SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 12
Baixar para ler offline
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                                                            ั

                                            หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
                                         ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถิ่น

งานช่างไม้
           ในปัจจุบันงาน ช่างไม้ ยังมีความสาคัญอยู่มากถึงแม้ว่าไม้จะกลายเป็นวัสดุที่หายากและแพงกว่าวัสดุ
ทดแทนอื่น แต่ไม้ก็ยังเป็นส่วนประกอบหลักที่ยังจาเป็นต้องใช้ เช่น วงกบ ประตู หน้าต่าง ตลอดจนถึงผลิตภัณฑ์
ที่ใช้ตกแต่งภายในบ้าน อาชีพ ช่างไม้ จึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะงานช่างไม้เป็นงานที่ต้องอาศัยทักษะและ
ความชานาญในการทางาน ผู้ที่ประกอบอาชีพช่างไม้จะต้องมีความรั กในหน้าที่ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความขยั น
อดทน และมีความรับผิดชอบสูง อีกทั้งยังสามารถใช้วัสดุที่เป็นไม้มาสร้างสรรค์เป็นงานไม้ได้อย่างเหมาะสม
ลักษณะของงานอาชีพนี้คือ การปฏิบัติเกี่ยวกับงานช่างไม้ทั่วๆไป เช่น การตัด เลื่อย ไส ปรับ ตอกตะปู ทากาว
ทาโครง ทารูปร่างการก่อสร้าง ติดตัง ประกอบโครงสร้าง ทาโครงไม้ชั่วคราว ซ่อมแซมและดัดแปลงส่วนต่างๆ
                                       ้
ที่เป็นไม้ บุฝา มุงหลังคา ทาเครื่องเรือน เครื่องใช้ เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ
ประเภทของงานช่างไม้
          จาแนกตามลักษณะงานได้ดังนี้
          1. ช่างไม้ก่อ สร้าง เรียนหนักไปทางการก่อสร้างอาคาร การอ่านแบบ การแยกวัสดุรายการและอุปกรณ์
ตลอดจนขั้นตอนในการดาเนินงาน งานประเภทนี้ไม่ปราณีตเรียบร้อยนัก แต่ต้องมีความเข้าใจลักษณะของงาน
          โดยงานช่างไม้ก่อสร้างนั้น จะเป็นงานที่เกี่ยวกับการก่อสร้างอาคาร       บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย ต้องอาศัย
ความอดทน และความแข็งแรงของร่างกายเป็นอย่างมาก เพราะต้องปฎิบัติหน้าที่กลางแจ้ง หรือในที่สูง มีโอกาส
เสี่ยงต่อแสงแดด ฝุ่นละออง ฝนตก หรือการพลักตกจากที่สูงได้ จึงต้องมีความเป็นมืออาชีพและมีทักษะใน การ
ทางานเป็นอย่างมาก
          2. ช่างไม้ครุภัณฑ์ เรียนเกี่ยวกับการเขียนแบบและอ่านแบบครุภัณฑ์ แบบเครื่องเรือน เฟอร์นิเจอร์
การแต่งไม้ เข้าเดือย การต่อไม้ เพลาะไม้ เจาะไม้ การใช้และเลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมซึ่งใช้ร่วมกับไม้ เช่น
กุญแจ บานพับ บานเลื่อน บานกระจก
          สาหรับงานช่างไม้ครุภัณฑ์ จะเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับก ารสร้างเครื่องเรือนต่างๆ เฟอร์นิเจอร์ไม้ อุปกรณ์
ช่างไม้ เครื่องมือช่างไม้ ชุดตกแต่งบ้านที่ทาจากไม้ และผลิตภัณฑ์จากไม้ทั้งหมด ผู้ที่ประกอบอาชีพช่างไม้นี้ควร
เป็นบุคคลที่มีความละเอียด รอบคอบ มีความปราณีต แต่ไม่มีความเสี่ยงในการปฎิบัติ งานเนื่องจากทาหน้าที่
ภายในโรงงานไม้ ที่มีเครื่องจักร เครื่องมือเพียบพร้อม
          3. ช่างไม้แบบ เรียนเกี่ยวกับการทา แบบหล่อโลหะ ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ ช่างไม้ประเภทนี้ต้องเป็น
คนละเอียด และทางานปราณีตเรียบร้อย เข้าใจเรื่องการหดตัวขยายตัวของวัสดุแต่ละชนิด เข้าใจแบบอย่างถ่องแท้
จึงจะทางานได้ดี
          สาหรับงานช่างไม้ออกแบบ จะเป็นงานที่เกี่ยวกับการทาแบบงานไม้ แบบหล่อโลหะ เช่น ชิ้นส่วนต่างๆ
ของเครื่องยนต์ เป็นต้น ช่างไม้ ออกแบบควรมีความละเอียดปราณีต สร้างไม้แบบโดยไม่ผิดเพี้ยน และมีเทคนิคใน
การใช้เครื่องมือได้อย่างชานาญ สุดท้าย
          4. ช่างไม้แกะสลัก ทาลวดลายต่างๆ บนไม้ เรียนการวาดเขียน วาดลวดลายต่างๆได้ รู้จักใช้เครื่องมือ
ในการแกะสลัก
          งานช่างไม้ แกะสลัก จะเป็นงานที่เกี่ยวกับการออกแบบ ตกแต่ง สร้างสรรค์ แกะสลักไม้ลวดลายต่างๆ
ลงบนผลิตภัณฑ์ไม้
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                       หน้า 1
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                                                             ั

ประโยชน์ของงานช่างไม้
         ประโยชน์ของงานช่างไม้ มีทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น เพราะช่างไม้สามารถ ใช้งานเครื่องมือเกี่ยวกับงานไม้
ได้อย่างชานาญงาน และปลอดภัย ช่างไม้ยังช่วยในเรื่องของการซ่อมแซมดูแลรักษางานไม้                 มีความรู้ความ
เชี่ยวชาญในวิชาชีพสามารถนาไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัว พร้อมทั้งยังสร้างลักษณะนิสัยที่ดี
ให้กับตัวเองมีความรับผิดชอบด้วย สาหรับครอบครัว ก็สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ช่วยประหยัด
รายจ่าย เนื่องจากสามารถซื้อหางานไม้ในราคางาน ไม้ที่ถูกกว่าบุคคลทั่วไป รู้จักบารุงรักษาของใช้ภายในบ้าน
ทาให้เกิดช่างไม้มืออาชีพที่มีฝีมือคุณภาพสูง เกิดการอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรอย่างมีประโยชน์สูงสุด ช่างไม้ ยังมี
เทคนิคการใช้งานเครื่องมือที่ถูกต้องตามหลักการ มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งแปลกใหม่ ไอเดียการออกแบบผลงาน
ผลิตภัณฑ์จากไม้ มีการสร้างสรรค์งานไม้แบบมืออาชีพ และบ่งชี้ให้สังคมเห็นคุณค่าของงานช่างไม้มากขึ้นอีกด้วย
         1. ประโยชน์ต่อตนเอง
                  • สามารถใช้เครื่องที่ทาไม่ได้ถูกวิธี
                  • สามารถซ่อมแซมดูแลรักษาได้
                  • สามาใช้เครื่องมือได้อย่างปลอดภัย
                  • นาความรู้ไปประยุกต์ใช้อย่างถูกวิธี
                  • สร้างลักษณะนิสัยให้กับตัวเองมีความรับผิดชอบ
                  • เป็นพื้นฐานการงานอาชีพ
         2.ประโยชน์ต่อครอบครัว
                  • สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
                  • ประหยัดรายจ่ายของครอบครัว
                  • รู้จักบารุงรักษาของใช้ภายในบ้าน
                  • เพิ่มพูนรายได้ให้กับครอบครัว
         3.ประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ
                  • เกิดช่างฝีมือที่มีคุณภาพ
                  • เกิดการอนุรักษ์และใช้ทรัพยากร
                  • ประชาชนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
                  • มีการประดิษฐ์คิดค้น
                  • สังคมเห็นคุณค่าของงานไม้

ลักษณะและธรรมชาติของไม้
           ต้นไม้ทุกชนิดที่เราพบเห็นลาต้นใหญ่โต มีกิ่งก้านสาขามากมายนั้น เมื่อเกิดขึ้นใหม่ๆ เป็นไม้เพียงต้นเล็กๆ
ที่อ่อนนุ่ม ก่อนจะเจริญงอกงามแตกกิ่งก้านสาขาออกไปเป็นลาต้นใหญ่ๆ ก็ใช้เวลาหลายสิบปี การเติบโตของต้นไม้
จะเติบโตขึนโดยมีเนื้องอกเพิ่มขึ้นโดยรอบลาต้นอ่อนที่เกิดมาแต่เดิมเป็นชั้นๆ หรืองอกเป็นวงซ้อนกันออกไปเรื่อยๆ
             ้
ในปีหนึ่งๆ ต้นไม้จะมีโอกาสโตขึ้นได้ชั่วฤดูหนึ่งเท่านั้น สิ้นฤดูแล้วไม้จะไม่เจริญเติบโตต่อไปอีก ดังนั้นเมื่อเราตัด
ต้นไม้ออกเป็นแว่น จะเห็นรอยเป็นวงๆ ซ้อนกันอยู่มากมาย ชิดกันบ้าง ห่างกันบ้าง วงเหล่านี้คือรอยที่แสดง
การขยายตัวโตขึ้นในฤดูหนึ่งๆ ดังแสดงในรูปภาพที่ 1.1 แสดงวงปีของต้นไม้
           ในปีหนึ่งๆ ไม้จะโตมากน้อยเพียงใด สังเกตได้จากวงปี คือถ้าโตเร็ววงจะซ้อนกันห่างๆ แต่ถ้าโตช้าวงจะ
ซ้อนกันชิดมาก ไม้ที่มีการเจริญเติบโตสม่า เสมอนั้นจะมีความแข็งแรงดีกว่าไม้ที่โตเร็วกว่าธรรมดา เพราะไม้ที่
โตเร็วกว่านั้นเนื้อจะอ่อนไม่แข็งแรง แต่ถ้าไม้โตช้าเนื้อไม้มักแข็งแรงมาก เปราะ และหักง่าย บางครั้งเราสามารถ
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                         หน้า 2
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                                                          ั

คาดคะเนอายุของต้นไม้ได้จากการนับวงเหล่านี้ คือ ถือว่าในปีหนึ่งต้นไม้จะงอกออกไปได้เพียงวงเดียวเท่านั้น แต่ก็
ไม่สม่าเสมอและแน่นอนนัก เพียงแต่เป็นการคาดคะเนคร่าวๆ เท่านั้น




                                      ภาพที่ 1.1 แสดงวงปีของต้นไม้

วิธีกานต้นไม้หรือโค่นไม้
           วิธีกาน คือการเอาขวานถากเปลือกบริเวณโคนต้นออก ถ้าถากลึกจนถึงเนื้ อไม้ที่เป็นส่วนส่งอาหารเลี้ยง
ลาต้น ต้นไม้นั้นก็ตายลงเอง ซึ่งเราเรียกว่ายืนตาย โดยมากจะกานทิ้งไว้ 1 ปี เพื่อให้ต้นไม้แห้งสนิทก่อนโค่น
การโค่นลงทันทีในเวลาที่ต้องการนั้น จะได้ไม้ที่ไม่แห้งดีเหมือนไม้กาน       ถ้าจาเป็นต้องโค่นไม้สดหรือไม้ดิบ
เมื่อโค่นแล้วต้องรีบจัดการปอกเปลือกออกทันทีเพื่อให้ไม้แห้งเร็ว และควรทิ้งไว้ในที่แจ้งเพื่อให้ได้รับลม หรือรีบ
เอาจมน้าเสียก่อนที่ยางไม้จะแข็งตัว การโค่นไม้เป็นงานที่สา คัญมาก ต้องพิจารณาดูทาเลให้ดี การที่ไม้ฟาดลง
โดยแรงจะทาให้ไม้นั้นเสีย เช่น แตกร้าว ฉีก หรือถูกไม้อื่นๆ ข้างเคียงพลอยเสียไปด้วย หรืออาจเกิดอันตรายแก่
ผู้ทาการโค่น การโค่นต้องพิจารณาดูว่าจะให้ไม้ล้มไปทางใดจึงจะเหมาะ เพื่อช่วยลดความแรงในการฟาดลง เช่น
ล้มไปทางเนินหรือเขา การโค่นไม้ใช้ขวานฟันทางด้านที่จะให้ล้มประมาณครึ่งต้น แล้วใช้เลื่อยๆ ลัดหลัง การที่ทา
เช่นนี้ก็เพื่อต้องการให้ไม้ล้มไปทางรอยขวาน ส่วนตอที่เหลือไม่ควรเกิน 2 ศอกไม่ควรเหลือไว้มากเพราะจะทา ให้
เสียเนื้อไม้ ดังแสดงในรูปภาพที่ 1.2 แสดงการโค่นต้นไม้และการเปิดปีกซุง




