SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 33
Baixar para ler offline
บทที่ 4
พาราโบลา (12 ชั่วโมง)
4.1 สมการของพาราโบลา (2 ชั่วโมง)
4.2 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
เมื่อ a ≠ 0 (2 ชั่วโมง)
4.3 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
+ k เมื่อ a ≠ 0 (2 ชั่วโมง)
4.4 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = a(x – h)2
+ k เมื่อ a ≠ 0 (3 ชั่วโมง)
4.5 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
+ bx + c เมื่อ a ≠ 0 (3 ชั่วโมง)
ในบทนี้ตองการใหนักเรียนมีความรูเกี่ยวกับพาราโบลาและการเขียนกราฟพาราโบลาที่มีสมการอยูในรูป
y = ax2
+ bx + c เมื่อ x, y เปนตัวแปร a, b, c เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 เทานั้น เนื้อหาของบทนี้สวนใหญ
เสนอไวในรูปกิจกรรมที่ใหความรูเปนลําดับขั้นตอนของเนื้อหาที่สัมพันธ จากรูปอยางงายไปสูสมการของพารา
โบลา y = ax2
+ bx + c ดังที่ปรากฏในแตละหัวขอขางตน ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอน ครูจึงควรใหนัก
เรียนไดทํากิจกรรมทุกกิจกรรมตามลําดับ เพื่อใหนักเรียนไดศึกษาสํารวจ สังเกตและสรางขอความคาดการณ เพื่อ
นําไปสูขอสรุปที่เปนลักษณะทั่วไปของกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการในแตละกิจกรรมซึ่งเชื่อมโยงตอเนื่อง
กัน และสามารถนําความรูไปแกปญหาที่กําหนดใหได
ในการจัดการเรียนการสอนเรื่องนี้ ครูและนักเรียนอาจใชเครื่องคํานวณเชิงกราฟหรือคอมพิวเตอรที่มี
โปรแกรมการเขียนกราฟ มาประกอบการเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนไดสํารวจ หาความสัมพันธระหวางสมการ
ของพาราโบลาและกราฟพาราโบลา ซึ่งจะชวยใหนักเรียนไดพบตัวอยางที่หลากหลายและหาขอสรุปไดเร็วขึ้น
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. เขียนกราฟพาราโบลาที่กําหนดใหได
2. บอกลักษณะของกราฟพาราโบลาที่กําหนดใหได
51
แนวทางในการจัดการเรียนรู
4.1 สมการของพาราโบลา (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถบอกไดวาสมการที่กําหนดใหเปนหรือไมเปนสมการของพาราโบลา
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการนําเขาสูบทเรียน ครูอาจสนทนาใหนักเรียนสังเกตสิ่งแวดลอมและสิ่งกอสรางรอบตัวที่มี
ลักษณะเปนพาราโบลา เชน สายเคเบิ้ลที่ขึงโยงสะพานแขวน สายน้ําพุที่พุงขึ้นในชวงเวลาตาง ๆ ดังที่เสนอไวใน
บทนําของหัวขอนี้ จากนั้นจึงแนะนําลักษณะกราฟพาราโบลาในทางคณิตศาสตร ดังตัวอยางกราฟพาราโบลา
หงายและพาราโบลาคว่ําที่เสนอไวในหนังสือเรียนหนา 94 และหนา 95 ซึ่งนักเรียนเคยพบมาแลวในหนังสือเรียน
สาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว
ครูอาจใชการถามตอบและยกตัวอยางสมการเชิงเสนสองตัวแปร กราฟของสมการเชิงเสนสอง
ตัวแปร เปรียบเทียบกับสมการของพาราโบลาและกราฟพาราโบลาขางตน เพื่อโยงไปสูรูปของสมการของ
พาราโบลาและกราฟที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
+ bx + c เมื่อ x, y เปนตัวแปร a, b, c เปนคาคงตัว และ
a ≠ 0
2. กิจกรรม “ลองคิดดู” มีเจตนาใหนักเรียนตระหนักวา เมื่อเขียนสมการในรูป y = ax2
+ bx + c
ควรเขียน a ≠ 0 เสมอ เพราะถา a = 0 แลวจะไดสมการเชิงเสนสองตัวแปรซึ่งมีกราฟเปนเสนตรง
3. กิจกรรม “บอกไดหรือไม” มีเจตนาใชเพื่อตรวจสอบความรูความเขาใจเกี่ยวกับสมการของ
พาราโบลาในขอ 1 ขอยอย 5) และขอยอย 6) ครูควรแนะนําใหนักเรียนเขียนสมการที่กําหนดให ใหอยูในรูป
y = ax2
+ bx + c กอน แลวจึงระบุคา a, b และ c ดังตัวอยาง
กําหนดสมการ 2y = 3x – x2
– 5
เขียนเปน y = ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
2
1
- x2
+ ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
2
3
x + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
2
5
-
จะได a = 2
1- , b = 2
3 และ c = ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
2
5
-
52
4.2 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
เมื่อ a ≠ 0 (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. เขียนกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
เมื่อ a ≠ 0 ได
2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่ําสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y = ax2
เมื่อ a ≠ 0 ได
3. บอกคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของ y จากสมการ y = ax2
เมื่อ a ≠ 0 ได
4. บอกความแตกตางของกราฟของสมการ y = ax2
เมื่อ a > 0 และ a < 0 ได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการจัดเนื้อหาเกี่ยวกับพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
เมื่อ a ≠ 0 ซึ่งเปนสมการของ
พาราโบลาที่สามารถเขียนกราฟไดงาย ในกรณีนี้ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวาเมื่อกําหนด a ≠ 0 จะแยกพิจารณา
สมการเปน 2 กรณี คือ เมื่อ a > 0 และ a < 0
2. กิจกรรม “กราฟของ y = x2
” มีเจตนาใหนักเรียนไดศึกษาสํารวจ สังเกตลักษณะของกราฟของสม
การ y = ax2
เมื่อ a = 1 ในกิจกรรมนี้นักเรียนจะไดพบคําบางคําที่เกี่ยวของกับกราฟพาราโบลา ซึ่งไดแก แกน
สมมาตรของพาราโบลา จุดต่ําสุดของกราฟ จุดสูงสุดของกราฟ คาต่ําสุดของ y และคาสูงสุดของ y เพื่อใชคํา
เหลานี้ในกิจกรรมตอ ๆ ไป
นอกจากครูจะใหนักเรียนตอบคําถามที่กําหนดใวในกิจกรรมแลว ครูควรใหนักเรียนพิจารณากราฟ
และเกิดความรูสึกเชิงกราฟเชนในกรณี x > 0 เมื่อคา x เพิ่มขึ้นทีละ 1 คา y ที่เพิ่มขึ้นในแตละครั้งเปลี่ยน
แปลงเปนอยางไร หรือในกรณี x < 0 เมื่อคา x ลดลงทีละ 1 คา y ที่เพิ่มขึ้นในแตละครั้งเปลี่ยนแปลงเปน
อยางไร และมีผลทําใหลักษณะของกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = x2
เปนอยางไร ทั้งนี้เพื่อใชความรู
และขอสรุปที่ไดไปเปรียบเทียบกับกราฟของสมการ y = ax2
เมื่อ a > 0 ตอไป
3. กิจกรรม “กราฟของ y = ax2
เมื่อ a > 0” มีเจตนาใหนักเรียนไดศึกษา สํารวจ สังเกตและ
เปรียบเทียบกราฟของสมการ y = ax2
เมื่อ a > 0 และ a มีคาตาง ๆ กัน เพื่อสรางขอความคาดการณที่นําไปสู
ขอสรุปลักษณะกราฟพาราโบลา y = ax2
เมื่อ a > 0 ครูอาจใหนักเรียนสังเกตคา a ในสมการ y = ax2
เมื่อ
a > 0 มีผลทําใหกราฟทั้งสามบานมากหรือบานนอยตางกันอยางไร แตไมควรนําประเด็นคําถามเกี่ยวกับการบาน
ของกราฟไปวัดผลและประเมินผล
4. สําหรับกิจกรรม “กราฟของ y = -x2
” และกิจกรรม “กราฟของ y = ax2
เมื่อ a < 0” เปน
