SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
บทที่ 5
                           สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
      ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการสร้างพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Social Media “เรียนฟิสิกส์ง่ายๆ
สไตล์ครูตี๋” โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา
ฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด
มหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ผู้วิจัยขอสรุปผล อภิปรายผล และ
ข้อเสนอแนะ ดังนี้

1. สรุปผล
        1.1 วัตถุประสงค์การวิจัย
          1.1.1 เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
            1.1.2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอน
ผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26

        1.2 วิธีดําเนินการวิจัย
 ในการดําเนินงานพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์          (Online) เพื่อให้มีคุณภาพการจัดการเรียน
การสอน ข้าพเจ้าได้เข้าสมัครเข้ารับการอบรมการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้ จากสํานัก
เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนใน Social Media สื่อสังคมออนไลน์ที่กําลังเป็นที่สนใจซึ่งการใช้
Social Mediaในเชิงธุรกิจประสบความสําเร็จ ครูเราสามารถพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
Social Media เหมือนกับในเชิงธุรกิจ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันและกัน การใช้สื่อร่วมกัน
การแบ่งปันสื่อซึ่งกันและกัน การจัดการความรู้ ความรู้ในตัวและความรู้จากการเรียนรู้ ความ
สนุกสนานในการใช้ Social Media แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่อนคลายอารมณ์ เล่นเกม ลงตัวอย่าง
ผสมผสาน ทําให้เกิดความมุ่งมุ่นตั้งใจในการที่จะนําความรู้ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
22



เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างสนุกสนานและมีสาระ จากนั้นนําความรู้มาพัฒนากระบวนการเรียนรู้
โดยใช้ Social media ตามขั้นตอนวงจร PDCA ดังนี้




                      - ศึกษาวิธีการใช้ สื่อนวัตกรรมใหม่ๆ
                      - ศึกษาหลักสูตร จุดเน้น นโยบาย
                      - จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
                      - พัฒนาสื่อนวัตกรรม

         การปรับปรุงทบทวน พัฒนา                           ใช้นวัตกรรมปฏิบัติการสอน
         แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากเดิมใช้ CAI                - เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ
             WBI        Social media                      - บรูณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น
                                                          - ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง


                                      วัดผลประเมินผลตาม
                                           สภาพจริง
                                 -ป
                                       ภาพที่ 5 วิธีดําเนินการวิจัย

2. อภิปรายผล
         สรุป ผลการวิจัย พบว่า (1) สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ตามที่กําหนด 75/75
(2) นักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
23



ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
เช่นเดียวกันกับ สุภพงษ์ วงศ์สมิตกุล. (บทคัดย่อ : 2553) เรื่อง การพัฒนาบทเรียนออนไลน์
(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี เรื่อง การเพาะเห็ดหอม สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนปากช่อง
จังหวัดนครราชสีมา และไชยวัฒน์ วิเชียรไชย (บทคัดย่อ : 2555) เรื่อง การพัฒนาบทเรียนออนไลน์
(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี เรื่อง การปัญหาเด็กติดเฟสบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บล็อก ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3, 5, 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26



3. ข้อเสนอแนะ
        3.1 จากการศึกษาค้นคว้าพบว่าการในการใช้ใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
            มีแพร่ในชีวิตประจําวันมีมากมาย
        3.2 จากการศึกษาค้นคว้าพบว่าการใช้อินเตอร์เน็ตควรมีการสร้างและการวิจัยต่างๆ
            โดยใช้เครือข่ายสัญญาณอินเตอร์เน็ตให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นกว่านี้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
Somporn Laothongsarn
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
ssuserea9dad1
 

Mais procurados (20)

ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
 

Destaque

ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
thanakit553
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
thanakit553
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
thanakit553
 

Destaque (16)

สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
stem
stemstem
stem
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Semelhante a บทที่ 5

โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
tassanee chaicharoen
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
Aon Narinchoti
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
Krit Chanthraphrom
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
Krit Chanthraphrom
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
Nattapon
 