                              ภาพที่ 1.2 แสดงการโค่นต้นไม้และการเปิดปีกซุง
                                     ที่มา : ชาลี ลัทธิ และคณะ , 2527
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                     หน้า 3
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                                                           ั

การจักไม้และการผึ่งไม้
          สาหรับวิธีจักซุงออกเป็นตัวไม้ ทาได้โดยการเลื่อยออกเป็นแผ่นๆ ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้กันโดยมาก ไม่ว่าเลื่อย
โดยเครื่องจักรหรือเลื่อยมือก็ตาม การเลื่อยโดยวิธีนี้ ขั้นแรกให้เลื่อยตัดส่วนโค้งของไม้ออกเสียก่อนให้เป็นท่อนซุง
สี่เหลี่ยม มีขนาดหัวซุงและปลายซุงเท่ากัน เรียกว่า การลอกปีกซุง แล้วจึงทาการโกรกออกเป็นแผ่นๆ ขนานไป
ตามความยาวของซุง เมื่อเลื่อยออกเป็นแผ่นใหญ่ๆ แล้วจึงนามาเลื่อยออกเป็นไม้ขนาดต่างๆ ตามความต้องการ
หลังจากทาการแปรรูปไม้แล้ว ต้องนามาผึ่งให้แห้ง การผึ่งไม้เป็นการทาให้ยางในเนื้อไม้แห้ง หรือหมดไป เป็นการ
ป้องกันไม้ไม่ให้หดตัวและป้องกันการแตกร้าว การผึ่งไม้เป็นความประสงค์ที่จะได้ไม้ที่มีประสิทธิภาพในการใช้งาน
หรือได้ไม้ที่มีคุณสมบัติที่ดีเท่าที่ควร จะเป็น เมื่อต้นไม้ถูกโค่นลง ยางไม้ซึ่งเป็นโลหิตหล่อเลี้ยง ความเจริญจะ
ค่อยๆ แห้งลงพร้อมกับการยุบตัวลงทีละน้อย ซึ่งจะเห็นได้ว่าไม้จะหดตัวและมีน้าหนักเบาลง การหดตัวของไม้แต่
ละชนิดย่อม ไม่เหมือนกัน เช่น ไม้สักมีการหดตัวน้อย ไม้ยางหดตัวมาก วิธีผึ่งไม้ตามธรรมดา ที่ใช้กันอยู่ทั่วๆ
ไปนั้น ได้แก่ การผึ่งลม วิธีนี้นิยมทากันมากเพราะทาได้ง่ายและไม่เป็นการสิ้นเปลืองมากนั ก การผึ่งชนิดนี้เป็นการ
ทาให้ไม้ค่อยๆ แห้งลงทีละน้อย ไม้จึงไม่เปราะหรือแตกร้าว บิด งอ ดังแสดงในภาพที่ 1.3 แสดงการผึ่งหรือตากไม้




                                     ภาพที่ 1.3 แสดงการผึ่งหรือตากไม้
                                     ที่มา : ชาลี ลัทธิ และคณะ , 2527

ป่าไม้ในประเทศไทย
        ป่าไม้ในประเทศไทยแบ่งได้ เป็น 2 ประเภท คือป่าประเภทที่ไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest) และ
ป่าประเภทที่ผลัดใบ (Decicuous Forest)
        ป่าไม้ประเภทที่ไม่ผลัดใบ
        ป่าประเภทนี้เป็นต้นไม้ที่มีใบสีเขียวชอุ่มตลอดปี ไม่มีระยะเวลาผลัดใบที่แน่นอน เมื่อใบไม้เก่าร่วงหล่นไป
ใบใหม่ก็ผลิแตกออกมาแทนที่อยู่เรื่ อยๆ ป่าประเภทนี้มีอยู่ทั่วไปในประเทศไทย ซึ่งอาจแยกออกได้ตามลักษณะเด่น
ของป่าไม้ได้เป็น 4 ชนิด
                 1.ป่าดงดิบหรือป่าดิบหรือป่าดิบชื้น (Tropical Rain Forest หรือTropical Evergreen Forest)
                 2.ป่าดงดิบเขา หรือ ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)
                 3.ป่าสนหรือป่าสนเขา (Coniferous Forest หรือ Pine Forest)
                 4.ป่าชายเลน หรือป่าเลนน้าเค็มหรือป่าโกงกาง (mangrove Forest)
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                       หน้า 4
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                                                            ั

       ป่าประเภทที่ผลัดใบ
       ป่าประเภทนี้คือป่าที่ต้นไม้ส่วนใหญ่ที่ขึ้นอยู่ทิ้งใบร่วงหล่นลงหมดในฤดูแล้งเหลือแต่กิ่ง พอถึงฤดูจึงเริ่ม
ผลิใบใหม่ออกมา อาจแยกออกเป็น 2 ชนิด คือ
              1.ป่าเบญจพรรณหรือป่าผสมผลัดใบ (Mixed Deciduous Forest)
              2.ป่าแพะหรือป่าแดงหรือป่าโคก (Dry Deciduous Dipterocarp Forest)

การจาแนกประเภทของไม้
          ไม้จาแนกแบ่งเป็นไม้เนื้ออ่อน (softwood) ซึ่งปกติจะเป็นไม้ใบแคบและไม้เนื้อแข็ง (hardwood)
ซึ่งเป็นไม้จากต้นไม้ใบกว้างอย่างไรก็ตามในปัจจุบัน เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงแยกประเภทของไม้ตาม
หนังสือของกรมป่าไม้ที่ กส.0702/6679 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2517 ดังนี้คือ ให้แบ่งไม้ออกเป็น 3 ประเภท
โดยถือเอาค่าความแข็งแรงในการดัดของไม้แข็งและความทนทานตามธรรมชาติของไม้นั้นๆ เป็นเกณฑ์ตามตาราง
ดังนี้
                               ตารางแสดงความแข็งแรงของไม้และความต้านทานของไม้

            ประเภทไม้                     ความแข็งแรง (kg.cm 2 )                    ความทนทาน ( ปี )
ไม้เนื้อแข็ง                                      > 1000                                 > 10
ไม้เนื้อแข็งปานกลาง                            600 – 1000                               2 – 10
ไม้เนื้ออ่อน                                      < 600                                  <2

          1.ไม้เนื้อแข็ง
          ไม้เนื้อแข็งเป็นไม้ที่มีเนื้อแกร่งและเหนียวมีความแข็งแรงและทนทานต่อการใช้ท่ามกลางแสงแดดและฝน
ได้ดีมาก เนื้อไม้มีทั้งชนิดเนื้อหยาบไปจนถึงเนื้อละเอียด ทั้งชนิดเสี้ยนไม่ตรงและเสี้ยนไม้สับสน ยากต่อการเลื่อย
ไสกบและตกแต่ง แต่ขัดไม้ได้ดีเนื่องจากเนื้อไม้ส่วนใหญ่จะเป็นมั นในตัว ไม้ชนิดนี้ส่วนใหญ่จะมีสีเข้ม เป็นไม้ที่มี
น้าหนักมาก โดยทั่วไปจะหนักตั้งแต่ประมาณ 720 ถึง 1,120 กิโลกรัม ต่อลูกบาศ์กเมตรหรือกว่านั้น ไม้เนื้อแข็ง
บางชนิด ได้แก่
                    ไม้เต็ง เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขึ้นเป็นหมู่ตามป่าแดดทั่วไปยกเว้นภาคใต้ ลักษณะ
เนื้อไม้เป็นสีน้าตาลอ่อน เมื่อแรกตัดทิ้งไว้นานจะเป็นสีน้าตาลแก่แกมแดง เสี้ยนสับสน เนื้อหยาบแต่สม่า เสมอ
แข็งเหนียว แข็งแรงและทนทานมาก แห้งแล้วเลื่อยไสกบตกแต่งได้ยาก น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 1,040 กิโลกรัม
ต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาหมอนรางรถไฟ เครื่องมือกสิกรรม โครงสร้างอาคาร เช่น ตง คาน วงกบ ประตูหน้าต่าง
โครงหลังคา เสา
                    ไม้รัง เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขึ้นเป็นหมู่ตามในป่าแดดทั่วไป ลักษณะเนื้อไม้มี
สีน้าตาลอมเหลือง เสี้ยนสับสน เนื้อหยาบแต่สม่าเสมอ แข็ง หนัก แข็งแรงและทนทานมาก เลื่อยไสกบตกแต่ง
ค่อนข้างยากเมื่อแห้งจะ มีลักษณะคุณสมบัติคล้ายไม้เต็ง ในบางครั้งเรียกว่าไม้เต็งรัง น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ
800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาเสาและโครงสร้างอาคารต่างๆ ทาหมอนรางรถไฟ ทาเครื่องมือกสิกรรม
                    ไม้แดง เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ขึ้นทั่วไปในป่าเบญจพรรณแล้งและชื้น ลักษณะของเนื้อไม้มีสีแดง
เรื่อๆ หรือสีน้าตาลอมแดง เสี้ยนเป็นลูกคลื่นหรือสับสน เนื้อละเอียดพอประมาณ แข็ง เหนียวแข็งแรงและทนทาน
เลื่อยไสกบแต่งได้เรียบร้อยขัดชักเงาได้ดี น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 960 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ไม้นี้นิยม
ในการก่อสร้างในส่วนที่ไม่ใช่โครงสร้าง เช่น พื้น วงกบประตูหน้าต่าง ทาเกวียน ทาเรือ หมอนรางรถไฟ
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                        หน้า 5
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                                                             ั