กิจกรรมที่มีสาระในทํานองเดียวกันกับกิจกรรมที่กลาวมาแลวขางตน ครูอาจใหนักเรียนศึกษากันเปนกลุมและ
นําผลสรุปมาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน หลังจากจบกิจกรรมนี้แลวนักเรียนควรบอกลักษณะสําคัญ ๆ ของกราฟ
y = ax2
เมื่อ a > 0 และกราฟ y = ax2
เมื่อ a < 0 ในแงที่มีลักษณะเหมือนกันและแตกตางกันได เชน บอก
ไดวากราฟมีแกน Y เปนแกนสมมาตรเหมือนกัน ถา a > 0 กราฟเปนพาราโบลาหงาย แตถา a < 0 กราฟเปน
พาราโบลาคว่ํา เปนตน
53
5. สําหรับกิจกรรม “ภาพสะทอน” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นวากราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ
y = ax2
และ y = -ax2
เมื่อ a > 0 ที่สัมประสิทธิ์ของ x2
ในสมการทั้งสองเปนจํานวนตรงขามกัน จะทําให
ไดกราฟทั้งสองเปนภาพสะทอนซึ่งกันและกัน โดยมีแกน X เปนเสนสะทอน ครูอาจใหนักเรียนใชกระดาษลอก
ลายตรวจสอบกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = 3x2
และ y = -3x2
วาเปนภาพสะทอนซึ่งกันและกันหรือไม
หลังจากนั้นครูควรใชคําถามเชื่อมโยงความรูตอ เชน เมื่อกําหนดกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = 2x2
บน
ระนาบในระบบพิกัดฉาก นักเรียนจะเขียนกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = -2x2
บนแกนคูเดียวกันใหไดรวด
เร็ว นักเรียนจะทําไดอยางไร ทั้งนี้เพื่อใหนักเรียนไดรูจักนําความรูเกี่ยวกับการสะทอนมาใชใหเปนประโยชน
6. สําหรับแบบฝกหัด 4.2 ขอ 1 ครูควรชี้ใหนักเรียนสังเกตคา x และคา y ในตารางวาการหาคูอันดับ
ที่สอดคลองกับสมการ คูอันดับแรกควรไดจากการแทนคา x ในสมการดวย 0 จะหาคา y ไดงายที่สุด และดวย
ความรูเกี่ยวกับแกนสมมาตรเมื่อแทนคา x ดวยจํานวนตรงขามกัน เชน 1 และ -1 จะได y เปนจํานวนเดียวกัน
นักเรียนควรใชความรูนี้มาชวยหาคา y เติมในตาราง ซึ่งจะไดคูอันดับที่สอดคลองกับสมการเร็วขึ้น
ในการเขียนกราฟพาราโบลาครูควรใหนักเรียนใชกระดาษกราฟ เพราะจะชวยใหเขียนกราฟไดรวด
เร็วและชัดเจน ในขั้นตนนี้ควรแนะนําใหนักเรียนกําหนดหนวยบนแกน X และหนวยบนแกน Y เปนหนวย
เดียวกัน ควรเขียนตารางแสดงคา x และ y ประกอบการเขียนกราฟดวย ครูอาจแนะนําใหนักเรียนเลือกกําหนด
คา x เปนจํานวนเต็มที่เมื่อแทน x ในสมการแลวไดคา y เปนจํานวนเต็มดวย ทั้งนี้ควรคํานึงถึงความ
สะดวกในการเขียนกราฟดวย ครูควรย้ํากับนักเรียนเกี่ยวกับการเขียนกราฟวา เมื่อเขียนเสนผานระหวางจุด จะ
ตองพยายามเขียนใหเปนเสนโคงเรียบ
สําหรับแบบฝกหัดขอ 6 ตองการใหนักเรียนสามารถนําความรูและขอสรุปที่ไดจากแบบฝกหัดขอ
กอนหนามาวิเคราะหสมการที่กําหนดใหและอธิบายลักษณะสําคัญของกราฟพาราโบลาที่ได ครูควรใหความสําคัญ
กับกระบวนการเรียนรูกับนักเรียนโดยใหนักเรียนไดฝกเขียนกราฟ สังเกตลักษณะของกราฟพาราโบลาที่สัมพันธ
กันกับสมการแตละสมการที่กําหนดให เพื่อใหไดความคิดรวบยอดจนสามารถบอกลักษณะของกราฟจากสมการ
ไดโดยไมตองเขียนกราฟ
4.3 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
+ k เมื่อ a ≠ 0 (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. เขียนกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
+ k เมื่อ a ≠ 0 ได
2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่ําสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y = ax2
+ k เมื่อ a ≠ 0 ได
3. บอกคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของ y จากสมการ y = ax2
+ k เมื่อ a ≠ 0 ได
54
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหัวขอนี้ ครูควรใหนักเรียนสังเกตสมการ y = ax2
+k เมื่อ
a ≠ 0 เปรียบเทียบกับสมการ y = ax2
เมื่อ a ≠ 0 เพื่อใหนักเรียนเห็นวาสมการ y = ax2
เปนสมการที่
สามารถเขียนอยูในรูปของสมการ y = ax2
+ k เมื่อ k = 0 นั่นเอง ดังนั้นขอสรุปเกี่ยวกับลักษณะของกราฟ
ของสมการ y = ax2
+ k จึงมีหลายอยางเหมือนกราฟของสมการ y = ax2
เชน มีแกนสมการเปนแกน Y
เหมือนกัน ลักษณะเปนพาราโบลาหงายหรือเปนพาราโบลาคว่ําเหมือนกัน กราฟจะบานมากหรือบานนอยก็
ขึ้นอยูกับคา a เชนเดียวกัน ดังนั้นในการพิจารณากราฟของสมการ y = ax2
+ k ในที่นี้จึงมุงพิจารณาที่คา k
เมื่อ k > 0 หรือ k < 0
2. สําหรับกิจกรรม “กราฟของ y = ax2
+ k, a > 0” และกิจกรรม “กราฟของ y = ax2
+ k, a < 0”
ครูควรดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนใหนักเรียนเห็นความสัมพันธของกราฟที่กําหนดใหกับการเลื่อนขนานตาม
แนวแกน Y อาจใหนักเรียนใชกระดาษลอกลายตรวจสอบความสัมพันธระหวางกราฟ เชน ลอกกราฟของสม
การ y = 2x2
แลวเลื่อนกราฟขึ้นหรือลงตามแนวแกน Y ดูวาเลื่อนไปทับกราฟของสมการ y = 2x2
+ 2 และ y
= 2x2
– 2 ไดสนิทหรือไม
หลังจากจบกิจกรรมทั้งสอง ครูควรใหนักเรียนชวยกันสรุปลักษณะที่สําคัญของกราฟพาราโบลาที่
กําหนดดวยสมการ y = ax2
+ k เมื่อ a ≠ 0 และเชน จุดต่ําสุดหรือจุดสูงสุดของกราฟ เพื่อนําความรูที่ไดไปใช
ตอไป
3. ครูควรใหนักเรียนสังเกตการเขียนกราฟพาราโบลาในตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 วา จากสมการที่
โจทยกําหนดให นักเรียนควรวิเคราะหลักษณะของกราฟในสวนสําคัญ ๆ กอน เพื่อใหการเขียนกราฟงายขึ้น จาก
ตัวอยางแสดงใหเห็นลักษณะของกราฟที่วิเคราะหไดดังในขอ 1 ถึงขอ 4 เมื่อทราบลักษณะที่สําคัญของกราฟแลว
จึงสรางตารางเพื่อกําหนดคา x ที่เหมาะสมและหาคา y ตอไป
ในการกําหนดคา x ในตารางจะสังเกตเห็นการนําหลักการที่แกน Y เปนแกนสมมาตรมากําหนด
จุดตาง ๆ ที่อยูขางเดียวกันของแกนสมมาตร โดยเริ่มกําหนดคูอันดับที่เปนพิกัดของจุดต่ําสุดหรือจุดสูงสุดของ
กราฟกอน แลวจึงกําหนดคา x ที่อยูทางซายหรือทางขวาของแกนสมมาตรเพียงดานเดียว เมื่อหาจุดที่มีคูอันดับ
สอดคลองกับสมการในตารางครบแลว ครูอาจใหนักเรียนชวยกันหาจุดที่เปนภาพสะทอนของจุดเหลานี้ ซึ่งเปน
การใชแกนสมมาตรชวยในการหาจุดเหลานั้น
4. แบบฝกหัด 4.3 สําหรับขอ 1 ครูอาจชี้แนะใหนักเรียนใชหนวยบนแกน X และหนวยบนแกน Y
ตางกันได สําหรับขอ 2 มีเจตนาใหนักเรียนใชขอสรุปลักษณะของกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ
y = ax2
+ k เมื่อ a ≠ 0 มาวิเคราะหกราฟที่สอดคลองกับสมการที่กําหนดให นักเรียนควรวิเคราะหไดโดยดู
ความสัมพันธที่คา a กับลักษณะกราฟที่เปนพาราโบลาหงายหรือพาราโบลาคว่ํา และคา k กับจุดต่ําสุดหรือจุดสูง
สุดของกราฟที่สอดคลองกับสมการแตละสมการดวย
55
4.4 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = a(x – h)2
+ k เมื่อ a ≠ 0 (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. เขียนกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = a(x – h)2
