75.80 77 99.65 
18 .069 38 11.51 58 78.81 78 99.74 
19 .097 39 13.57 59 81.59 79 99.81 
20 .13 40 15.87 60 84.13 80 99.865 
21 .19 41 18.41 61 86.43 81 99.903 
22 .26 42 21.19 62 88.49 82 99.931 
23 .35 43 24.20 63 90.32 83 99.952 
24 .47 44 27.43 64 91.92 84 99.966 
25 .62 45 30.85 65 93.32 85 99.977 
26 .82 46 34.46 66 94.52 86 99.984 
27 1.07 47 38.21 67 95.54 87 99.9890 
28 1.39 48 42.07 68 96.41 88 99.9928 
29 1.79 49 46.02 69 97.13 89 99.9952 
90 99.9986
1 
100 
f ) 
2 
1 
cf (  cf+ 
คะแนนดิบ f cf f T 
n 
2 
66 1 22 21.5 97.83 70 
65 1 21 20.5 93.24 65 
61 1 20 19.5 88.73 62 
59 1 19 18.5 84.18 60 
58 1 18 17.5 79.63 58 
57 1 17 16.5 75.08 57 
55 1 16 15.5 70.53 55 
54 1 15 14.5 65.98 54 
51 3 14 12.5 56.88 52 
48 1 11 10.5 47.78 49 
46 1 10 9.5 43.23 48 
45 1 9 8.5 38.68 47 
44 2 8 7.0 31.85 45 
42 1 6 5.5 25.03 43 
40 1 5 4.5 20.48 42 
38 1 4 3.5 15.93 40 
35 1 3 2.5 11.38 38 
33 1 2 1.5 6.82 35 
32 1 1 .5 2.28 30 
แปลงคะแนนดบิต่อไปนี้ 
ใหเ้ป็นคะแนน T ปรกติ 
66 40 51 
57 38 42 
51 59 45 
33 58 61 
35 46 44 
55 32 65 
54 44 48 
51
คะแนน stanine 
 เป็นคะแนนมาตรฐานที่ 
แสดงด้วยตัวเลขหลักเดียว 
มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5 
ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน 
เท่ากับ 2 และแบ่งสัดส่วน 
ของการกระจายออกเป็น 
9 ส่วน ภายใต้พื้นที่ของ 
โค้งปรกติ
เปอร์เซ็นต์ของคะแนน stanine แต่ละช่วงจาก 1-9 
ภายใต้โค้งปกติ 
20% 
17% 17% 
7% 12% 12% 7% 4% 4% 
1 2 3 4 5 6 7 8 9
คะแนนScore

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขโครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขNontaporn Pilawut
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพSomporn Amornwech
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณRock Rockie
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)waranyuati
 

Mais procurados (20)

ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขโครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 

Mais de TupPee Zhouyongfang

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวเรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวTupPee Zhouyongfang
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8TupPee Zhouyongfang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงTupPee Zhouyongfang
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 

Mais de TupPee Zhouyongfang (20)

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวเรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
Affective2
Affective2Affective2
Affective2
 
Eva plan
Eva planEva plan
Eva plan
 
Grading1
Grading1Grading1
Grading1
 
Psychomotor
PsychomotorPsychomotor
Psychomotor
 
Itemcons
ItemconsItemcons
Itemcons
 
Item analysis
Item analysisItem analysis
Item analysis
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้ม
 
การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริง
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 