เครื่องเรือน เครื่องมือกสิกรรม ไม้แดงนี้ปลวกหรือเพรียงจะไม่ค่อยรบกวนและเป็นไม้ที่ต้านทานไฟในตัวด้วย
ไม้แดงเป็นไม้ที่มีความแข็งมาก ทาให้เวลาเกิดความชื้นหรือร้อนและขยายตัวจะดันจนกาแพงแตกได้ (กรณีเป็นพื้น )
หรือหากไปตีชิด ทาฝ้าเพดาน(ชายคา) ด้านนอกบ้าน ก็จะดันจนเครื่องหลังคา มีปัญหาง่าย ต่างกับไม้สักหรือ
มะค่าที่อ่อน/แข็ง แต่ยืดหดตัวน้อยกว่า ถ้าเป็นตะเคียนทองแท้ (ต้องมีรอยมอดป่า ) การยืดหดค่ อนข้างน้อยมาก
นาไปทาวงกบ
                    ไม้ตะเคียนทอง เป็นต้นไม้ใหญ่และสูงมากขึ้นเป็นหมู่ตามป่าดิบชื้นทั่วไปลักษณะเนื้อไม้มีสี เหลือง
หม่นสีน้าตาลอมเหลือง มักมีเส้นสีขาวหรือเทาขาวผ่านเสมอ สีที่ผ่านนี้เป็นท่อน้า มันหรือยาง เสี้ยนมักสับสน
เนื้อละเอียดปานกลางแข็ง เหนียว ทนทาน ทนปลวกได้ดี เมื่อนาไปเลื่อย ไสกบตกแต่งและชักเงาได้ดีมาก
น้าหนักโดยเฉลี่ย 750 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ในการก่อสร้างอาคาร ไม้หมอนรางรถไฟ ไม้ชนิดนี้นิยมใช้
ทาเรือมาก และยังใช้งานได้ดีทุกอย่างที่ต้องการความแข็งแรง เหนียวและทนทาน
                    ไม้ตะแบก เป็นต้นไม้สูงใหญ่ตอนโคนมีลักษณะเป็นพู ขึ้นในป่าเบญจพรรณชื้นและแล้งทั่ วไป
ลักษณะเนื้อไม้สีเทาจนถึงสีน้า ตาลอมเทา เสี้ยนตรงหรือเกือบตรง เนื้อละเอียดปานกลาง เป็นมัน แข็งเหนียว
แข็งแรงทนทานดีถ้าใช้ในร่ม ไม้ตากแดดตกฝนใช้ทา เสาบ้าน ทาเรือ เครื่องกสิกรรม ไม้ตะแบกชนิดลายใช้ทา
เครื่องเรือนได้สวยงามมาก ใช้ทาด้ามมีด ไม้ถือ กรอบรูป ด้ามปืน เป็นต้น
                    ไม้ชัก เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณขึ้นทั่วประเทศเว้นแต่ทางภาคเหนือ
ลักษณะเนื้อไม้สีน้า ตาลอ่อนถึงแก่เสี้ยนตรงพอประมาณเนื้อหยาบและสับสน แข็งพอประมาณเหนียวทนทาน
นาไปเลื่อย ไสกบตบแต่งได้ยาก บางครั้งเรียกว่าเต็งดง น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 961 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
ใช้ทาหมอนรางรถไฟ ใช้ก่อสร้าง เช่น ทาโครงสร้าง ตง คาน โครงหลังคา พื้น
                    ไม้เคี่ยม เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูงตรง ขึ้นชุกชุมในป่าดิบชื้นทางภาคใต้บางแห่งใหญ่
วัดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ถึง 3 เมตร ลักษณะเนื้อไม้สีน้าตาลหรือสีน้าตาลอ่อน ทิ้งไว้นานเป็นสีน้าตาลแก่หรือเกือบดา
เสี้ยนค่อนข้างสั้นเนื้อละเอียดแข็ง เหนียว หนัก แข็งแรงมาก ใช้ในน้าได้ทนทานดี นาไปเลื่อยไสกบตบแต่ง
ได้ค่อนข้างง่าย น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 800 – 990 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาหมอนรางรถไฟ
โครงสร้างที่ต้องการความแข็งแรงมาก เช่นสะพาน แพ พื้น ใช้ในที่แจ้งทนแดดทนฝนดีมาก
                    ไม้มะค่าแต้ เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดสูงใหญ่ขึ้นประปรายในป่าแดงและป่าเบญจพรรณ
ลักษณะเนื้อไม้สีน้า ตาลอ่อนถึงสีน้า ตาลแก่ เลื่อยทิ้งไว้นานสีจะเข้มขึ้น มีเส้นเสี้ยน ผ่านซึ่งมีสีแก่กว่าสี พื้น
เสี้ยนสับสนเนื้อค่อนข้างหยาบ แต่สม่าเสมอเป็นมันเลื่อม แข็งและทนทานมาก ทนมอดปลวกได้ดี เลื่อยไสกบ
ตกแต่งได้ยาก ถ้าตอกตะปูลงในแก่นไม้จะตอกไม้ยากและตะปูมักคดงอเพราะความแข็งแรงของไม้                       น้าหนัก
โดยเฉลี่ยประมาณ 1,090 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ในการก่อสร้างต่างๆ ทาไม้หมอนรางรถไฟ เครื่องเรื อน
เป็นต้น
                    ไม้ประดู่ เป็นไม้ต้นสูงใหญ่ ขึ้นในเบญจพรรณชื้นและแล้งทั่วไปเว้นแต่ทา งภาคใต้ มีชุกชุมทาง
ภาคเหนือและภาคอีสาน ลักษณะเนื้อไม้สีแดงอมเหลืองถึงสีแดงอย่างสีอิฐแก่ สีเส้นเสี้ยนแก่กว่าสีพื้น บางทีมี
ลวดลายสวยงามมาก เสี้ยนสับสนเป็นริ้ว เนื้อละเอียดปานกลาง แข็งและทนทาน ไสกบตกแต่งได้ดีและชักเงาได้ดี
น้าหนักโดยเฉลี่ย 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ในการก่อสร้าง เครื่องเรือนที่สวยงาม ทาด้ามเครื่องมือและ
สิ่งอื่นๆ ที่ต้องการความแข็งแรงทนทาน ในประเทศจีนและญี่ปุ่นนิยมใช้ทา เครื่องเรือนกันมาก ไม้ประดู่ส่วนใหญ่
คือ ประดู่แดง หรือประดู่เหลือง ความแข็งใกล้เคียงกับไม้แดง แต่ยืดหดน้อยกว่า



นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                        หน้า 6
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                                                                  ั

           2. ไม้เนื้อปานกลาง
           ไม้เนื้อปานกลาง เป็นไม้ที่มีเนื้ออยู่ในระดับปานกลาง มีความแข็งแรงและทนทานพอประมาณ เนื้อไม้
มีทั้งชนิดเนื้อหยาบไปจนถึงเนื้อละเอียด แต่ส่วนใหญ่จะเป็นเนื้อไม้ละเอียด เสี้ยนไม้ตรงหรือเกือบตรง จึงสะดวก
ต่อการเลื่อย ไสกบหรือตกแต่ง และเนื่องจากส่วนใหญ่จะเป็นไม้ที่มีลวดลายสวยงาม จึง นิยมนามาใช้ในการทา
เครื่องเรือน เป็นไม้ที่มีน้าหนักตั้งแต่ประมาณ 690 ถึง 1,130 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ไม้เนื้อปานกลางได้แก่
                     ไม้สัก เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ขึ้นเป็นหมู่ในป่าเบญจพรรณทางภาคเหนือและบางส่วนของ
ภาคกลางและตะวันตกลักษณะ เนื้อไม้สี เหลืองทองนานเข้าจะกลายเป็นสีน้า ตาลหรือน้าตาลแก่มีกลิ่นเหมือน
หนังฟอกเก่าๆ และมีน้ามันในตัวมักมีเส้นสีแก่ แทรกเสี้ยนตรงเนื้อหยาบและไม่สม่า เสมอ แข็งพอประมาณ ปลวก
มอดไม่ทาอันตราย นาไปเลื่อย ไสกบตกแต่งง่าย แกะสลักได้ดี ชักเงาได้ง่ายและดีมากเป็นไม้ที่ผึ่งให้แห้งได้ง่าย
และอยู่ตัวดี น้าหนักโดยประมาณ 640 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ไม้สักนิยมทาเครื่องเรือน ทาบานประตูหน้าต่าง
แกะสลักต่างๆ
                     ไม้ยาง เป็นต้นไม้สูงใหญ่ ไม่มีกิ่งที่ลาต้น มักขึ้นเป็นหมู่ในป่าดิบชื้น และที่ต่าชุ่มชื้น ตามบริเวณ
ใกล้เคียงแม่น้าลาธารในป่าดิบและป่าอื่นๆ ทั่วไป บางชนิดสามารถเผาเอาน้า มันยางได้ (แต่เป็นคนละชนิดกับ
ต้นยางพารา) ลักษณะเนื้อไม้สีแดงเรื่อหรือสีน้าตาลหม่นเสี้ยนมักตรง เนื้อหยาบ แข็งปานกลาง ใช้ในร่ มทนทานดี
เลื่อยไสกบตกแต่งได้ดี น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 650 – 720 กิโลเมตรต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ในงานก่อสร้างทั่วไป
นิยมใช้กันมากคือใช้เป็นไม้ฝา ไม้คร่าว ฝ้าเพดาน คร่าวฝา
                     ไม้กระบากหรือไม้กะบาก เป็นต้นไม้สูงใหญ่ขึ้นปะปรายในป่าดิบชื้นและป่าเบญจพรรณชื้นทั่ว
ประเทศ มีอยู่หลายชนิดแต่ในส่วนเนื้อไม้และการใช้ มีลักษณะคล้ายคลึงมากใช้ร่วมกันได้ดีลักษณะเนื้อไม้ โดยรวม
มีสีตั้งแต่นวลเหลืองถึงน้าตาลอ่อนแกมแดงเรื่อๆ เสี้ยนมักตรงเนื้อหยาบแต่สม่าเสมอ แข็ง เหนียว เด้งพอประมาณ
เลื่อยไสกบตกแต่งได้ไม่ยาก ข้อเสียคือเนื้อเป็นทรายทา ให้กัดคมเครื่องมือ ผึ่งแห้งง่าย น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ
600 กิโลเมตรต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาแบบหล่อคอนกรีตได้ดีเพราะถูกน้า แล้วไม่บิดงอหรือโค้ง ทาเครื่องเรือน
ราคาถูก ทากล่องใส่ของ เก้าอี้
                     ไม้ซุมแพรก เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นประปรายตามป่าดิบชื้นทางภาคตะวันออก เช่นทางอาเภอ
ศรีราชา จังหวัด ชลบุรี และในภาคกลางบางแห่ง ลักษณะเนื้อไม้เมื่อเลื่อยหรือตัดใหม่ๆ จะเป็นสีแดงเข้ มเมื่อทิ้งไว้
ถูกอากาศจะเป็นสีน้า ตาลอมแดงเป็นมันเลื่อม เสี้ยนมักตรงและสม่า เสมอ เป็นริ้วห่างๆเหนียวแข็ง ใช้ในร่ม
ทนทานดี เลื่อยไสกบตกแต่งได้ง่าย ชักเงาได้ดี น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 640 กิโลเมตรต่อลูกบาศก์เมตร
ใช้ก่อสร้าง เช่น ทาพืน ฝา
                        ้
                     ไม้นนทรี เป็นต้นไม้ขนาดกลาง ขึ้นในป่าดิบชื้นและป่าโป่รงชื้น ลักษณะไม้สีชมพูอ่อน ถึงน้าตาล
แกมชมพู เป็นมันเลื่อม เสี้ยนตรงหรือเป็นลูกคลื่น หรือสับสนบ้างเล็กน้อย เนื้อหยาบปานกลาง เลื่อยผ่า ไสกบ
ตกแต่งได้ง่ายๆ น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 575 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาไม้พื้นเพดานและฝา
ทาเครื่องเรือน หีบใส่ของต่างๆ
                     ไม้มะม่วงป่า เป็นต้นไม้ใหญ่ ขึ้นห่างๆกันในป่าดิบชื้นและป่าเบญจพรรณ หรือตามที่ชุมชื้นทั่วไป
ลักษณะเนื้อไม้ไม่มีแก่นมากนัก สีน้าตาลไหม้ เสี้ยนค้อนข้างตรง เนื้อเป็นมันเล็กน้อย แข็งเหนียว ใช้ในร่มทนทานดี
เลื่อมไสกบง่าย น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 600 กิโลเมตรต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาเครื่องเรือน หีบใส่ของ ไม้บรรทัด
ปอกออกมาเป็นแผ่นบางๆ ใช้ทาไม้อัด
                     ไม้กระท้อน เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ขึ้นตามป่าดิบชื้นทั่วประเทศ ลักษณะเนื้อไม้สีแดงเรื่อๆ ปนเทา
เสี้ยนไม้ตรง เนื้อค่อนข้างหยาบ แข็งแรงปานกลาง ใช้ในร่มทนทานพอสมควร เลื่อนไสกบตบแต่งได้ง่าย ขัดและ
ชักเงาได้ ผึ่งให้แห้งได้ง่าย แต่หดตัวมาก ใช้ทาพื้น เพดาน เครื่องเรือน
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                              หน้า 7
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                                                               ั