+ k เมื่อ a ≠ 0 ได
2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่ําสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y = a(x – h)2
+ k
เมื่อ a ≠ 0 ได
3. บอกคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของ y จากสมการ y = a(x – h)2
+ k เมื่อ a ≠ 0 ได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. การจัดกิจกรรมการสอนในหัวขอนี้ ครูอาจดําเนินกิจกรรมทํานองเดียวกันกับหัวขอ 4.3 โดยเปรียบ
เทียบสมการ y = a(x – h)2
+ k เมื่อ a ≠ 0 กับสมการ y = ax2
+ k เมื่อ a ≠ 0 ที่อาจเขียนเปน
สมการ y = a(x – 0)2
+ k แลวใหนักเรียนเปรียบเทียบกราฟของสมการที่มีคา h = 0 และ h ≠ 0 วามีความ
แตกตางกันอยางไร
2. สําหรับกิจกรรม “กราฟของสมการ y = a(x – h)2
” มีเจตนาใหนักเรียนไดสํารวจ สังเกตและสราง
ขอความคาดการณเพื่อหาขอสรุปวา เมื่อ h ≠ 0 ลักษณะของกราฟพาราโบลาจะเปนอยางไรโดยใหนักเรียนเห็น
กราฟของสมการ y = 2x2
หรือ y = 2(x – 0)2
เปรียบเทียบกับกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2
และ
y = 2(x + 1)2
บนแกนคูเดียวกัน ครูควรใหนักเรียนสังเกตการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = 2x2
ไปตาม
แกน X เพื่อใหนักเรียนเห็นวาคา h ในสมการ y = a(x – h)2
เมื่อ a ≠ 0 บงบอกใหทราบถึงจุดต่ําสุดของกราฟ
อยางไร
3. สําหรับตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 มีเจตนาใหนักเรียนเห็นการวิเคราะหลักษณะที่สําคัญของกราฟ
ของสมการ y = a(x – h)2
เมื่อ a ≠ 0 และ h ≠ 0 กอนเขียนกราฟ เพราะจะชวยใหการเขียนกราฟงายขึ้น
และรวดเร็วขึ้น ในการเขียนกราฟดังตัวอยางที่ 1 ถึงแมในตารางจะกําหนดคา x เปนจํานวนเต็มที่อยูทางขวาของ
แกนสมมาตร ครูควรชี้ใหเห็นวาเมื่อกําหนดจุดตามคูอันดับในตารางไดแลว นักเรียนอาจใชแกนสมมาตรเปนหลัก
ในการหาจุดที่เปนภาพสะทอนของจุดเหลานั้น
4. ในการพิจารณากราฟของสมการ y = a(x – h)2
+ k เมื่อ a ≠ 0 และ h ≠ 0 และ k ≠ 0 ครูอาจ
ใหนักเรียนลองใชความรูที่ทราบแลวจากกราฟของสมการ y = ax2
+ k และ y = a(x – h)2
มาคาดการณลักษณะ
ที่สําคัญ ๆ ของกราฟของสมการ y = a(x – h)2
+ k วานาจะเปนอยางไร จากนั้นจึงใหตรวจสอบขอความคาดการณ
นั้น โดยพิจารณากราฟของสมการ y = 2(x – 1)2
, y = 2(x – 1)2
+ 2 และ y = 2(x – 1)2
– 2 แลวจึงใหนักเรียน
ทํากิจกรรม “กราฟของสมการ y = a(x – h)2
+ k” เพื่อยืนยันขอความคาดการณของนักเรียน
ขอสรุปของกิจกรรมนี้เปนความรูหลักที่สําคัญของเรื่องกราฟพาราโบลา เมื่อนักเรียนพบเห็นสมการ
ของพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = a(x – h)2
+ k นักเรียนควรจินตนาการลักษณะกราฟพาราโบลาดังกลาว
ในวงความคิดได ดังนั้นครูจึงควรใหนักเรียนไดฝกทักษะการคิดวิเคราะหลักษณะของกราฟ จากสมการของพารา
โบลาในรูปแบบตาง ๆ ใหมากพอดวย
56
เมื่อนํา (-12
) ออกมานอกวงเล็บ จะตอง
นํา 3 ซึ่งเปนตัวประกอบรวมมาคูณดวย
5. สําหรับแบบฝกหัด 4.4 ข ขอ 3 มีเจตนาใหนักเรียนไดฝกทักษะการเชื่อมโยงความรูเรื่องการแปลง
ทางเรขาคณิตกับการเลื่อนขนานและการสะทอนของกราฟพาราโบลา เพื่อใหนักเรียนไดพัฒนาความรูและมีความ
คิดยืดหยุนในการพิจารณากราฟ ครูอาจหาโจทยในลักษณะนี้ใหนักเรียนไดทําเพิ่มเติมอีกก็ได
4.5 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
+ bx + c เมื่อ a ≠ 0 (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. เขียนกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2
+ bx + c เมื่อ a ≠ 0 ได
2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่ําสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y = ax2
+ bx + c
เมื่อ a ≠ 0 ได
3. บอกคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของ y จากสมการ y = ax2
+ bx + c เมื่อ a ≠ 0 ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 4.5 ก
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหัวขอนี้ นักเรียนจะตองใชความรูเรื่องสมการกําลังสองใน
บทที่ 3 เกี่ยวกับการทําบางสวนของสมการใหเปนกําลังสองสมบูรณ เพื่อเขียนสมการในรูป y = ax2
+ bx + c
เมื่อ a ≠ 0 ใหอยูในรูปสมการ y = a(x – h)2
+ k ตามตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 ครูควรย้ําวิธีการคํานวณบาง
ขั้นตอนที่นักเรียนพึงระมัดระวัง เชน
จากตัวอยางที่ 1 y = 3x2
– 6x + 1
= 3(x2
– 2x) + 1
= 3(x2
– 2x + 12
– 12
) + 1
= 3(x2
– 2x + 12
) – 3(12
) + 1
จากตัวอยางที่ 2 y = -2x2
– 12x – 17
= -2(x2
+ 6x) – 17
= -2(x2
+ 6x + 32
– 32
) – 17
= -2(x2
+ 6x + 32
) – (-2)(32
) – 17
2. ครูควรอธิบายและทําความเขาใจกับนักเรียน เพื่อใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดไดวาเมื่อโจทย
กําหนดสมการในรูป y = ax2
+ bx + c เมื่อ a ≠ 0 มาให นักเรียนจะวิเคราะหลักษณะของกราฟที่กําหนดใหนี้
ไดโดยไมตองเขียนกราฟก็ตอเมื่อตองทําสมการนั้นใหอยูในรูป y = a(x – h)2
+ k เมื่อ a ≠ 0 กอนจึงจะบอก
จุดต่ําสุดหรือจุดสูงสุดของกราฟและแกนสมมาตรไดงาย เพื่อใหนักเรียนมีทักษะในเรื่องนี้ ครูอาจหาโจทยมาให
นักเรียนทําเพิ่มเติมไดอีก
ตัวประกอบรวมเปน -2 จึงตองเปลี่ยน
เครื่องหมายในวงเล็บจากลบเปนบวก
นํา -2 ซึ่งเปน
ตัวประกอบรวมมาคูณ
57
3. แบบฝกหัด 4.5 ขอ 2 ขอยอย 4) เปนคําถามทิ้งทายใหนักเรียนหาจุดตัดของกราฟบนแกน X ถาครู
เห็นสมควรที่จะเชื่อมโยงความรูเกี่ยวกับการหาคําตอบของสมการกําลังสองโดยใชกราฟพาราโบลา ครูอาจให
ความรูเพิ่มเติมโดยใชกิจกรรมเสนอแนะ 4.5 ก็ได
4. สําหรับกิจกรรม “จานพาราโบลา” และ “สะพานแขวน” ตองการใหนักเรียนเห็นการนําความรู
เกี่ยวกับพาราโบลาไปใชในชีวิตจริง เปนการเชื่อมโยงสาระคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ครูอาจใหนักเรียนยกตัวอยาง
สิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบตัวที่ใชประโยชนของพาราโบลาเพิ่มเติมอีกก็ได
5. สําหรับกิจกรรม “สูงแคไหน” และ “หาไดอยางไร” มีเจตนาใหเห็นการนําความรูเกี่ยวกับพาราโบ
ลาไปใชแกปญหา ครูอาจใหนักเรียนสังเกตวาการหาคําตอบในกิจกรรมทั้งสองนี้ นักเรียนจะตองเขียนสมการที่
กําหนดให ใหอยูในรูปสมการ y = a(x – h)2
+ k เมื่อ a ≠ 0 กอน จะทําใหเห็นจุดสูงสุดของกราฟและชวยให
ตอบคําถามอื่น ๆ ไดงายขึ้น
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู”
สมการเชิงเสนและมีกราฟเปนเสนตรง
คําตอบกิจกรรม “บอกไดหรือไม”
1.
1) a = 1, b = 1 และ c = -6
2) a = -2, b = 0 และ c = 0
3) a = 1, b = 0 และ c = 9