คะแนนScore

  • 2.  คะแนนที่ได้จากการวัดผลด้านการศึกษานั้น ส่วนมากจะ เป็นคะแนนที่อยู่ในมาตราอันตรภาค ซึ่งคะแนนชนิดนี้จะ ไม่มีความหมายในตัวมันเอง นอกจากจะนาไปเปรียบเทียบ กับสิ่งหนึ่งสิ่งใดเสียก่อน เช่น คะแนนสูงสุด คะแนนต่า สุด คะแนนเต็ม หรือคะแนนที่ครูตั้งไว้เป็นเกณฑ์ (criterion score) จึงจะมีความหมาย
  • 3.  คะแนนที่ได้จากการสอบโดยตรงนี้เรียกว่า คะแนนดิบ (raw score) คะแนนดิบที่ได้จากการทดสอบแต่ละวิชานั้น เราไม่ สามารถที่จะเปรียบเทียบกัน หรือรวมกันได้โดยตรง ทั้งนี้เพราะ ความยากง่ายของข้อสอบแตกต่างกันไป และนอกจากนี้คะแนนเต็ม ของแต่ละวิชาก็อาจจะไม่เท่ากัน ถึงแม้ว่าผู้สอนบางท่านจะปรับ คะแนนเต็มของแต่ละวิชาให้เป็นหน่วยเท่ากันคือหน่วย 100 และ คิดคะแนนของแต่ละวิชาออกเป็นมาเป็นเปอร์เซ็นต์ก็ไม่ช่วยได้มาก นัก เพราะคะแนนที่ได้จากการวัดความสามารถที่เป็นนามธรรมของ มนุษย์นั้นจัดอยู่ในมาตราที่ไม่มีศูนย์สมบูรณ์
  • 4.  การที่จะทา ให้คะแนนที่ได้จากการสอบสามารถเปรียบเทียบ กันได้ รวมกันได้ และมีความหมายที่ทุกคนเข้าใจตรงกันนั้น ต้องอาศัยวิธีการทางสถิติในการแปลงคะแนนให้เป็น คะแนนมาตรฐาน (standard score) หรือคะแนน แปลงรูป (derived scores)
  • 5. คะแนนแปลงรูป (derived scores)  คะแนนดิบจากวิชาต่างๆ ต้องเปลี่ยนให้เป็นคะแนน แปลงรูปเสียก่อนจึงค่อยรวมกันซึ่งจะทา ให้การรวม คะแนนของแต่ละวิชาเป็นไปอย่างยุติธรรม ทั้งนี้ เพราะเมื่อเราแปลงคะแนนให้อยู่ในหน่วยของคะแนน แปลงรูปแล้วจะทา ให้ค่าคะแนนเฉลี่ยและความ เบี่ยงเบนมาตรฐานของแต่ละวิชาอยู่ในหน่วยเดียวกัน
  • 6. เปรียบเทียบคะแนนมาตรฐานและคะแนนดิบของนักเรียนสองคนที่ได้ จากการสอบ 5 วิชา แบบทดสอบ คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน Mean S.D. นร.ก. นร.ข. นร.ก. นร.ข. ภาษาอังกฤษ 155.7 26.4 195 162 +1.49 +0.24 อ่านเอาเรื่อง 33.7 8.2 20 54 -1.67 +2.48 ความร้ทูั่วไป 54.5 9.3 39 72 -1.67 +1.88 ความถนัดทางวิชาการ 87.1 25.8 139 84 +2.01 -0.12 จิตวิทยา 24.8 6.8 41 25 +2.38 +0.03 รวม 434 397 +2.54 +4.51 เฉลี่ย +0.51 +0.90
  • 7. การแปลงคะแนนแบบเส้นตรง (Linear Conversion)  การแปลงคะแนนแบบเส้นตรงนี้ หลักการสา คัญก็คือ การ เปลี่ยนคะแนนดิบให้อยู่ในมาตรที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยและ ความเบี่ยงเบนมาตรฐานร่วมกัน ฉะนั้นลักษณะการกระจาย ของคะแนนที่แปลงรูปแล้วจะไม่เปลี่ยนแปลงไปจาก ลักษณะการกระจายของคะแนนดิบ
  • 8. คะแนนมาตรฐาน (standard score) คะแนนมาตรฐาน คือ มาตราของการวัดที่แสดง ความหมายและทิศทางของคะแนนในรูปของช่วง ความเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ห่างจากคะแนนเฉลี่ย มาตราของคะแนนชนิดนี้ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 0 และความเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1
  • 9. สูตร คานวณเพื่อแปลงคะแนนดิบเป็นคะแนนมาตรฐาน Z คือ คะแนนมาตรฐาน X คือ คะแนนดิบ คือ คะแนนเฉลี่ยของคะแนนดิบ X X Z  S .D .  X S.D. คือ ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนดิบ
  • 10. คะแนนมาตรฐาน T (Standard T-score)  คะแนนมาตรฐาน T หรือคะแนน T นี้เป็นหน่วยการวัด ของคะแนนแปลงรูปซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 50 และความ เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10  การแปลงคะแนน z ให้เป็นคะแนน T กระทา ได้จากสูตร T = 10 z + 50