          3. ไม้เนื้ออ่อน
          ไม้เนื้ออ่อน เป็นไม้ที่เนื้ออ่อนและหยาบ มีความแข็งแรงละทนทานน้อยที่สุด มอดและปลวกชอบทาลาย
การยืดหดตัวไม่สม่าเสมอมากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่ชนิดของไม้ สีของเนื้อไม้ก็แตกต่างกันออกไปจากสีอ่อนไปจนถึง
สีเกือบเข้ม ไม้ชนิดนี้จะมีน้าหนักตั้งแต่ประมาณ 500 ถึง 870 กิโลกรัมต่อลูกบาศ์กเมตร ไม้เนื้ออ่อน ได้แก่
                     ไม้สยาขาว เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นตามไหล่เขา และบนเขาในป่าดิบทางภาคใต้บางจังหวัด เช่น
ยะลา นราธิวาส ลักษณะเนื้อไม้สีชมพูอ่อนแกมขาวถึงน้าตาลอ่อนแกมแดง มีริ้วสีแก่กว่าสีพื้นเป็นมันเลื่อม เสี้ยน
สับสนเนื้อหยาบอ่อน ค่อนข้างเหนียว ทนทานในร่ม เลื่อย ไส ผ่าได้ง่าย น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 480 กิโลกรัม
ต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาเครื่องเรือนและส่วนของอาคารที่อยู่ในร่ม เปลือกใช้ทาไม้อัดได้
                     ไม้ก้านเหลือง เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขึ้นตามริมน้า แม่น้า ลาธารหรือในที่ชุ่มชื้น
ทั่วไปลักษณะเนื้อไม้สีเหลือง เข้มถึงสีเหลืองปนแสด เสี้ยนตรงละเอียดพอประมาณ นาไปเลื่อยไสกบได้ง่าย ชักเงา
ได้ดี น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 540 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาพื้น ฝา เครื่องเรือน หีบใส่ของ
                     ไม้มะยมป่า เป็นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ขึ้นประปรายในป่าดิบชื้นหรือป่าเบญจพรรณชื้น
ทั่วไป ลักษณะเนื้อไม้ไม่มีแก่นสี ถ้าถูกอากาศนานๆ สีจะนวลขึ้น เสี้ยนตรง เนื้อหยาบ แต่สม่าเสมอและอ่อน
ไสกบได้ง่าย น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 400 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาก้านไม้ขีดไฟ กลักไม้ขีดไฟ หีบใส่ของ
ปัจจุบันใช้ทาเครื่องเรือนต่างๆ
                     ไม้ต้นมะพร้าว เนื้อมีความหนาแน่นใช้เป็นโครงสร้างได้ ความหนาแน่นตรงริมมีมากกว่า
ตรงกลางต้น ตอนกลางมีความหนาแน่น 400 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร                    แต่ตอนริมมีความหนาแน่นถึง
600 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

ตาหนิของไม้ (Defects in wood)
         ตาหนิของเนื้อไม้เกิดจากสาเหตุ 4 ประการ คือ
                   1. ตาหนิเกิดจากธรรมชาติ
                   2. ตาหนิเกิดจากตาไม้
                   3. ตาหนิเกิดจากการสูญเสียความชื้น
                   4. ตาหนิเกิดจากการใช้เครื่องมือกล
                   1. ตาหนิเกิดจากธรรมชาติ(Natural defects) ตาหนิเกิดจากธรรมชาติ มีหลายลักษณะด้วยกัน
พอจะแบ่งได้ดังนี้
                          1.1 เสี้ยนขวาง (Cross Grain)เป็นตาหนิเนื่องจากมีเสี้ยนบิดเป็นเกลียว เมื่อปอกเปลือก
ออกจะเห็นได้อย่างชัดเจน รอยบิดเป็นเกลียวจะแตกเป็นแนวขนานกับเสี้ยนไม้ เมื่อแปรรูปไม้จะพบว่า อาการบิด
เช่นนั้นทาให้เกิดเสี้ยนขวางได้
                          1.2 เสี้ยนทะแยง (Diagonal Grain) เป็นตาหนิเกิดจากการเลื่อยไม้ซุงให้เป็นแผ่น ผ่าให้
ขนานกับไส้ไม้ หรือขนานกับเปลือก เมื่อแปรรูป ออกเป็นแผ่น ไม้บางแผ่นซึ่งอยู่ตรงกับการเรียงของเสี้ยนก็จะเกิด
เสี้ยนขวางขึ้น สาหรับไม้ที่มีเสี้ยนสน เสี้ยนบิด เป็นลักษณะประจาของไม้อยู่แล้ว หากมีการแปรรูปออกเป็นแผ่น
ไม้แผ่น ก็จะมีเสี้ยนบิดและเสี้ยนขวาง
                   2. ตาหนิเกิดจากตาไม้ (Knost defect) เกิดจากส่วนกิ่งที่ เจริญเติบโตทางส่วนสูงพร้อมๆ กับ
ลาต้นในระยะกิ่งยังมีชีวิตอยู่ เมื่อกิ่งตายก็จะหลุดร่วง แต่บางส่วนที่ยังติดอยู่กับต้นไม้ นานหลายปีเข้าเนื้อไม้จะหุ้ม
ส่วนที่ตายไปแล้ว แต่ไม่ประสานเป็นเนื้อเดียวกันได้ เมื่อแปรรูปไม้ออกเป็นแผ่นจะเห็นได้ชัดเจน

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                          หน้า 8
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                                                          ั

                  3. ตาหนิเกิดจากการสูญเสียความชื้น (Seasoning or Drying defects) ตาหนิเกิดจาก
การสูญเสียความชื้นในเนื้อไม้ที่ถูกโค่นลง ไม้ที่ถูกตัดลงในที่แจ้งถูกแดดเผา เนื้อไม้จะแห้งและเกิดจุดแห้งขึ้น
เมื่อไม้ถูกแปรรูปออกเป็นแผ่นจะเห็นรอยผุได้ชัดเจน ตาหนิที่เกิดจากการสูญเสียความชื้นนี้ ยังทาให้เกิดตาหนิ
ในลักษณะต่างๆ กัน เช่น รอยร้าว รอยปริ รอยแตก เป็นต้น
                  4. ตาหนิที่เกิดจากการใช้เครื่องมือกล (Machine defects) ตาหนิเกิดจากการใช้เครื่องมือกล
ได้แก่ การแปรรูป การไสกบ ตกแต่ง ก่อนที่จะนาไปใช้ประโยชน์ บางครั้งทาให้เกิดตาหนิขึ้นได้ คือ
                            4.1 Raised Grain คือลักษณะของเสี้ยนไม้โผล่ขึ้น เมื่อนาไปไสโดยที่ไม้นั้นมีความชื้น
ทาให้ผิวไม้เกิดเป็นขุยเสี้ยนโผล่ขึ้นมา
                            4.2 Loosened Grain คือลักษณะเสี้ยนหลุดออกไปเนื่ องจากเครื่องมือกล เช่น กบที่มี
ใบมีดทื่อ ทาให้ผิวบางตอนเกิดเสี้ยนหลุดออก หรือฉีกขาดออกไป
                            4.3 Fuzzy Grain ลักษณะที่เกิดจากการไสด้วยกบ เครื่องมือที่มีใบมีดทื่อ ทาให้กลุ่ม
เสี้ยนหลุดออกมา
                            4.4 Trow Grain คือลักษณะตาหนิอันเนื่องมาจาการไสด้วยเครื่องและไม้มีความชื้น
จึงทาให้ผิวของไม้เกิดเป็นเสี้ยนหนามขึ้น

การเลือกไม้
         การพิจารณาเลือกไม้เพื่อใช้ในการก่อสร้าง หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใดก็ตาม สิ่งสาคัญที่จะต้องคานึงถึง
เป็นสิ่งแรกก็คือ คุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับไม้และการใช้ไม้ ราคา ตลอดจนงบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อการนั้น
         คุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับไม้และการใช้ไม้ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น ได้แก่
                  1. สภาพแวดล้อมของการใช้ไม้
                  2. ความสวยงามของเนื้อไม้
                  3. ตาหนิของเนื้อไม้
                  4. ความแข็งแรงและความทนทานของไม้
                  5. ความง่ายต่อการเลื่อยและไสตกแต่ง
         สภาพแวดล้อมของการใช้ไม้ หมายถึงสภ าพทั่วไปในที่ซึ่งไม้ถูกนาไปใช้ เช่นใช้กลางแจ้ง ใช้ในร่มหรือ
ใช้กับอาคารที่มีหรือไม่มีระบบป้องกันปลวก ตาหนิในเนื้อไม้นอกจ ากจะทาให้ไม้ขาดความแข็งแรงแล้ว ยังทาให้
ไม่สวยงาม
         ดังนั้นในกรณีที่ต้องการความสวยงาม เช่น การทาเครื่องเรือน ก็จะต้องมี ความพิถีพิถันในการเลือกไม้
เป็นพิเศษ ความแข็งแรงและความทนทาน ก็เป็นคุณสมบัติที่สาคัญอีกอันหนึ่ง ที่จะต้องพิจารณาเป็นอันดับแรก
ในการเลือกไม้สาหรับก่อสร้าง นอกจากนั้นไม้ที่เหมาะต่อการนาม าใช้ก็ควรจะง่ายต่อการเลื่อยและการไสตกแต่ง
อีกด้วยเช่นกัน คุณสมบัติเหล่านี้นอกจากจะช่วยให้ได้รับประโยชน์จากการใช้งานสูงสุดแล้ว ยังช่วยให้สะดวกต่อ
การทางานอีกด้วย




นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                     หน้า 9
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                                               ั

                                        บรรณานุกรม

              ฉวีวรรณ รมยานนท์. คู่มือการเรียนการสอนกลุ่มวิชาการงานอาชีพ งานช่างพื้นฐาน.
                      กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด, 2536.
              เฉลียว โพธิพิรุฬห์. เทคโนโลยีงานไม้. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2533.
              ชาลี ลัทธิ,วรพงษ์ ลีพรหมมา, ชวิน เป้าอารีย์ และ สุรเดช สุทธาวาทิน. ช่างทั่วไป.
                      กรมอาชีวศึกษา, 2527.
              ประณต กุลประสูติ. เทคนิคงานไม้. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง จากัด, 2533.
              วิลาศ กมลลานนท์. คู่มือการเรียนการสอนกลุ่มวิชาการงานและอาชีพ โครงงานช่างไม้ .
                      กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2533.
              บทที่ 3 งานไม้ (Wood Word). สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2555, จาก
                      http://www.snru.ac.th/
              งานไม้. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2555, จาก http://www.st.ac.th/engin/wood.html
              เว็บไซด์ที่ทางานไม้ให้เป็นเรื่องง่าย. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2555, จาก
                      http://www.thaicarpenter.com




นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                        หน้า 10
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                                    ั

                                                แบบฝึกหัด
                                     เรื่อง ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถิ่น

คาชี้แจง: ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. ช่างไม้มีกี่ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จงยกตัวอย่างประโยชน์ของงานช่างไม้ มาอย่างน้อย 10 ข้อ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ให้นักเรียนอธิบายวิธีการการหรือโคนต้นไม้ที่ถูกวิธี มาพอเข้าใจ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                             หน้า 11
ช่างไม้ครุ ภณฑ์
                                                                 ั

4. ให้นักเรียนอธิบายลักษณะ ประโยชน์ของไม้ต่อไปนี้
         ไม้เนื้อแข็ง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
         ไม้เนื้อปานกลาง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
         ไม้เนื้ออ่อน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. สาเหตุที่ทาให้เกิดตาหนิของไม้ (Defects in wood) มีอะไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                          หน้า 12

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อMuta Oo
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้greatzaza007
 