005 projectโครงการ
005 projectโครงการ005 projectโครงการ
005 projectโครงการ
Piyarerk Bunkoson
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Semelhante a บทที่ 5 (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
960447
960447960447
960447
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
สถานศึกษาพอเพียง
สถานศึกษาพอเพียงสถานศึกษาพอเพียง
สถานศึกษาพอเพียง
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
Computers for learning
Computers  for  learningComputers  for  learning
Computers for learning
 
Computers for learning
Computers for learningComputers for learning
Computers for learning
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
005 projectโครงการ
005 projectโครงการ005 projectโครงการ
005 projectโครงการ
 
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 

Mais de Somporn Laothongsarn

เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
Somporn Laothongsarn
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
Somporn Laothongsarn
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
Somporn Laothongsarn
 

Mais de Somporn Laothongsarn (15)

Physical quantity and units
Physical quantity and unitsPhysical quantity and units
Physical quantity and units
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
 
เรื่อง แสง
เรื่อง  แสงเรื่อง  แสง
เรื่อง แสง
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
 
Giftedfactors
GiftedfactorsGiftedfactors
Giftedfactors
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 

บทที่ 5

  • 1. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการสร้างพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Social Media “เรียนฟิสิกส์ง่ายๆ สไตล์ครูตี๋” โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด มหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ผู้วิจัยขอสรุปผล อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. สรุปผล 1.1 วัตถุประสงค์การวิจัย 1.1.1 เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 1.1.2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอน ผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 1.2 วิธีดําเนินการวิจัย ในการดําเนินงานพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) เพื่อให้มีคุณภาพการจัดการเรียน การสอน ข้าพเจ้าได้เข้าสมัครเข้ารับการอบรมการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้ จากสํานัก เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนใน Social Media สื่อสังคมออนไลน์ที่กําลังเป็นที่สนใจซึ่งการใช้ Social Mediaในเชิงธุรกิจประสบความสําเร็จ ครูเราสามารถพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media เหมือนกับในเชิงธุรกิจ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันและกัน การใช้สื่อร่วมกัน การแบ่งปันสื่อซึ่งกันและกัน การจัดการความรู้ ความรู้ในตัวและความรู้จากการเรียนรู้ ความ สนุกสนานในการใช้ Social Media แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่อนคลายอารมณ์ เล่นเกม ลงตัวอย่าง ผสมผสาน ทําให้เกิดความมุ่งมุ่นตั้งใจในการที่จะนําความรู้ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
  • 2. 22 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างสนุกสนานและมีสาระ จากนั้นนําความรู้มาพัฒนากระบวนการเรียนรู้ โดยใช้ Social media ตามขั้นตอนวงจร PDCA ดังนี้ - ศึกษาวิธีการใช้ สื่อนวัตกรรมใหม่ๆ - ศึกษาหลักสูตร จุดเน้น นโยบาย - จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ - พัฒนาสื่อนวัตกรรม การปรับปรุงทบทวน พัฒนา ใช้นวัตกรรมปฏิบัติการสอน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากเดิมใช้ CAI - เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ WBI Social media - บรูณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น - ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง วัดผลประเมินผลตาม สภาพจริง -ป ภาพที่ 5 วิธีดําเนินการวิจัย 2. อภิปรายผล สรุป ผลการวิจัย พบว่า (1) สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ตามที่กําหนด 75/75 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
  • 3. 23 ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เช่นเดียวกันกับ สุภพงษ์ วงศ์สมิตกุล. (บทคัดย่อ : 2553) เรื่อง การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี เรื่อง การเพาะเห็ดหอม สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา และไชยวัฒน์ วิเชียรไชย (บทคัดย่อ : 2555) เรื่อง การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี เรื่อง การปัญหาเด็กติดเฟสบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บล็อก ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3, 5, 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 3. ข้อเสนอแนะ 3.1 จากการศึกษาค้นคว้าพบว่าการในการใช้ใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) มีแพร่ในชีวิตประจําวันมีมากมาย 3.2 จากการศึกษาค้นคว้าพบว่าการใช้อินเตอร์เน็ตควรมีการสร้างและการวิจัยต่างๆ โดยใช้เครือข่ายสัญญาณอินเตอร์เน็ตให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นกว่านี้