4) a = 2
1- , b = 2 และ c = 0
5) a = 1 , b = 6 และ c = 9
6) a = -1, b = -1 และ c = 4
1-
2.
1) เปนสมการของพาราโบลา เพราะสามารถจัดใหอยูในรูป y = ax2
+ bx + c ได
โดยที่ a = 1, b = 0 และ c = 0
2) ไมเปนสมการของพาราโบลา เพราะไมสามารถจัดใหอยูในรูป y = ax2
+ bx + c ได
โดยที่ a ≠ 0
58
3) เปนสมการของพาราโบลา เพราะอยูในรูป y = ax2
+ bx + c
โดยที่ a = 1, b = 2 และ c = -1
4) เปนสมการของพาราโบลา เพราะสามารถจัดใหอยูในรูป y = ax2
+ bx + c ได
โดยที่ a = 1, b = 2 และ c = 1
5) เปนสมการของพาราโบลา เพราะสามารถจัดใหอยูในรูป y = ax2
+ bx + c ได
โดยที่ a = -1, b = -2 และ c = -6
6) ไมเปนสมการของพาราโบลา เพราะไมสามารถจัดใหอยูในรูป y = ax2
+ bx + c ได
โดยที่ a ≠ 0
คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = x2
”
1. พาราโบลาหงาย
2. 16
3. 16
4. 3 หรือ -3
5. เปนรูปสมมาตร มีเสนตรง x = 0 หรือแกน Y เปนแกนสมมาตร
6. มีคาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
7. 0
8. มีคาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
9. 0 ไดมาจากคา x เปน 0
10. ไมมี เพราะคา y เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ไมสิ้นสุด
คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = ax2
, a > 0”
1. เสนตรง x = 0 หรือแกน Y
2. จุด (0, 0) และคาต่ําสุดของ y เปน 0
3. คา a กลาวคือ ถา a มีคานอยกราฟจะบานมาก แตถา a มีคามากกราฟจะบานนอย
59
คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = -x2
”
1. พาราโบลาคว่ํา
2. -9
3. -9
4. 4 หรือ -4
5. เปนรูปสมมาตร มีเสนตรง x = 0 หรือแกน Y เปนแกนสมมาตร
6. มีคาลดลงเรื่อย ๆ
7. 0
8. มีคาลดลงเรื่อย ๆ
9. 0 ไดมาจากคา x เปน 0
10. ไมมี เพราะคา y ลดลงเรื่อย ๆ ไมสิ้นสุด
คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = ax2
, a < 0”
1. เสนตรง x = 0 หรือแกน Y
2. จุด (0, 0) และคาสูงสุดของ y เปน 0
3. คา a กลาวคือ ถา a มีคานอยกราฟจะบานนอย แตถา a มีคามากกราฟจะบานมาก
คําตอบกิจกรรม “ภาพสะทอน”
เปนภาพสะทอนซึ่งกันและกัน โดยมีแกน X เปนเสนสะทอน
60
คําตอบแบบฝกหัด 4.2
1.
1)
x -3 -2 -1 0 1 2 3
y = 2
x4
1 9
4
1 1
4
0 1
4
1 9
4
2)
x -3 -2 -1 0 1 2 3
y = 2
x2
3 27
2
6 3
2
0 3
2
6 27
2
Y
X
2
2 4
6
60
-2
-2-4-6
4
-4
Y
X
2
2 4
6
60
-2
-2-4
-4
-6
4
61
3)
x -3 -2 -1 0 1 2 3
y = 2
x3
2- -6 -8
3 -2
3
0 -2
3 -8
3
-6
4)
x -3 -2 -1 0 1 2 3
y = 2
x3
4- -12 -16
3 -4
3
0 -4
3 -16
3
-12
Y
2 4
4
60
-2
-2-4
-4
-6
2
X
-6
-12
-2
-4
-6
-8
-10
X
2 4 6 80-2-4-6-8
-14
Y
62
2.
x -2 -1 0 1 2
y = 3x2
12 3 0 3 12
y = 21x3
4
3
1
3
0 1
3
4
3
1) เสนตรง x = 0 หรือแกน Y
2) จุด (0, 0) ทั้งสองกราฟ
3) 0 ทั้งสองสมการ
3.
x -2 -1 0 1 2
y = -4x2
-16 -4 0 -4 -16
y = 21- x4
-1 -1
4
0 -1
4
-1
Y
X
2
2 4
6
60
-2
-2-4-6
4
-4
Y
2 4
4
60
-2
-2-4
-4
-6
2
X
-6
63
1) เสนตรง x = 0 หรือแกน Y
2) จุด (0, 0) ทั้งสองกราฟ
3) 0 ทั้งสองสมการ
4.
x -2 -1 0 1 2
y = 25x2
10 5
2
0 5
2
10
y = 25- x3 -20
3 -5
3
0 -5
3 -20
3
1) เสนตรง x = 0 หรือแกน Y
2) จุด (0, 0) ทั้งสองกราฟ
3) 0 ทั้งสองสมการ
5.
1) พาราโบลาหงาย พิจารณาไดจากคา a ซึ่ง a > 0
2) เสนตรง x = 0 หรือแกน Y
3) จุด (0, 0) เปนจุดต่ําสุด
6.
1) พาราโบลาคว่ํา พิจารณาไดจากคา a ซึ่ง a < 0
2) เสนตรง x = 0 หรือแกน Y
3) จุด (0, 0) เปนจุดสูงสุด
Y
2 4
4
60
-2
-2-4
-4
-6
2
X
-6
64
คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = ax2
+ k, a > 0”
1. ทับกันไดสนิท
2. เสนตรง x = 0 หรือแกน Y
3. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2
+ 2 คือจุด (0, 2) และคาต่ําสุดของ y เปน 2
จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2
คือจุด (0, 0) และคาต่ําสุดของ y เปน 0
จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2
– 2 คือจุด (0, -2) และคาต่ําสุดของ y เปน -2
4. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2
+ 2 อยูเหนือแกน X
และจุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2
– 2 อยูใตแกน X
5. กราฟของสมการ y = 2x2
+ 2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = 2x2
ตามแนว
แกน Y ขึ้นไปเหนือแกน X เปนระยะ 2 หนวย และกราฟของสมการ y = 2x2
– 2 เปนภาพที่ไดจาก
การเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = 2x2
ตามแนวแกน Y ลงมาใตแกน X เปนระยะ 2 หนวย
คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = ax2
+ k, a < 0”
1. ทับกันไดสนิท
2. เสนตรง x = 0 หรือแกน Y
3. จุดสูงสุดของกราฟของสมการ y = -2x2
+ 2 คือจุด (0, 2) และคาสูงสุดของ y เปน 2
จุดสูงสุดของกราฟของสมการ y = -2x2
คือจุด (0, 0) และคาสูงสุดของ y เปน 0
จุดสูงสุดของกราฟของสมการ y = -2x2
+ 2 คือจุด (0, -2) และคาสูงสุดของ y เปน -2
4. จุดสูงสุดของกราฟของสมการ y = -2x2
+ 2 อยูเหนือแกน X
และจุดสูงสุดของกราฟของสมการ y = -2x2
– 2 อยูใตแกน X
5. กราฟของสมการ y = -2x2
+ 2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = -2x2
ตามแนว
แกน Y ขึ้นไปเหนือแกน X เปนระยะ 2 หนวย และกราฟของสมการ y = -2x2
– 2 เปนภาพที่ไดจาก
การเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = -2x2
ตามแนวแกน Y ลงมาใตแกน X เปนระยะ 2 หนวย
แบบฝกหัด 4.3
1.
1) พิจารณากราฟของสมการ y = 5x2
+ 4
1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย
2. จุดต่ําสุดคือ จุด (0, 4)
65
3. แกน Y เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = 5x2
+ 4 ไดดังนี้
x 0 1 2
y = 5x2
+ 4 4 9 24
2) พิจารณากราฟของสมการ y = -3x2
– 2
1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา
2. จุดสูงสุดคือ จุด (0, -2)
3. แกน Y เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = -3x2
– 2 ไดดังนี้
x 0 1 2
y = -3x2
– 2 -2 -5 -14
X
2
4
6
8
10
12
2 4 6 80-2-4-6-8
Y
66
3) พิจารณากราฟของสมการ y = - 21 23 +x
1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา
2. จุดสูงสุดคือ จุด (0, 2)
3. แกน Y เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = - 21 23 +x ไดดังนี้
x 0 1 2
y = - 21 23 +x 2 5
3
2
3
X2 4
4
60
-2
-2-4
-4
-6
2
-6
Y
-12
-10
X2 4 6 8-2-4-6-8
-2
-4
-6
-8
0
Y
67
4) พิจารณากราฟของสมการ y = 21 - 14 x
1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย
2. จุดต่ําสุดคือ จุด (0, -1)
3. แกน Y เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = 21 - 14 x ไดดังนี้
x 0 1 2
y = 21 - 14 x -1 3-4
0
2.
c1 เปนกราฟของสมการ y = 5x3
1 2
−
c2 เปนกราฟของสมการ y = 3x2
– 5
c3 เปนกราฟของสมการ y = -x2
+ 1
c4 เปนกราฟของสมการ y = 1x4
1- 2
+
Y
X
2
2 4
4
-6
60
-2
-2-4
-4
-6
68
คําตอบกิจกรรม “กราฟของสมการ y = a(x – h)2
”
1. ทับกันไดสนิท
2. กราฟของสมการ y = 2(x + 1)2
มีเสนตรง x = -1 เปนแกนสมมาตร
กราฟของสมการ y = 2x2
มีเสนตรง x = 0 เปนแกนสมมาตร
กราฟของสมการ y = 2(x – 1)2
มีเสนตรง x = 1 เปนแกนสมมาตร
3. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x + 1)2
คือจุด (0, -1)
จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2
คือจุด (0, 0)
จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2
คือจุด (0, 1)
4. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2
อยูทางขวาของแกน Y
5. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x + 1)2
อยูทางซายของแกน Y
6. กราฟของสมการ y = 2(x – 1)2
เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = 2x2
ตามแนวแกน X ไปทางขวา 1 หนวย
กราฟของสมการ y = 2(x + 1)2
เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = 2x2
ตามแนวแกน X ไปทางซาย 1 หนวย
7. กราฟของสมการ y = -2x2
มีจุดสูงสุดคือจุด (0, 0)
กราฟของสมการ y = -2(x – 1)2
มีจุดสูงสุดคือจุด (0, 1)
กราฟของสมการ y = -2(x + 1)2
มีจุดสูงสุดคือจุด (0, -1)
8. กราฟของสมการ y = -2(x – 1)2
เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = -2x2
ตามแนวแกน X ไปทางขวา 1 หนวย
กราฟของสมการ y = -2(x + 1)2
เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = -2x2
ตามแนวแกน X ไปทางซาย 1 หนวย
แบบฝกหัด 4.4 ก
1.
1) พิจารณากราฟของสมการ y = (x + 1)2
1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย
2. จุดต่ําสุดคือ จุด (-1, 0)
3. เสนตรง x = -1 เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
69
เขียนกราฟของสมการ y = (x + 1)2
ไดดังนี้
x -1 0 1
y = (x + 1)2
0 1 4
2) พิจารณากราฟของสมการ y = -3(x – 1)2
1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา
2. จุดสูงสุดคือ จุด (1, 0)
3. เสนตรง x = 1 เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = -3(x – 1)2
ไดดังนี้
x 1 2 3
y = -3(x – 1)2
0 -3 -12
Y
2
6
4
X2 4 60-2-4-6
8
70
3) พิจารณากราฟของสมการ y = -4(x + 2)2
1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา
2. จุดสูงสุดคือ จุด (-2, 0)
3. เสนตรง x = -2 เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = -4(x + 2)2
ไดดังนี้
x -2 -1 0
y = -4(x + 2)2
0 -4 -16
-12
-2
-4
-6
-8
-10
X0 2 4 6 8-2-4-6-8
Y
-12
-2
-4
-6
-8
-10
X
2 4 60-2-4-6-8
Y
71
4) พิจารณากราฟของสมการ y = (x – 3)2
1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย
2. จุดต่ําสุดคือ จุด (3, 0)
3. เสนตรง x = 3 เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = (x – 3)2
ไดดังนี้
x 3 4 5
y = (x – 3)2
0 1 4
2.
c1 เปนกราฟของสมการ y = (x + 5)2
c2 เปนกราฟของสมการ y = (x – 1)2
c3 เปนกราฟของสมการ y = (x + 3)2
c4 เปนกราฟของสมการ y = (x – 2)2
คําตอบกิจกรรม “กราฟของสมการ y = a(x – h)2
+ k”
1. ทับกันไดสนิท
2. เสนตรง x = 1 เปนแกนสมมาตร
3. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2
+ 2 คือจุด (1, 2)
จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2
คือจุด (1, 0)
จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2
– 2 คือจุด (1, -2)
Y
2
6
4
X2 4 60-2-4-6
8
72
4. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2
+ 2 อยูเหนือแกน X
จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2
– 2 อยูใตแกน X
5. กราฟของสมการ y = a(x – h)2
+ k เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = a(x – h)2
ตามแนวแกน Y ขึ้นไปเหนือแกน X เปนระยะ k หนวย เมื่อ k > 0 และลงมาใตแกน X เปนระยะ
k หนวย เมื่อ k < 0
6. กราฟของสมการ y = -2(x – 3)2
มีจุดสูงสุดคือจุด (3, 0)
กราฟของสมการ y = -2(x – 3)2
+ 2 มีจุดสูงสุดคือจุด (3, 2)
กราฟของสมการ y = -2(x – 3)2
– 2 มีจุดสูงสุดคือจุด (3, -2)
7. กราฟของสมการ y = -2(x – 3)2
+ 2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ
y = -2(x – 3)2
ตามแนวแกน Y ขึ้นไปเหนือแกน X เปนระยะ 2 หนวย
กราฟของสมการ y = -2(x – 3)2
– 2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ
y = -2(x – 3)2
ตามแนวแกน Y ลงมาใตแกน X เปนระยะ 2 หนวย
แบบฝกหัด 4.4 ข
1.
1) พิจารณากราฟของสมการ y = 1
3(x – 1)2
– 2
1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย
2. จุดต่ําสุดคือ จุด (1, -2)
3. เสนตรง x = 1 เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = 1
3 (x – 1)2
– 2 ไดดังนี้
x 1 2 3
y = 1
3(x – 1)2
– 2 -2 5-3
2-3
73
2) พิจารณากราฟของสมการ y = -(x + 1)2
– 3
1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา
2. จุดสูงสุดคือ จุด (-1, -3)
3. เสนตรง x = -1 เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = -(x + 1)2
– 3 ไดดังนี้
x -1 0 1
y = -(x + 1)2
– 3 -3 -4 -7
X
2
2 4
4
60
-2
-2-4-6-8
-4
Y
-12
-2
-4
-6
-8
-10
X2 4 60-2-4-6-8
Y
74
3) พิจารณากราฟของสมการ y = -(x + 1)2
+ 3
1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา
2. จุดสูงสุดคือ จุด (-1, 3)
3. เสนตรง x = -1 เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = -(x + 1)2
+ 3 ไดดังนี้
x -1 0 1
y = -(x + 1)2
+ 3 3 2 -1
4) พิจารณากราฟของสมการ y = 1
5 (x + 2)2
+ 2
1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย
2. จุดต่ําสุดคือ จุด (-2, 2)
3. เสนตรง x = -2 เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = 1
5(x + 2)2
+ 2 ไดดังนี้
x -2 -1 0
y =1
5 (x + 2)2
+ 2 2 11
5
14
5
2
-2
-4
X2 4 60-2-4-6-8
-6
-8
-10
Y
75
2.
c1 เปนกราฟของสมการ y = (x + 4)2
– 1
c2 เปนกราฟของสมการ y = (x + 2)2
c3 เปนกราฟของสมการ y = -(x – 4)2
c4 เปนกราฟของสมการ y = -(x – 6)2
– 1
3.
1) แสดงการสะทอน มีเสนตรง y = 2 เปนเสนสะทอน
2) แสดงการสะทอน มีเสนตรง y = -1 เปนเสนสะทอน
3) แสดงการเลื่อนขนาน กราฟของสมการ y = (x – 2)2