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).docแบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).docAnuwatBhumthavorn
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นอนุชา โคยะทา
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 

Mais procurados (20)

แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).docแบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 

Semelhante a ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน

สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวานBenjawan Punkum
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1Fiction Lee'jslism
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานRachaya Smn
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4Utsani Yotwilai
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Mint Zy
 
ใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างDuangsuwun Lasadang
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
โครงงานไม้แกะสลักไทย
โครงงานไม้แกะสลักไทยโครงงานไม้แกะสลักไทย
โครงงานไม้แกะสลักไทยRujruj
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7chunkidtid
 
Com_11
Com_11Com_11
Com_11Rujruj
 
Com_21
Com_21Com_21
Com_21Rujruj
 

Semelhante a ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน (20)

สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
 
Co op
Co opCo op
Co op
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
 
11 6
11 611 6
11 6
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่าง
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
โครงงานไม้แกะสลักไทย
โครงงานไม้แกะสลักไทยโครงงานไม้แกะสลักไทย
โครงงานไม้แกะสลักไทย
 
Com
ComCom
Com
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
Com_11
Com_11Com_11
Com_11
 
Com_21
Com_21Com_21
Com_21
 

Mais de อำนาจ ศรีทิม

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1อำนาจ ศรีทิม
 

Mais de อำนาจ ศรีทิม (20)

ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
Picasa[1]
Picasa[1]Picasa[1]
Picasa[1]
 
Google docs[1]
Google docs[1]Google docs[1]
Google docs[1]
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
You tube[1]
You tube[1]You tube[1]
You tube[1]
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 

ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน

  • 1. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถิ่น งานช่างไม้ ในปัจจุบันงาน ช่างไม้ ยังมีความสาคัญอยู่มากถึงแม้ว่าไม้จะกลายเป็นวัสดุที่หายากและแพงกว่าวัสดุ ทดแทนอื่น แต่ไม้ก็ยังเป็นส่วนประกอบหลักที่ยังจาเป็นต้องใช้ เช่น วงกบ ประตู หน้าต่าง ตลอดจนถึงผลิตภัณฑ์ ที่ใช้ตกแต่งภายในบ้าน อาชีพ ช่างไม้ จึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะงานช่างไม้เป็นงานที่ต้องอาศัยทักษะและ ความชานาญในการทางาน ผู้ที่ประกอบอาชีพช่างไม้จะต้องมีความรั กในหน้าที่ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความขยั น อดทน และมีความรับผิดชอบสูง อีกทั้งยังสามารถใช้วัสดุที่เป็นไม้มาสร้างสรรค์เป็นงานไม้ได้อย่างเหมาะสม ลักษณะของงานอาชีพนี้คือ การปฏิบัติเกี่ยวกับงานช่างไม้ทั่วๆไป เช่น การตัด เลื่อย ไส ปรับ ตอกตะปู ทากาว ทาโครง ทารูปร่างการก่อสร้าง ติดตัง ประกอบโครงสร้าง ทาโครงไม้ชั่วคราว ซ่อมแซมและดัดแปลงส่วนต่างๆ ้ ที่เป็นไม้ บุฝา มุงหลังคา ทาเครื่องเรือน เครื่องใช้ เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ ประเภทของงานช่างไม้ จาแนกตามลักษณะงานได้ดังนี้ 1. ช่างไม้ก่อ สร้าง เรียนหนักไปทางการก่อสร้างอาคาร การอ่านแบบ การแยกวัสดุรายการและอุปกรณ์ ตลอดจนขั้นตอนในการดาเนินงาน งานประเภทนี้ไม่ปราณีตเรียบร้อยนัก แต่ต้องมีความเข้าใจลักษณะของงาน โดยงานช่างไม้ก่อสร้างนั้น จะเป็นงานที่เกี่ยวกับการก่อสร้างอาคาร บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย ต้องอาศัย ความอดทน และความแข็งแรงของร่างกายเป็นอย่างมาก เพราะต้องปฎิบัติหน้าที่กลางแจ้ง หรือในที่สูง มีโอกาส เสี่ยงต่อแสงแดด ฝุ่นละออง ฝนตก หรือการพลักตกจากที่สูงได้ จึงต้องมีความเป็นมืออาชีพและมีทักษะใน การ ทางานเป็นอย่างมาก 2. ช่างไม้ครุภัณฑ์ เรียนเกี่ยวกับการเขียนแบบและอ่านแบบครุภัณฑ์ แบบเครื่องเรือน เฟอร์นิเจอร์ การแต่งไม้ เข้าเดือย การต่อไม้ เพลาะไม้ เจาะไม้ การใช้และเลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมซึ่งใช้ร่วมกับไม้ เช่น กุญแจ บานพับ บานเลื่อน บานกระจก สาหรับงานช่างไม้ครุภัณฑ์ จะเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับก ารสร้างเครื่องเรือนต่างๆ เฟอร์นิเจอร์ไม้ อุปกรณ์ ช่างไม้ เครื่องมือช่างไม้ ชุดตกแต่งบ้านที่ทาจากไม้ และผลิตภัณฑ์จากไม้ทั้งหมด ผู้ที่ประกอบอาชีพช่างไม้นี้ควร เป็นบุคคลที่มีความละเอียด รอบคอบ มีความปราณีต แต่ไม่มีความเสี่ยงในการปฎิบัติ งานเนื่องจากทาหน้าที่ ภายในโรงงานไม้ ที่มีเครื่องจักร เครื่องมือเพียบพร้อม 3. ช่างไม้แบบ เรียนเกี่ยวกับการทา แบบหล่อโลหะ ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ ช่างไม้ประเภทนี้ต้องเป็น คนละเอียด และทางานปราณีตเรียบร้อย เข้าใจเรื่องการหดตัวขยายตัวของวัสดุแต่ละชนิด เข้าใจแบบอย่างถ่องแท้ จึงจะทางานได้ดี สาหรับงานช่างไม้ออกแบบ จะเป็นงานที่เกี่ยวกับการทาแบบงานไม้ แบบหล่อโลหะ เช่น ชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์ เป็นต้น ช่างไม้ ออกแบบควรมีความละเอียดปราณีต สร้างไม้แบบโดยไม่ผิดเพี้ยน และมีเทคนิคใน การใช้เครื่องมือได้อย่างชานาญ สุดท้าย 4. ช่างไม้แกะสลัก ทาลวดลายต่างๆ บนไม้ เรียนการวาดเขียน วาดลวดลายต่างๆได้ รู้จักใช้เครื่องมือ ในการแกะสลัก งานช่างไม้ แกะสลัก จะเป็นงานที่เกี่ยวกับการออกแบบ ตกแต่ง สร้างสรรค์ แกะสลักไม้ลวดลายต่างๆ ลงบนผลิตภัณฑ์ไม้ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 1
  • 2. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั ประโยชน์ของงานช่างไม้ ประโยชน์ของงานช่างไม้ มีทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น เพราะช่างไม้สามารถ ใช้งานเครื่องมือเกี่ยวกับงานไม้ ได้อย่างชานาญงาน และปลอดภัย ช่างไม้ยังช่วยในเรื่องของการซ่อมแซมดูแลรักษางานไม้ มีความรู้ความ เชี่ยวชาญในวิชาชีพสามารถนาไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัว พร้อมทั้งยังสร้างลักษณะนิสัยที่ดี ให้กับตัวเองมีความรับผิดชอบด้วย สาหรับครอบครัว ก็สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ช่วยประหยัด รายจ่าย เนื่องจากสามารถซื้อหางานไม้ในราคางาน ไม้ที่ถูกกว่าบุคคลทั่วไป รู้จักบารุงรักษาของใช้ภายในบ้าน ทาให้เกิดช่างไม้มืออาชีพที่มีฝีมือคุณภาพสูง เกิดการอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรอย่างมีประโยชน์สูงสุด ช่างไม้ ยังมี เทคนิคการใช้งานเครื่องมือที่ถูกต้องตามหลักการ มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งแปลกใหม่ ไอเดียการออกแบบผลงาน ผลิตภัณฑ์จากไม้ มีการสร้างสรรค์งานไม้แบบมืออาชีพ และบ่งชี้ให้สังคมเห็นคุณค่าของงานช่างไม้มากขึ้นอีกด้วย 1. ประโยชน์ต่อตนเอง • สามารถใช้เครื่องที่ทาไม่ได้ถูกวิธี • สามารถซ่อมแซมดูแลรักษาได้ • สามาใช้เครื่องมือได้อย่างปลอดภัย • นาความรู้ไปประยุกต์ใช้อย่างถูกวิธี • สร้างลักษณะนิสัยให้กับตัวเองมีความรับผิดชอบ • เป็นพื้นฐานการงานอาชีพ 2.ประโยชน์ต่อครอบครัว • สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ • ประหยัดรายจ่ายของครอบครัว • รู้จักบารุงรักษาของใช้ภายในบ้าน • เพิ่มพูนรายได้ให้กับครอบครัว 3.ประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ • เกิดช่างฝีมือที่มีคุณภาพ • เกิดการอนุรักษ์และใช้ทรัพยากร • ประชาชนมีทักษะในการประกอบอาชีพ • มีการประดิษฐ์คิดค้น • สังคมเห็นคุณค่าของงานไม้ ลักษณะและธรรมชาติของไม้ ต้นไม้ทุกชนิดที่เราพบเห็นลาต้นใหญ่โต มีกิ่งก้านสาขามากมายนั้น เมื่อเกิดขึ้นใหม่ๆ เป็นไม้เพียงต้นเล็กๆ ที่อ่อนนุ่ม ก่อนจะเจริญงอกงามแตกกิ่งก้านสาขาออกไปเป็นลาต้นใหญ่ๆ ก็ใช้เวลาหลายสิบปี การเติบโตของต้นไม้ จะเติบโตขึนโดยมีเนื้องอกเพิ่มขึ้นโดยรอบลาต้นอ่อนที่เกิดมาแต่เดิมเป็นชั้นๆ หรืองอกเป็นวงซ้อนกันออกไปเรื่อยๆ ้ ในปีหนึ่งๆ ต้นไม้จะมีโอกาสโตขึ้นได้ชั่วฤดูหนึ่งเท่านั้น สิ้นฤดูแล้วไม้จะไม่เจริญเติบโตต่อไปอีก ดังนั้นเมื่อเราตัด ต้นไม้ออกเป็นแว่น จะเห็นรอยเป็นวงๆ ซ้อนกันอยู่มากมาย ชิดกันบ้าง ห่างกันบ้าง วงเหล่านี้คือรอยที่แสดง การขยายตัวโตขึ้นในฤดูหนึ่งๆ ดังแสดงในรูปภาพที่ 1.1 แสดงวงปีของต้นไม้ ในปีหนึ่งๆ ไม้จะโตมากน้อยเพียงใด สังเกตได้จากวงปี คือถ้าโตเร็ววงจะซ้อนกันห่างๆ แต่ถ้าโตช้าวงจะ ซ้อนกันชิดมาก ไม้ที่มีการเจริญเติบโตสม่า เสมอนั้นจะมีความแข็งแรงดีกว่าไม้ที่โตเร็วกว่าธรรมดา เพราะไม้ที่ โตเร็วกว่านั้นเนื้อจะอ่อนไม่แข็งแรง แต่ถ้าไม้โตช้าเนื้อไม้มักแข็งแรงมาก เปราะ และหักง่าย บางครั้งเราสามารถ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 2
  • 3. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั คาดคะเนอายุของต้นไม้ได้จากการนับวงเหล่านี้ คือ ถือว่าในปีหนึ่งต้นไม้จะงอกออกไปได้เพียงวงเดียวเท่านั้น แต่ก็ ไม่สม่าเสมอและแน่นอนนัก เพียงแต่เป็นการคาดคะเนคร่าวๆ เท่านั้น ภาพที่ 1.1 แสดงวงปีของต้นไม้ วิธีกานต้นไม้หรือโค่นไม้ วิธีกาน คือการเอาขวานถากเปลือกบริเวณโคนต้นออก ถ้าถากลึกจนถึงเนื้ อไม้ที่เป็นส่วนส่งอาหารเลี้ยง ลาต้น ต้นไม้นั้นก็ตายลงเอง ซึ่งเราเรียกว่ายืนตาย โดยมากจะกานทิ้งไว้ 1 ปี เพื่อให้ต้นไม้แห้งสนิทก่อนโค่น การโค่นลงทันทีในเวลาที่ต้องการนั้น จะได้ไม้ที่ไม่แห้งดีเหมือนไม้กาน ถ้าจาเป็นต้องโค่นไม้สดหรือไม้ดิบ เมื่อโค่นแล้วต้องรีบจัดการปอกเปลือกออกทันทีเพื่อให้ไม้แห้งเร็ว และควรทิ้งไว้ในที่แจ้งเพื่อให้ได้รับลม หรือรีบ เอาจมน้าเสียก่อนที่ยางไม้จะแข็งตัว การโค่นไม้เป็นงานที่สา คัญมาก ต้องพิจารณาดูทาเลให้ดี การที่ไม้ฟาดลง โดยแรงจะทาให้ไม้นั้นเสีย เช่น แตกร้าว ฉีก หรือถูกไม้อื่นๆ ข้างเคียงพลอยเสียไปด้วย หรืออาจเกิดอันตรายแก่ ผู้ทาการโค่น การโค่นต้องพิจารณาดูว่าจะให้ไม้ล้มไปทางใดจึงจะเหมาะ เพื่อช่วยลดความแรงในการฟาดลง เช่น ล้มไปทางเนินหรือเขา การโค่นไม้ใช้ขวานฟันทางด้านที่จะให้ล้มประมาณครึ่งต้น แล้วใช้เลื่อยๆ ลัดหลัง การที่ทา เช่นนี้ก็เพื่อต้องการให้ไม้ล้มไปทางรอยขวาน ส่วนตอที่เหลือไม่ควรเกิน 2 ศอกไม่ควรเหลือไว้มากเพราะจะทา ให้ เสียเนื้อไม้ ดังแสดงในรูปภาพที่ 1.2 แสดงการโค่นต้นไม้และการเปิดปีกซุง ภาพที่ 1.2 แสดงการโค่นต้นไม้และการเปิดปีกซุง ที่มา : ชาลี ลัทธิ และคณะ , 2527 นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 3
  • 4. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั การจักไม้และการผึ่งไม้ สาหรับวิธีจักซุงออกเป็นตัวไม้ ทาได้โดยการเลื่อยออกเป็นแผ่นๆ ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้กันโดยมาก ไม่ว่าเลื่อย โดยเครื่องจักรหรือเลื่อยมือก็ตาม การเลื่อยโดยวิธีนี้ ขั้นแรกให้เลื่อยตัดส่วนโค้งของไม้ออกเสียก่อนให้เป็นท่อนซุง สี่เหลี่ยม มีขนาดหัวซุงและปลายซุงเท่ากัน เรียกว่า การลอกปีกซุง แล้วจึงทาการโกรกออกเป็นแผ่นๆ ขนานไป ตามความยาวของซุง เมื่อเลื่อยออกเป็นแผ่นใหญ่ๆ แล้วจึงนามาเลื่อยออกเป็นไม้ขนาดต่างๆ ตามความต้องการ หลังจากทาการแปรรูปไม้แล้ว ต้องนามาผึ่งให้แห้ง การผึ่งไม้เป็นการทาให้ยางในเนื้อไม้แห้ง หรือหมดไป เป็นการ ป้องกันไม้ไม่ให้หดตัวและป้องกันการแตกร้าว การผึ่งไม้เป็นความประสงค์ที่จะได้ไม้ที่มีประสิทธิภาพในการใช้งาน หรือได้ไม้ที่มีคุณสมบัติที่ดีเท่าที่ควร จะเป็น เมื่อต้นไม้ถูกโค่นลง ยางไม้ซึ่งเป็นโลหิตหล่อเลี้ยง ความเจริญจะ ค่อยๆ แห้งลงพร้อมกับการยุบตัวลงทีละน้อย ซึ่งจะเห็นได้ว่าไม้จะหดตัวและมีน้าหนักเบาลง การหดตัวของไม้แต่ ละชนิดย่อม ไม่เหมือนกัน เช่น ไม้สักมีการหดตัวน้อย ไม้ยางหดตัวมาก วิธีผึ่งไม้ตามธรรมดา ที่ใช้กันอยู่ทั่วๆ ไปนั้น ได้แก่ การผึ่งลม วิธีนี้นิยมทากันมากเพราะทาได้ง่ายและไม่เป็นการสิ้นเปลืองมากนั ก การผึ่งชนิดนี้เป็นการ ทาให้ไม้ค่อยๆ แห้งลงทีละน้อย ไม้จึงไม่เปราะหรือแตกร้าว บิด งอ ดังแสดงในภาพที่ 1.3 แสดงการผึ่งหรือตากไม้ ภาพที่ 1.3 แสดงการผึ่งหรือตากไม้ ที่มา : ชาลี ลัทธิ และคณะ , 2527 ป่าไม้ในประเทศไทย ป่าไม้ในประเทศไทยแบ่งได้ เป็น 2 ประเภท คือป่าประเภทที่ไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest) และ ป่าประเภทที่ผลัดใบ (Decicuous Forest) ป่าไม้ประเภทที่ไม่ผลัดใบ ป่าประเภทนี้เป็นต้นไม้ที่มีใบสีเขียวชอุ่มตลอดปี ไม่มีระยะเวลาผลัดใบที่แน่นอน เมื่อใบไม้เก่าร่วงหล่นไป ใบใหม่ก็ผลิแตกออกมาแทนที่อยู่เรื่ อยๆ ป่าประเภทนี้มีอยู่ทั่วไปในประเทศไทย ซึ่งอาจแยกออกได้ตามลักษณะเด่น ของป่าไม้ได้เป็น 4 ชนิด 1.ป่าดงดิบหรือป่าดิบหรือป่าดิบชื้น (Tropical Rain Forest หรือTropical Evergreen Forest) 2.ป่าดงดิบเขา หรือ ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) 3.ป่าสนหรือป่าสนเขา (Coniferous Forest หรือ Pine Forest) 4.ป่าชายเลน หรือป่าเลนน้าเค็มหรือป่าโกงกาง (mangrove Forest) นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 4