  • 11. การแปลงคะแนนแบบอาศัยพื้นที่ใต้โค้งปรกติ (Area Conversion)  วิธีการแปลงคะแนนแบบอาศัยพื้นที่ใต้โค้งปรกตินี้เป็นวิธีการอย่าง หนึ่งที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ข้อตกลงเบื้องต้นของวิธีการนี้ ก็คือ คุณลักษณะหรือความสามารถของนักเรียนที่เราทา การทดสอบนั้น มีการแจกแจงเป็นโค้งปรกติ การแปลงคะแนนให้อยู่ภายใต้โค้ง ปรกตินี้จะสมเหตุสมผลก็ต่อเมื่อผู้สอนมีความรู้สึกว่า ความสามารถของนักเรียนที่ทา การทดสอบนั้นมีตั้งแต่ ต่า สุด - ปาน กลาง - สูงสุด และเมื่อรู้สึกว่าคะแนนดิบนั้นไม่ได้เป็นตัวแทนของ มาตราที่มีหน่วยแต่ละหน่วยเท่ากัน
  • 12. การแปลงคะแนนดิบให้เป็นคะแนน T ปรกติ  เรียงคะแนนดิบตามลาดับจากน้อยไปหามาก  คานวณความถี่ของคะแนน จากรอยขีดคะแนน  คานวณความถี่สะสมของคะแนน (Cumulative frequency) โดยรวมความถี่จากคะแนนต่าสุดถึงคะแนนสูงสุด ค่าความถี่สะสมตัวสุดท้ายจะ เท่ากับจานวนของนักเรียนในกลุ่มที่ทาการทดสอบ หรือ cf  คานวณความถี่สะสมของจุดกลางของความถี่แต่ละช่วง (Cumulative frequency of midpoint) โดย นาความถี่สะสมจากคะแนนที่ ต่าลงไปจากจุดที่ต้องการหนึ่งจุดรวมกับครึ่งหนึ่งของความถี่ในจุดของคะแนน ที่ต้องการคานวณ   คานวณตาแหน่งร้อยละ (percentile) สาหรับคะแนนแต่ละจุดโดยนา 100/n คูณกับค่าความถี่สะสมของจุดกลางของความถี่ของคะแนน  1  100 cf f 2 n  เทียบคะแนน T ปรกติจากตารางที่กาหนดให้  
  • 13. คะแนน T % ทอี่ยู่ใต้คะแนน T % ทอี่ยู่ใต้คะแนน T % ทอี่ยู่ใต้คะแนน T % ทอี่ยู่ใต้ 10 .0032 30 2.28 50 50.00 70 97.22 11 .0048 31 2.87 51 53.98 71 98.21 12 .007 32 3.59 52 57.93 72 98.61 13 .011 33 4.46 53 61.79 73 98.93 14 .016 34 5.48 54 65.54 74 99.18 15 .023 35 6.68 55 69.15 75 99.38 16 .034 36 8.08 56 72.57 76 99.53 17 .048 37 9.68 57 75.80 77 99.65 18 .069 38 11.51 58 78.81 78 99.74 19 .097 39 13.57 59 81.59 79 99.81 20 .13 40 15.87 60 84.13 80 99.865 21 .19 41 18.41 61 86.43 81 99.903 22 .26 42 21.19 62 88.49 82 99.931 23 .35 43 24.20 63 90.32 83 99.952 24 .47 44 27.43 64 91.92 84 99.966 25 .62 45 30.85 65 93.32 85 99.977 26 .82 46 34.46 66 94.52 86 99.984 27 1.07 47 38.21 67 95.54 87 99.9890 28 1.39 48 42.07 68 96.41 88 99.9928 29 1.79 49 46.02 69 97.13 89 99.9952 90 99.9986
  • 14. 1 100 f ) 2 1 cf (  cf+ คะแนนดิบ f cf f T n 2 66 1 22 21.5 97.83 70 65 1 21 20.5 93.24 65 61 1 20 19.5 88.73 62 59 1 19 18.5 84.18 60 58 1 18 17.5 79.63 58 57 1 17 16.5 75.08 57 55 1 16 15.5 70.53 55 54 1 15 14.5 65.98 54 51 3 14 12.5 56.88 52 48 1 11 10.5 47.78 49 46 1 10 9.5 43.23 48 45 1 9 8.5 38.68 47 44 2 8 7.0 31.85 45 42 1 6 5.5 25.03 43 40 1 5 4.5 20.48 42 38 1 4 3.5 15.93 40 35 1 3 2.5 11.38 38 33 1 2 1.5 6.82 35 32 1 1 .5 2.28 30 แปลงคะแนนดบิต่อไปนี้ ใหเ้ป็นคะแนน T ปรกติ 66 40 51 57 38 42 51 59 45 33 58 61 35 46 44 55 32 65 54 44 48 51
  • 15. คะแนน stanine  เป็นคะแนนมาตรฐานที่ แสดงด้วยตัวเลขหลักเดียว มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5 ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2 และแบ่งสัดส่วน ของการกระจายออกเป็น 9 ส่วน ภายใต้พื้นที่ของ โค้งปรกติ
  • 16. เปอร์เซ็นต์ของคะแนน stanine แต่ละช่วงจาก 1-9 ภายใต้โค้งปกติ 20% 17% 17% 7% 12% 12% 7% 4% 4% 1 2 3 4 5 6 7 8 9