– 5 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของ
กราฟของสมการ y = (x – 2)2
ลงมาตามแนวเสนตรง x = 2 เปนระยะ 5 หนวย หรือ
กราฟของสมการ y = (x – 2)2
เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ
y = (x – 2)2
– 5 ขึ้นไปตามแนวเสนตรง x = 2 เปนระยะ 5 หนวย
4) แสดงการสะทอนหรือการเลื่อนขนาน
ในกรณีแสดงการสะทอน มีแกน Y = 0 เปนเสนสะทอน
ในกรณีแสดงการเลื่อนขนาน กราฟของสมการ y = (x + 4)2
+ 1 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน
ของกราฟของสมการ y = (x – 4)2
+ 1 ไปทางซายมือตามแนวเสนตรง y = 1 เปนระยะ 8 หนวย
หรือกราฟของสมการ y = (x – 4)2
+ 1 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ
y = (x + 4)2
+ 1 ไปทางขวามือตามแนวเสนตรง y = 1 เปนระยะ 8 หนวย
แบบฝกหัด 4.5
1.
1) สมการ y = x2
+ 6x + 8
เขียนไดเปน y = (x + 3)2
– 1
พิจารณากราฟของสมการ y = (x + 3)2
– 1
2
6
4
X2 4 60-2-4-6
Y
76
1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย
2. จุดต่ําสุดคือ จุด (-3, -1)
3. เสนตรง x = -3 เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = x2
+ 6x + 8 ไดดังนี้
x -3 -2 -1
y = (x + 3)2
– 1 -1 0 3
2) สมการ y = -x2
– 4x – 2
เขียนไดเปน y = -(x + 2)2
+ 2
พิจารณากราฟของสมการ y = -(x + 2)2
+ 2
1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา
2. จุดสูงสุดคือ จุด (-2, 2)
3. เสนตรง x = -2 เปนแกนสมมาตร
4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
เขียนกราฟของสมการ y = -x2
– 4x – 2 ไดดังนี้
x -2 -1 0
y = -(x + 2)2
+ 2 2 1 -2
2
4
6
8
-2
2 4 60-2-4-6-8
10
Y
X
77
2.
สมการ y = 2x2
+ 5x – 2 เขียนไดเปน y =
2
+
5 41
2 x 4 8−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
1) กราฟเปนพาราโบลาหงาย
2) จุดต่ําสุดของกราฟคือจุด ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
8
41
-,4
5
-
3) เสนตรง x = 4
5- เปนแกนสมมาตร
4) กราฟตัดแกน X ที่จุด ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
0,4
415-
และจุด ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
0,4
415-
สมการ y = -x2
+ 6x – 4 เขียนไดเปน y = -(x – 3)2
+ 5
1) กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา
2) จุดสูงสุดของกราฟคือจุด (3, 5)
3) เสนตรง x = 3 เปนแกนสมมาตร
4) กราฟตัดแกน X ที่จุด (3 20, 0+ ) และจุด (3 20, 0− )
Y
2
-2
-4
X2 4 60-2-4-6-8
-6
-8
-10
78
คําตอบกิจกรรม “จานพาราโบลา”
ควรวางอุปกรณรับความรอนไวที่โฟกัส
คําตอบกิจกรรม “สูงแคไหน”
1. 8 วินาที และขึ้นไปไดสูงสุด 64 เมตร
2. 63 เมตร
3. ประมาณ 3.1 วินาที และ 12.9 วินาที
คําตอบแบบฝกหัด
1. 5 เมตร
2. 5 วินาที และขึ้นไปไดสูงสุด 50 เมตร
3. ประมาณ 10.27 วินาที
คําตอบกิจกรรม “หาไดอยางไร”
1. ขอบเขตที่ดินมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 25 × 25 เมตร2
2. ขนาด 15.5 × 15.5 เมตร2
3. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด
p
4 ×
p
4 หนวย2
4. ขนาด 50 × 100 เมตร2
และไดพื้นที่ 5,000 ตารางเมตร
79
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ
80
กิจกรรมเสนอแนะ 4.5
กิจกรรมนี้มีเจตนาเชื่อมโยงความรูเรื่องสมการกําลังสองกับพาราโบลา เพื่อใหเห็นวิธีการหาคํา
ตอบของสมการกําลังสองจากกราฟพาราโบลากับแกน X
แนวการจัดกิจกรรม
ครูใชคําถามและยกตัวอยางใหนักเรียนเห็นความสัมพันธของคําตอบของสมการกําลังสอง โดยพิจารณา
จากจุดตัดของกราฟพาราโบลากับเสนตรง y = 0 หรือแกน X โดยใชคําถามตอเนื่องดังนี้
1. ถากําหนดสมการของกราฟพาราโบลาเปน y = 2x2
– 4x นักเรียนคิดวา y เทากับเทาใด จึงจะทํา
ให 2x2
– 4x = 0 [y = 0]
2. ถาสมการกําลังสองเปน 2x2
– 4x = 0 จํานวนใดเปนคําตอบของสมการนี้ [0 และ 2]
3. เสนตรง y = 0 เปนเสนตรงเดียวกันกับแกน X ใชหรือไม [ใช]
4. ใหนักเรียนพิจารณากราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = 2x2
– 4x กับเสนตรง y = 0 หรือแกน X
แลวตอบคําถามตอไปนี้
1) กราฟทั้งสองตัดกันที่จุดใด [(0, 0) และ (2, 0)]
2) คา x ในพิกัดของจุดตัดของกราฟทั้งสองคือจํานวนใด [0 และ 2]
2 4 6-2-4-6
-2
2
4
6
8
10
X
Y
0
y = 2x2
– 4x
y = 0
81
3) คา x ที่ไดในขอ 2) กับคําตอบของสมการ 2x2
– 4x = 0 สัมพันธกันอยางไร
[เปนจํานวนเดียวกัน]
4) นักเรียนสามารถหาคําตอบของสมการกําลังสองที่มีสมการเปน 2x2
– 4x = 0 ไดโดยหาจุดตัด
ของกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = 2x2
+ 4x กับแกน X ใชหรือไม [ใช]
5. ครูใหความรูกับนักเรียนวาโดยทั่วไป เราสามารถหาคําตอบของสมการกําลังสองที่อยูในรูป
ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ a, b และ c เปนคาคงตัวที่ a ≠ 0 ไดโดยพิจารณาที่คา x ในพิกัดของจุดตัดของกราฟ
ของสมการ y = ax2
+ bx + c เมื่อ a, b และ c เปนคาคงตัวที่ a ≠ 0 กับกราฟของเสนตรง y = 0 หรือ
แกน X
6. ครูยกตัวอยางเพิ่มเติมเพื่อใหนักเรียนเห็นการหาคําตอบของสมการกําลังสองที่มีสองคําตอบ
หนึ่งคําตอบและไมมีคําตอบ โดยพิจารณาจากกราฟพาราโบลากับแกน X ดังตัวอยางตอไปนี้
จากกราฟขางตนจะสามารถหาคําตอบของสมการกําลังสองไดดังนี้
เนื่องจากกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = x2
– 2x – 3 ตัดแกน X สองจุด คําตอบของสมการ
x2
– 2x – 3 = 0 จึงมี 2 คําตอบ คือ -1 และ 3
เนื่องจากกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = -x2
– 4x – 4 ตัดแกน X หนึ่งจุด คําตอบของสมการ
-x2
– 4x – 4 = 0 จึงมีคําตอบเดียว คือ -2
เนื่องจากกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = x2
– 4x + 7 ไมตัดแกน X สมการ x2
– 4x + 7 = 0
จึงไมมีคําตอบ
-6
0 X-2-4-6-8
-2
-4
2
4
6
8
-8
2 4 6 8
y = -x2
– 4x – 4
y = x2
– 2x – 3
y = x2
– 4x + 7
Y
82
7. ครูใหนักเรียนพิจารณากราฟแลวหาคําตอบของสมการกําลังสองที่กําหนดให
1) -x2
+ x + 6 = 0
[-2 และ 3]
2) x2
– 6x + 9 = 0
[ 3]
3) -5x2
+ 2x – 1 = 0
[ไมมีคําตอบ]
8. ใหนักเรียนหาคําตอบของสมการกําลังสองตอไปนี้ โดยใชกราฟที่กําหนดให
1) 2x2
– 4 = 0
[ 2 และ - 2 ]
2) -x2
+ 10x – 25 = 0
[5]
3) -x2
– 10x – 27 = 0
[ไมมีคําตอบ]
4) x2
+ 8x + 19 = 0
[ไมมีคําตอบ]
-6
0 X-2-4-6-8
-2
-4
2
4
6
8
-8
2 4 6 8
Y
y = -x2
+ x + 6
y = -5x2
+ 2x – 1
y = x2
– 6x + 9
-6
0 X-2-4-6-8
-2
-4
2
4
6
8
-8
2 4 6 8
Yy = x2
+ 8x + 19
y = -x2
+ 10x – 25
y = 2x2
– 4
y = -x2
– 10x – 27