  • 5. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั ป่าประเภทที่ผลัดใบ ป่าประเภทนี้คือป่าที่ต้นไม้ส่วนใหญ่ที่ขึ้นอยู่ทิ้งใบร่วงหล่นลงหมดในฤดูแล้งเหลือแต่กิ่ง พอถึงฤดูจึงเริ่ม ผลิใบใหม่ออกมา อาจแยกออกเป็น 2 ชนิด คือ 1.ป่าเบญจพรรณหรือป่าผสมผลัดใบ (Mixed Deciduous Forest) 2.ป่าแพะหรือป่าแดงหรือป่าโคก (Dry Deciduous Dipterocarp Forest) การจาแนกประเภทของไม้ ไม้จาแนกแบ่งเป็นไม้เนื้ออ่อน (softwood) ซึ่งปกติจะเป็นไม้ใบแคบและไม้เนื้อแข็ง (hardwood) ซึ่งเป็นไม้จากต้นไม้ใบกว้างอย่างไรก็ตามในปัจจุบัน เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงแยกประเภทของไม้ตาม หนังสือของกรมป่าไม้ที่ กส.0702/6679 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2517 ดังนี้คือ ให้แบ่งไม้ออกเป็น 3 ประเภท โดยถือเอาค่าความแข็งแรงในการดัดของไม้แข็งและความทนทานตามธรรมชาติของไม้นั้นๆ เป็นเกณฑ์ตามตาราง ดังนี้ ตารางแสดงความแข็งแรงของไม้และความต้านทานของไม้ ประเภทไม้ ความแข็งแรง (kg.cm 2 ) ความทนทาน ( ปี ) ไม้เนื้อแข็ง > 1000 > 10 ไม้เนื้อแข็งปานกลาง 600 – 1000 2 – 10 ไม้เนื้ออ่อน < 600 <2 1.ไม้เนื้อแข็ง ไม้เนื้อแข็งเป็นไม้ที่มีเนื้อแกร่งและเหนียวมีความแข็งแรงและทนทานต่อการใช้ท่ามกลางแสงแดดและฝน ได้ดีมาก เนื้อไม้มีทั้งชนิดเนื้อหยาบไปจนถึงเนื้อละเอียด ทั้งชนิดเสี้ยนไม่ตรงและเสี้ยนไม้สับสน ยากต่อการเลื่อย ไสกบและตกแต่ง แต่ขัดไม้ได้ดีเนื่องจากเนื้อไม้ส่วนใหญ่จะเป็นมั นในตัว ไม้ชนิดนี้ส่วนใหญ่จะมีสีเข้ม เป็นไม้ที่มี น้าหนักมาก โดยทั่วไปจะหนักตั้งแต่ประมาณ 720 ถึง 1,120 กิโลกรัม ต่อลูกบาศ์กเมตรหรือกว่านั้น ไม้เนื้อแข็ง บางชนิด ได้แก่ ไม้เต็ง เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขึ้นเป็นหมู่ตามป่าแดดทั่วไปยกเว้นภาคใต้ ลักษณะ เนื้อไม้เป็นสีน้าตาลอ่อน เมื่อแรกตัดทิ้งไว้นานจะเป็นสีน้าตาลแก่แกมแดง เสี้ยนสับสน เนื้อหยาบแต่สม่า เสมอ แข็งเหนียว แข็งแรงและทนทานมาก แห้งแล้วเลื่อยไสกบตกแต่งได้ยาก น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 1,040 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาหมอนรางรถไฟ เครื่องมือกสิกรรม โครงสร้างอาคาร เช่น ตง คาน วงกบ ประตูหน้าต่าง โครงหลังคา เสา ไม้รัง เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขึ้นเป็นหมู่ตามในป่าแดดทั่วไป ลักษณะเนื้อไม้มี สีน้าตาลอมเหลือง เสี้ยนสับสน เนื้อหยาบแต่สม่าเสมอ แข็ง หนัก แข็งแรงและทนทานมาก เลื่อยไสกบตกแต่ง ค่อนข้างยากเมื่อแห้งจะ มีลักษณะคุณสมบัติคล้ายไม้เต็ง ในบางครั้งเรียกว่าไม้เต็งรัง น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาเสาและโครงสร้างอาคารต่างๆ ทาหมอนรางรถไฟ ทาเครื่องมือกสิกรรม ไม้แดง เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ขึ้นทั่วไปในป่าเบญจพรรณแล้งและชื้น ลักษณะของเนื้อไม้มีสีแดง เรื่อๆ หรือสีน้าตาลอมแดง เสี้ยนเป็นลูกคลื่นหรือสับสน เนื้อละเอียดพอประมาณ แข็ง เหนียวแข็งแรงและทนทาน เลื่อยไสกบแต่งได้เรียบร้อยขัดชักเงาได้ดี น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 960 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ไม้นี้นิยม ในการก่อสร้างในส่วนที่ไม่ใช่โครงสร้าง เช่น พื้น วงกบประตูหน้าต่าง ทาเกวียน ทาเรือ หมอนรางรถไฟ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 5
  • 6. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั เครื่องเรือน เครื่องมือกสิกรรม ไม้แดงนี้ปลวกหรือเพรียงจะไม่ค่อยรบกวนและเป็นไม้ที่ต้านทานไฟในตัวด้วย ไม้แดงเป็นไม้ที่มีความแข็งมาก ทาให้เวลาเกิดความชื้นหรือร้อนและขยายตัวจะดันจนกาแพงแตกได้ (กรณีเป็นพื้น ) หรือหากไปตีชิด ทาฝ้าเพดาน(ชายคา) ด้านนอกบ้าน ก็จะดันจนเครื่องหลังคา มีปัญหาง่าย ต่างกับไม้สักหรือ มะค่าที่อ่อน/แข็ง แต่ยืดหดตัวน้อยกว่า ถ้าเป็นตะเคียนทองแท้ (ต้องมีรอยมอดป่า ) การยืดหดค่ อนข้างน้อยมาก นาไปทาวงกบ ไม้ตะเคียนทอง เป็นต้นไม้ใหญ่และสูงมากขึ้นเป็นหมู่ตามป่าดิบชื้นทั่วไปลักษณะเนื้อไม้มีสี เหลือง หม่นสีน้าตาลอมเหลือง มักมีเส้นสีขาวหรือเทาขาวผ่านเสมอ สีที่ผ่านนี้เป็นท่อน้า มันหรือยาง เสี้ยนมักสับสน เนื้อละเอียดปานกลางแข็ง เหนียว ทนทาน ทนปลวกได้ดี เมื่อนาไปเลื่อย ไสกบตกแต่งและชักเงาได้ดีมาก น้าหนักโดยเฉลี่ย 750 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ในการก่อสร้างอาคาร ไม้หมอนรางรถไฟ ไม้ชนิดนี้นิยมใช้ ทาเรือมาก และยังใช้งานได้ดีทุกอย่างที่ต้องการความแข็งแรง เหนียวและทนทาน ไม้ตะแบก เป็นต้นไม้สูงใหญ่ตอนโคนมีลักษณะเป็นพู ขึ้นในป่าเบญจพรรณชื้นและแล้งทั่ วไป ลักษณะเนื้อไม้สีเทาจนถึงสีน้า ตาลอมเทา เสี้ยนตรงหรือเกือบตรง เนื้อละเอียดปานกลาง เป็นมัน แข็งเหนียว แข็งแรงทนทานดีถ้าใช้ในร่ม ไม้ตากแดดตกฝนใช้ทา เสาบ้าน ทาเรือ เครื่องกสิกรรม ไม้ตะแบกชนิดลายใช้ทา เครื่องเรือนได้สวยงามมาก ใช้ทาด้ามมีด ไม้ถือ กรอบรูป ด้ามปืน เป็นต้น ไม้ชัก เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณขึ้นทั่วประเทศเว้นแต่ทางภาคเหนือ ลักษณะเนื้อไม้สีน้า ตาลอ่อนถึงแก่เสี้ยนตรงพอประมาณเนื้อหยาบและสับสน แข็งพอประมาณเหนียวทนทาน นาไปเลื่อย ไสกบตบแต่งได้ยาก บางครั้งเรียกว่าเต็งดง น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 961 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาหมอนรางรถไฟ ใช้ก่อสร้าง เช่น ทาโครงสร้าง ตง คาน โครงหลังคา พื้น ไม้เคี่ยม เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูงตรง ขึ้นชุกชุมในป่าดิบชื้นทางภาคใต้บางแห่งใหญ่ วัดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ถึง 3 เมตร ลักษณะเนื้อไม้สีน้าตาลหรือสีน้าตาลอ่อน ทิ้งไว้นานเป็นสีน้าตาลแก่หรือเกือบดา เสี้ยนค่อนข้างสั้นเนื้อละเอียดแข็ง เหนียว หนัก แข็งแรงมาก ใช้ในน้าได้ทนทานดี นาไปเลื่อยไสกบตบแต่ง ได้ค่อนข้างง่าย น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 800 – 990 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาหมอนรางรถไฟ โครงสร้างที่ต้องการความแข็งแรงมาก เช่นสะพาน แพ พื้น ใช้ในที่แจ้งทนแดดทนฝนดีมาก ไม้มะค่าแต้ เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดสูงใหญ่ขึ้นประปรายในป่าแดงและป่าเบญจพรรณ ลักษณะเนื้อไม้สีน้า ตาลอ่อนถึงสีน้า ตาลแก่ เลื่อยทิ้งไว้นานสีจะเข้มขึ้น มีเส้นเสี้ยน ผ่านซึ่งมีสีแก่กว่าสี พื้น เสี้ยนสับสนเนื้อค่อนข้างหยาบ แต่สม่าเสมอเป็นมันเลื่อม แข็งและทนทานมาก ทนมอดปลวกได้ดี เลื่อยไสกบ ตกแต่งได้ยาก ถ้าตอกตะปูลงในแก่นไม้จะตอกไม้ยากและตะปูมักคดงอเพราะความแข็งแรงของไม้ น้าหนัก โดยเฉลี่ยประมาณ 1,090 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ในการก่อสร้างต่างๆ ทาไม้หมอนรางรถไฟ เครื่องเรื อน เป็นต้น ไม้ประดู่ เป็นไม้ต้นสูงใหญ่ ขึ้นในเบญจพรรณชื้นและแล้งทั่วไปเว้นแต่ทา งภาคใต้ มีชุกชุมทาง ภาคเหนือและภาคอีสาน ลักษณะเนื้อไม้สีแดงอมเหลืองถึงสีแดงอย่างสีอิฐแก่ สีเส้นเสี้ยนแก่กว่าสีพื้น บางทีมี ลวดลายสวยงามมาก เสี้ยนสับสนเป็นริ้ว เนื้อละเอียดปานกลาง แข็งและทนทาน ไสกบตกแต่งได้ดีและชักเงาได้ดี น้าหนักโดยเฉลี่ย 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ในการก่อสร้าง เครื่องเรือนที่สวยงาม ทาด้ามเครื่องมือและ สิ่งอื่นๆ ที่ต้องการความแข็งแรงทนทาน ในประเทศจีนและญี่ปุ่นนิยมใช้ทา เครื่องเรือนกันมาก ไม้ประดู่ส่วนใหญ่ คือ ประดู่แดง หรือประดู่เหลือง ความแข็งใกล้เคียงกับไม้แดง แต่ยืดหดน้อยกว่า นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 6
  • 7. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั 2. ไม้เนื้อปานกลาง ไม้เนื้อปานกลาง เป็นไม้ที่มีเนื้ออยู่ในระดับปานกลาง มีความแข็งแรงและทนทานพอประมาณ เนื้อไม้ มีทั้งชนิดเนื้อหยาบไปจนถึงเนื้อละเอียด แต่ส่วนใหญ่จะเป็นเนื้อไม้ละเอียด เสี้ยนไม้ตรงหรือเกือบตรง จึงสะดวก ต่อการเลื่อย ไสกบหรือตกแต่ง และเนื่องจากส่วนใหญ่จะเป็นไม้ที่มีลวดลายสวยงาม จึง นิยมนามาใช้ในการทา เครื่องเรือน เป็นไม้ที่มีน้าหนักตั้งแต่ประมาณ 690 ถึง 1,130 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ไม้เนื้อปานกลางได้แก่ ไม้สัก เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ขึ้นเป็นหมู่ในป่าเบญจพรรณทางภาคเหนือและบางส่วนของ ภาคกลางและตะวันตกลักษณะ เนื้อไม้สี เหลืองทองนานเข้าจะกลายเป็นสีน้า ตาลหรือน้าตาลแก่มีกลิ่นเหมือน หนังฟอกเก่าๆ และมีน้ามันในตัวมักมีเส้นสีแก่ แทรกเสี้ยนตรงเนื้อหยาบและไม่สม่า เสมอ แข็งพอประมาณ ปลวก มอดไม่ทาอันตราย นาไปเลื่อย ไสกบตกแต่งง่าย แกะสลักได้ดี ชักเงาได้ง่ายและดีมากเป็นไม้ที่ผึ่งให้แห้งได้ง่าย และอยู่ตัวดี น้าหนักโดยประมาณ 640 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ไม้สักนิยมทาเครื่องเรือน ทาบานประตูหน้าต่าง แกะสลักต่างๆ ไม้ยาง เป็นต้นไม้สูงใหญ่ ไม่มีกิ่งที่ลาต้น มักขึ้นเป็นหมู่ในป่าดิบชื้น และที่ต่าชุ่มชื้น ตามบริเวณ ใกล้เคียงแม่น้าลาธารในป่าดิบและป่าอื่นๆ ทั่วไป บางชนิดสามารถเผาเอาน้า มันยางได้ (แต่เป็นคนละชนิดกับ ต้นยางพารา) ลักษณะเนื้อไม้สีแดงเรื่อหรือสีน้าตาลหม่นเสี้ยนมักตรง เนื้อหยาบ แข็งปานกลาง ใช้ในร่ มทนทานดี เลื่อยไสกบตกแต่งได้ดี น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 650 – 720 กิโลเมตรต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ในงานก่อสร้างทั่วไป นิยมใช้กันมากคือใช้เป็นไม้ฝา ไม้คร่าว ฝ้าเพดาน คร่าวฝา ไม้กระบากหรือไม้กะบาก เป็นต้นไม้สูงใหญ่ขึ้นปะปรายในป่าดิบชื้นและป่าเบญจพรรณชื้นทั่ว ประเทศ มีอยู่หลายชนิดแต่ในส่วนเนื้อไม้และการใช้ มีลักษณะคล้ายคลึงมากใช้ร่วมกันได้ดีลักษณะเนื้อไม้ โดยรวม มีสีตั้งแต่นวลเหลืองถึงน้าตาลอ่อนแกมแดงเรื่อๆ เสี้ยนมักตรงเนื้อหยาบแต่สม่าเสมอ แข็ง เหนียว เด้งพอประมาณ เลื่อยไสกบตกแต่งได้ไม่ยาก ข้อเสียคือเนื้อเป็นทรายทา ให้กัดคมเครื่องมือ ผึ่งแห้งง่าย น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 600 กิโลเมตรต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาแบบหล่อคอนกรีตได้ดีเพราะถูกน้า แล้วไม่บิดงอหรือโค้ง ทาเครื่องเรือน ราคาถูก ทากล่องใส่ของ เก้าอี้ ไม้ซุมแพรก เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นประปรายตามป่าดิบชื้นทางภาคตะวันออก