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
Nomjeab Nook
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
Jiraprapa Suwannajak
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
krurutsamee
 

Mais procurados (20)

โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Math5
Math5Math5
Math5
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง จำนวนเต็ม
ใบงานที่ 1 เรื่อง จำนวนเต็มใบงานที่ 1 เรื่อง จำนวนเต็ม
ใบงานที่ 1 เรื่อง จำนวนเต็ม
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

Destaque

Destaque (8)

Add m1-2-chapter2
Add m1-2-chapter2Add m1-2-chapter2
Add m1-2-chapter2
 
Add m6-1-chapter3
Add m6-1-chapter3Add m6-1-chapter3
Add m6-1-chapter3
 
Desenvolvimento web seguro cookies - Rodolfo Stangherlin
Desenvolvimento web seguro cookies - Rodolfo StangherlinDesenvolvimento web seguro cookies - Rodolfo Stangherlin
Desenvolvimento web seguro cookies - Rodolfo Stangherlin
 
Engagement and Future of Work
Engagement and Future of WorkEngagement and Future of Work
Engagement and Future of Work
 
Diretório - Hotéis Nacional Inn | Espanhol
Diretório - Hotéis Nacional Inn | EspanholDiretório - Hotéis Nacional Inn | Espanhol
Diretório - Hotéis Nacional Inn | Espanhol
 
Patronenfilter INFA-MICRON
Patronenfilter INFA-MICRONPatronenfilter INFA-MICRON
Patronenfilter INFA-MICRON
 
Sample Report: Omnichannel Trend in Global B2C E-Commerce and General Retail ...
Sample Report: Omnichannel Trend in Global B2C E-Commerce and General Retail ...Sample Report: Omnichannel Trend in Global B2C E-Commerce and General Retail ...
Sample Report: Omnichannel Trend in Global B2C E-Commerce and General Retail ...
 
Digiconta Kobra Fotos Detalhe
Digiconta   Kobra Fotos DetalheDigiconta   Kobra Fotos Detalhe
Digiconta Kobra Fotos Detalhe
 

Semelhante a Add m3-1-chapter4

แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
Cha Rat
 
Function2555
Function2555Function2555
Function2555
wongsrida
 

Semelhante a Add m3-1-chapter4 (8)

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
 
Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 
Function2555
Function2555Function2555
Function2555
 

Mais de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Mais de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 