เช่นทางอาเภอ ศรีราชา จังหวัด ชลบุรี และในภาคกลางบางแห่ง ลักษณะเนื้อไม้เมื่อเลื่อยหรือตัดใหม่ๆ จะเป็นสีแดงเข้ มเมื่อทิ้งไว้ ถูกอากาศจะเป็นสีน้า ตาลอมแดงเป็นมันเลื่อม เสี้ยนมักตรงและสม่า เสมอ เป็นริ้วห่างๆเหนียวแข็ง ใช้ในร่ม ทนทานดี เลื่อยไสกบตกแต่งได้ง่าย ชักเงาได้ดี น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 640 กิโลเมตรต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ก่อสร้าง เช่น ทาพืน ฝา ้ ไม้นนทรี เป็นต้นไม้ขนาดกลาง ขึ้นในป่าดิบชื้นและป่าโป่รงชื้น ลักษณะไม้สีชมพูอ่อน ถึงน้าตาล แกมชมพู เป็นมันเลื่อม เสี้ยนตรงหรือเป็นลูกคลื่น หรือสับสนบ้างเล็กน้อย เนื้อหยาบปานกลาง เลื่อยผ่า ไสกบ ตกแต่งได้ง่ายๆ น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 575 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาไม้พื้นเพดานและฝา ทาเครื่องเรือน หีบใส่ของต่างๆ ไม้มะม่วงป่า เป็นต้นไม้ใหญ่ ขึ้นห่างๆกันในป่าดิบชื้นและป่าเบญจพรรณ หรือตามที่ชุมชื้นทั่วไป ลักษณะเนื้อไม้ไม่มีแก่นมากนัก สีน้าตาลไหม้ เสี้ยนค้อนข้างตรง เนื้อเป็นมันเล็กน้อย แข็งเหนียว ใช้ในร่มทนทานดี เลื่อมไสกบง่าย น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 600 กิโลเมตรต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาเครื่องเรือน หีบใส่ของ ไม้บรรทัด ปอกออกมาเป็นแผ่นบางๆ ใช้ทาไม้อัด ไม้กระท้อน เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ขึ้นตามป่าดิบชื้นทั่วประเทศ ลักษณะเนื้อไม้สีแดงเรื่อๆ ปนเทา เสี้ยนไม้ตรง เนื้อค่อนข้างหยาบ แข็งแรงปานกลาง ใช้ในร่มทนทานพอสมควร เลื่อนไสกบตบแต่งได้ง่าย ขัดและ ชักเงาได้ ผึ่งให้แห้งได้ง่าย แต่หดตัวมาก ใช้ทาพื้น เพดาน เครื่องเรือน นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 7
  • 8. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั 3. ไม้เนื้ออ่อน ไม้เนื้ออ่อน เป็นไม้ที่เนื้ออ่อนและหยาบ มีความแข็งแรงละทนทานน้อยที่สุด มอดและปลวกชอบทาลาย การยืดหดตัวไม่สม่าเสมอมากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่ชนิดของไม้ สีของเนื้อไม้ก็แตกต่างกันออกไปจากสีอ่อนไปจนถึง สีเกือบเข้ม ไม้ชนิดนี้จะมีน้าหนักตั้งแต่ประมาณ 500 ถึง 870 กิโลกรัมต่อลูกบาศ์กเมตร ไม้เนื้ออ่อน ได้แก่ ไม้สยาขาว เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นตามไหล่เขา และบนเขาในป่าดิบทางภาคใต้บางจังหวัด เช่น ยะลา นราธิวาส ลักษณะเนื้อไม้สีชมพูอ่อนแกมขาวถึงน้าตาลอ่อนแกมแดง มีริ้วสีแก่กว่าสีพื้นเป็นมันเลื่อม เสี้ยน สับสนเนื้อหยาบอ่อน ค่อนข้างเหนียว ทนทานในร่ม เลื่อย ไส ผ่าได้ง่าย น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 480 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาเครื่องเรือนและส่วนของอาคารที่อยู่ในร่ม เปลือกใช้ทาไม้อัดได้ ไม้ก้านเหลือง เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขึ้นตามริมน้า แม่น้า ลาธารหรือในที่ชุ่มชื้น ทั่วไปลักษณะเนื้อไม้สีเหลือง เข้มถึงสีเหลืองปนแสด เสี้ยนตรงละเอียดพอประมาณ นาไปเลื่อยไสกบได้ง่าย ชักเงา ได้ดี น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 540 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาพื้น ฝา เครื่องเรือน หีบใส่ของ ไม้มะยมป่า เป็นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ขึ้นประปรายในป่าดิบชื้นหรือป่าเบญจพรรณชื้น ทั่วไป ลักษณะเนื้อไม้ไม่มีแก่นสี ถ้าถูกอากาศนานๆ สีจะนวลขึ้น เสี้ยนตรง เนื้อหยาบ แต่สม่าเสมอและอ่อน ไสกบได้ง่าย น้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 400 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้ทาก้านไม้ขีดไฟ กลักไม้ขีดไฟ หีบใส่ของ ปัจจุบันใช้ทาเครื่องเรือนต่างๆ ไม้ต้นมะพร้าว เนื้อมีความหนาแน่นใช้เป็นโครงสร้างได้ ความหนาแน่นตรงริมมีมากกว่า ตรงกลางต้น ตอนกลางมีความหนาแน่น 400 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร แต่ตอนริมมีความหนาแน่นถึง 600 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตาหนิของไม้ (Defects in wood) ตาหนิของเนื้อไม้เกิดจากสาเหตุ 4 ประการ คือ 1. ตาหนิเกิดจากธรรมชาติ 2. ตาหนิเกิดจากตาไม้ 3. ตาหนิเกิดจากการสูญเสียความชื้น 4. ตาหนิเกิดจากการใช้เครื่องมือกล 1. ตาหนิเกิดจากธรรมชาติ(Natural defects) ตาหนิเกิดจากธรรมชาติ มีหลายลักษณะด้วยกัน พอจะแบ่งได้ดังนี้ 1.1 เสี้ยนขวาง (Cross Grain)เป็นตาหนิเนื่องจากมีเสี้ยนบิดเป็นเกลียว เมื่อปอกเปลือก ออกจะเห็นได้อย่างชัดเจน รอยบิดเป็นเกลียวจะแตกเป็นแนวขนานกับเสี้ยนไม้ เมื่อแปรรูปไม้จะพบว่า อาการบิด เช่นนั้นทาให้เกิดเสี้ยนขวางได้ 1.2 เสี้ยนทะแยง (Diagonal Grain) เป็นตาหนิเกิดจากการเลื่อยไม้ซุงให้เป็นแผ่น ผ่าให้ ขนานกับไส้ไม้ หรือขนานกับเปลือก เมื่อแปรรูป ออกเป็นแผ่น ไม้บางแผ่นซึ่งอยู่ตรงกับการเรียงของเสี้ยนก็จะเกิด เสี้ยนขวางขึ้น สาหรับไม้ที่มีเสี้ยนสน เสี้ยนบิด เป็นลักษณะประจาของไม้อยู่แล้ว หากมีการแปรรูปออกเป็นแผ่น ไม้แผ่น ก็จะมีเสี้ยนบิดและเสี้ยนขวาง 2. ตาหนิเกิดจากตาไม้ (Knost defect) เกิดจากส่วนกิ่งที่ เจริญเติบโตทางส่วนสูงพร้อมๆ กับ ลาต้นในระยะกิ่งยังมีชีวิตอยู่ เมื่อกิ่งตายก็จะหลุดร่วง แต่บางส่วนที่ยังติดอยู่กับต้นไม้ นานหลายปีเข้าเนื้อไม้จะหุ้ม ส่วนที่ตายไปแล้ว แต่ไม่ประสานเป็นเนื้อเดียวกันได้ เมื่อแปรรูปไม้ออกเป็นแผ่นจะเห็นได้ชัดเจน นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 8
  • 9. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั 3. ตาหนิเกิดจากการสูญเสียความชื้น (Seasoning or Drying defects) ตาหนิเกิดจาก การสูญเสียความชื้นในเนื้อไม้ที่ถูกโค่นลง ไม้ที่ถูกตัดลงในที่แจ้งถูกแดดเผา เนื้อไม้จะแห้งและเกิดจุดแห้งขึ้น เมื่อไม้ถูกแปรรูปออกเป็นแผ่นจะเห็นรอยผุได้ชัดเจน ตาหนิที่เกิดจากการสูญเสียความชื้นนี้ ยังทาให้เกิดตาหนิ ในลักษณะต่างๆ กัน เช่น รอยร้าว รอยปริ รอยแตก เป็นต้น 4. ตาหนิที่เกิดจากการใช้เครื่องมือกล (Machine defects) ตาหนิเกิดจากการใช้เครื่องมือกล ได้แก่ การแปรรูป การไสกบ ตกแต่ง ก่อนที่จะนาไปใช้ประโยชน์ บางครั้งทาให้เกิดตาหนิขึ้นได้ คือ 4.1 Raised Grain คือลักษณะของเสี้ยนไม้โผล่ขึ้น เมื่อนาไปไสโดยที่ไม้นั้นมีความชื้น ทาให้ผิวไม้เกิดเป็นขุยเสี้ยนโผล่ขึ้นมา 4.2 Loosened Grain คือลักษณะเสี้ยนหลุดออกไปเนื่ องจากเครื่องมือกล เช่น กบที่มี ใบมีดทื่อ ทาให้ผิวบางตอนเกิดเสี้ยนหลุดออก หรือฉีกขาดออกไป 4.3 Fuzzy Grain ลักษณะที่เกิดจากการไสด้วยกบ เครื่องมือที่มีใบมีดทื่อ ทาให้กลุ่ม เสี้ยนหลุดออกมา 4.4 Trow Grain คือลักษณะตาหนิอันเนื่องมาจาการไสด้วยเครื่องและไม้มีความชื้น จึงทาให้ผิวของไม้เกิดเป็นเสี้ยนหนามขึ้น การเลือกไม้ การพิจารณาเลือกไม้เพื่อใช้ในการก่อสร้าง หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใดก็ตาม สิ่งสาคัญที่จะต้องคานึงถึง เป็นสิ่งแรกก็คือ คุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับไม้และการใช้ไม้ ราคา ตลอดจนงบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อการนั้น คุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับไม้และการใช้ไม้ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น ได้แก่ 1. สภาพแวดล้อมของการใช้ไม้ 2. ความสวยงามของเนื้อไม้ 3. ตาหนิของเนื้อไม้ 4. ความแข็งแรงและความทนทานของไม้ 5. ความง่ายต่อการเลื่อยและไสตกแต่ง สภาพแวดล้อมของการใช้ไม้ หมายถึงสภ าพทั่วไปในที่ซึ่งไม้ถูกนาไปใช้ เช่นใช้กลางแจ้ง ใช้ในร่มหรือ ใช้กับอาคารที่มีหรือไม่มีระบบป้องกันปลวก ตาหนิในเนื้อไม้นอกจ ากจะทาให้ไม้ขาดความแข็งแรงแล้ว ยังทาให้ ไม่สวยงาม ดังนั้นในกรณีที่ต้องการความสวยงาม เช่น การทาเครื่องเรือน ก็จะต้องมี ความพิถีพิถันในการเลือกไม้ เป็นพิเศษ ความแข็งแรงและความทนทาน ก็เป็นคุณสมบัติที่สาคัญอีกอันหนึ่ง ที่จะต้องพิจารณาเป็นอันดับแรก ในการเลือกไม้สาหรับก่อสร้าง นอกจากนั้นไม้ที่เหมาะต่อการนาม าใช้ก็ควรจะง่ายต่อการเลื่อยและการไสตกแต่ง อีกด้วยเช่นกัน คุณสมบัติเหล่านี้นอกจากจะช่วยให้ได้รับประโยชน์จากการใช้งานสูงสุดแล้ว ยังช่วยให้สะดวกต่อ การทางานอีกด้วย นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 9
  • 10. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั บรรณานุกรม ฉวีวรรณ รมยานนท์. คู่มือการเรียนการสอนกลุ่มวิชาการงานอาชีพ งานช่างพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด, 2536. เฉลียว โพธิพิรุฬห์. เทคโนโลยีงานไม้. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2533. ชาลี ลัทธิ,วรพงษ์ ลีพรหมมา, ชวิน เป้าอารีย์ และ สุรเดช สุทธาวาทิน. ช่างทั่วไป. กรมอาชีวศึกษา, 2527. ประณต กุลประสูติ. เทคนิคงานไม้. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง จากัด, 2533. วิลาศ กมลลานนท์. คู่มือการเรียนการสอนกลุ่มวิชาการงานและอาชีพ โครงงานช่างไม้ . กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2533. บทที่ 3 งานไม้ (Wood Word). สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2555, จาก http://www.snru.ac.th/ งานไม้. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2555, จาก http://www.st.ac.th/engin/wood.html เว็บไซด์ที่ทางานไม้ให้เป็นเรื่องง่าย. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2555, จาก http://www.thaicarpenter.com นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 10
  • 11. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั แบบฝึกหัด เรื่อง ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถิ่น คาชี้แจง: ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ช่างไม้มีกี่ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จงยกตัวอย่างประโยชน์ของงานช่างไม้ มาอย่างน้อย 10 ข้อ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ให้นักเรียนอธิบายวิธีการการหรือโคนต้นไม้ที่ถูกวิธี มาพอเข้าใจ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 11
  • 12. ช่างไม้ครุ ภณฑ์ ั 4. ให้นักเรียนอธิบายลักษณะ ประโยชน์ของไม้ต่อไปนี้ ไม้เนื้อแข็ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ไม้เนื้อปานกลาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ไม้เนื้ออ่อน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. สาเหตุที่ทาให้เกิดตาหนิของไม้ (Defects in wood) มีอะไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 12