Add m3-1-chapter4

  • 1. บทที่ 4 พาราโบลา (12 ชั่วโมง) 4.1 สมการของพาราโบลา (2 ชั่วโมง) 4.2 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 เมื่อ a ≠ 0 (2 ชั่วโมง) 4.3 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 + k เมื่อ a ≠ 0 (2 ชั่วโมง) 4.4 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = a(x – h)2 + k เมื่อ a ≠ 0 (3 ชั่วโมง) 4.5 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 (3 ชั่วโมง) ในบทนี้ตองการใหนักเรียนมีความรูเกี่ยวกับพาราโบลาและการเขียนกราฟพาราโบลาที่มีสมการอยูในรูป y = ax2 + bx + c เมื่อ x, y เปนตัวแปร a, b, c เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 เทานั้น เนื้อหาของบทนี้สวนใหญ เสนอไวในรูปกิจกรรมที่ใหความรูเปนลําดับขั้นตอนของเนื้อหาที่สัมพันธ จากรูปอยางงายไปสูสมการของพารา โบลา y = ax2 + bx + c ดังที่ปรากฏในแตละหัวขอขางตน ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอน ครูจึงควรใหนัก เรียนไดทํากิจกรรมทุกกิจกรรมตามลําดับ เพื่อใหนักเรียนไดศึกษาสํารวจ สังเกตและสรางขอความคาดการณ เพื่อ นําไปสูขอสรุปที่เปนลักษณะทั่วไปของกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการในแตละกิจกรรมซึ่งเชื่อมโยงตอเนื่อง กัน และสามารถนําความรูไปแกปญหาที่กําหนดใหได ในการจัดการเรียนการสอนเรื่องนี้ ครูและนักเรียนอาจใชเครื่องคํานวณเชิงกราฟหรือคอมพิวเตอรที่มี โปรแกรมการเขียนกราฟ มาประกอบการเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนไดสํารวจ หาความสัมพันธระหวางสมการ ของพาราโบลาและกราฟพาราโบลา ซึ่งจะชวยใหนักเรียนไดพบตัวอยางที่หลากหลายและหาขอสรุปไดเร็วขึ้น ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. เขียนกราฟพาราโบลาที่กําหนดใหได 2. บอกลักษณะของกราฟพาราโบลาที่กําหนดใหได
  • 2. 51 แนวทางในการจัดการเรียนรู 4.1 สมการของพาราโบลา (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถบอกไดวาสมการที่กําหนดใหเปนหรือไมเปนสมการของพาราโบลา ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในการนําเขาสูบทเรียน ครูอาจสนทนาใหนักเรียนสังเกตสิ่งแวดลอมและสิ่งกอสรางรอบตัวที่มี ลักษณะเปนพาราโบลา เชน สายเคเบิ้ลที่ขึงโยงสะพานแขวน สายน้ําพุที่พุงขึ้นในชวงเวลาตาง ๆ ดังที่เสนอไวใน บทนําของหัวขอนี้ จากนั้นจึงแนะนําลักษณะกราฟพาราโบลาในทางคณิตศาสตร ดังตัวอยางกราฟพาราโบลา หงายและพาราโบลาคว่ําที่เสนอไวในหนังสือเรียนหนา 94 และหนา 95 ซึ่งนักเรียนเคยพบมาแลวในหนังสือเรียน สาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว ครูอาจใชการถามตอบและยกตัวอยางสมการเชิงเสนสองตัวแปร กราฟของสมการเชิงเสนสอง ตัวแปร เปรียบเทียบกับสมการของพาราโบลาและกราฟพาราโบลาขางตน เพื่อโยงไปสูรูปของสมการของ พาราโบลาและกราฟที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 + bx + c เมื่อ x, y เปนตัวแปร a, b, c เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 2. กิจกรรม “ลองคิดดู” มีเจตนาใหนักเรียนตระหนักวา เมื่อเขียนสมการในรูป y = ax2 + bx + c ควรเขียน a ≠ 0 เสมอ เพราะถา a = 0 แลวจะไดสมการเชิงเสนสองตัวแปรซึ่งมีกราฟเปนเสนตรง 3. กิจกรรม “บอกไดหรือไม” มีเจตนาใชเพื่อตรวจสอบความรูความเขาใจเกี่ยวกับสมการของ พาราโบลาในขอ 1 ขอยอย 5) และขอยอย 6) ครูควรแนะนําใหนักเรียนเขียนสมการที่กําหนดให ใหอยูในรูป y = ax2 + bx + c กอน แลวจึงระบุคา a, b และ c ดังตัวอยาง กําหนดสมการ 2y = 3x – x2 – 5 เขียนเปน y = ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 2 1 - x2 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 2 3 x + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 2 5 - จะได a = 2 1- , b = 2 3 และ c = ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 2 5 -
  • 3. 52 4.2 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 เมื่อ a ≠ 0 (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. เขียนกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 เมื่อ a ≠ 0 ได 2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่ําสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y = ax2 เมื่อ a ≠ 0 ได 3. บอกคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของ y จากสมการ y = ax2 เมื่อ a ≠ 0 ได 4. บอกความแตกตางของกราฟของสมการ y = ax2 เมื่อ a > 0 และ a < 0 ได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในการจัดเนื้อหาเกี่ยวกับพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 เมื่อ a ≠ 0 ซึ่งเปนสมการของ พาราโบลาที่สามารถเขียนกราฟไดงาย ในกรณีนี้ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวาเมื่อกําหนด a ≠ 0 จะแยกพิจารณา สมการเปน 2 กรณี คือ เมื่อ a > 0 และ a < 0 2. กิจกรรม “กราฟของ y = x2 ” มีเจตนาใหนักเรียนไดศึกษาสํารวจ สังเกตลักษณะของกราฟของสม การ y = ax2 เมื่อ a = 1 ในกิจกรรมนี้นักเรียนจะไดพบคําบางคําที่เกี่ยวของกับกราฟพาราโบลา ซึ่งไดแก แกน สมมาตรของพาราโบลา จุดต่ําสุดของกราฟ จุดสูงสุดของกราฟ คาต่ําสุดของ y และคาสูงสุดของ y เพื่อใชคํา เหลานี้ในกิจกรรมตอ ๆ ไป นอกจากครูจะใหนักเรียนตอบคําถามที่กําหนดใวในกิจกรรมแลว ครูควรใหนักเรียนพิจารณากราฟ และเกิดความรูสึกเชิงกราฟเชนในกรณี x > 0 เมื่อคา x เพิ่มขึ้นทีละ 1 คา y ที่เพิ่มขึ้นในแตละครั้งเปลี่ยน แปลงเปนอยางไร หรือในกรณี x < 0 เมื่อคา x ลดลงทีละ 1 คา y ที่เพิ่มขึ้นในแตละครั้งเปลี่ยนแปลงเปน อยางไร และมีผลทําใหลักษณะของกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = x2 เปนอยางไร ทั้งนี้เพื่อใชความรู และขอสรุปที่ไดไปเปรียบเทียบกับกราฟของสมการ y = ax2 เมื่อ a > 0 ตอไป 3. กิจกรรม “กราฟของ y = ax2 เมื่อ a > 0” มีเจตนาใหนักเรียนไดศึกษา สํารวจ สังเกตและ เปรียบเทียบกราฟของสมการ y = ax2 เมื่อ a > 0 และ a มีคาตาง ๆ กัน เพื่อสรางขอความคาดการณที่นําไปสู ขอสรุปลักษณะกราฟพาราโบลา y = ax2 เมื่อ a > 0 ครูอาจใหนักเรียนสังเกตคา a ในสมการ y = ax2 เมื่อ a > 0 มีผลทําใหกราฟทั้งสามบานมากหรือบานนอยตางกันอยางไร แตไมควรนําประเด็นคําถามเกี่ยวกับการบาน ของกราฟไปวัดผลและประเมินผล 4. สําหรับกิจกรรม “กราฟของ y = -x2 ” และกิจกรรม “กราฟของ y = ax2 เมื่อ a < 0” เปน กิจกรรมที่มีสาระในทํานองเดียวกันกับกิจกรรมที่กลาวมาแลวขางตน ครูอาจใหนักเรียนศึกษากันเปนกลุมและ นําผลสรุปมาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน หลังจากจบกิจกรรมนี้แลวนักเรียนควรบอกลักษณะสําคัญ ๆ ของกราฟ y = ax2 เมื่อ a > 0 และกราฟ y = ax2 เมื่อ a < 0 ในแงที่มีลักษณะเหมือนกันและแตกตางกันได เชน บอก ไดวากราฟมีแกน Y เปนแกนสมมาตรเหมือนกัน ถา a > 0 กราฟเปนพาราโบลาหงาย แตถา a < 0 กราฟเปน พาราโบลาคว่ํา เปนตน
  • 4. 53 5. สําหรับกิจกรรม “ภาพสะทอน” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นวากราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 และ y = -ax2 เมื่อ a > 0 ที่สัมประสิทธิ์ของ x2 ในสมการทั้งสองเปนจํานวนตรงขามกัน จะทําให ไดกราฟทั้งสองเปนภาพสะทอนซึ่งกันและกัน โดยมีแกน X เปนเสนสะทอน ครูอาจใหนักเรียนใชกระดาษลอก ลายตรวจสอบกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = 3x2 และ y = -3x2 วาเปนภาพสะทอนซึ่งกันและกันหรือไม หลังจากนั้นครูควรใชคําถามเชื่อมโยงความรูตอ เชน เมื่อกําหนดกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = 2x2 บน ระนาบในระบบพิกัดฉาก นักเรียนจะเขียนกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = -2x2 บนแกนคูเดียวกันใหไดรวด เร็ว นักเรียนจะทําไดอยางไร ทั้งนี้เพื่อใหนักเรียนไดรูจักนําความรูเกี่ยวกับการสะทอนมาใชใหเปนประโยชน 6. สําหรับแบบฝกหัด 4.2 ขอ 1 ครูควรชี้ใหนักเรียนสังเกตคา x และคา y ในตารางวาการหาคูอันดับ ที่สอดคลองกับสมการ คูอันดับแรกควรไดจากการแทนคา x ในสมการดวย 0 จะหาคา y ไดงายที่สุด และดวย ความรูเกี่ยวกับแกนสมมาตรเมื่อแทนคา x ดวยจํานวนตรงขามกัน เชน 1 และ -1 จะได y เปนจํานวนเดียวกัน นักเรียนควรใชความรูนี้มาชวยหาคา y เติมในตาราง ซึ่งจะไดคูอันดับที่สอดคลองกับสมการเร็วขึ้น ในการเขียนกราฟพาราโบลาครูควรใหนักเรียนใชกระดาษกราฟ เพราะจะชวยใหเขียนกราฟไดรวด เร็วและชัดเจน ในขั้นตนนี้ควรแนะนําใหนักเรียนกําหนดหนวยบนแกน X และหนวยบนแกน Y เปนหนวย เดียวกัน ควรเขียนตารางแสดงคา x และ y ประกอบการเขียนกราฟดวย ครูอาจแนะนําใหนักเรียนเลือกกําหนด คา x เปนจํานวนเต็มที่เมื่อแทน x ในสมการแลวไดคา y เปนจํานวนเต็มดวย ทั้งนี้ควรคํานึงถึงความ สะดวกในการเขียนกราฟดวย ครูควรย้ํากับนักเรียนเกี่ยวกับการเขียนกราฟวา เมื่อเขียนเสนผานระหวางจุด จะ ตองพยายามเขียนใหเปนเสนโคงเรียบ สําหรับแบบฝกหัดขอ 6 ตองการใหนักเรียนสามารถนําความรูและขอสรุปที่ไดจากแบบฝกหัดขอ กอนหนามาวิเคราะหสมการที่กําหนดใหและอธิบายลักษณะสําคัญของกราฟพาราโบลาที่ได ครูควรใหความสําคัญ กับกระบวนการเรียนรูกับนักเรียนโดยใหนักเรียนไดฝกเขียนกราฟ สังเกตลักษณะของกราฟพาราโบลาที่สัมพันธ กันกับสมการแตละสมการที่กําหนดให เพื่อใหไดความคิดรวบยอดจนสามารถบอกลักษณะของกราฟจากสมการ ไดโดยไมตองเขียนกราฟ 4.3 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 + k เมื่อ a ≠ 0 (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. เขียนกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 + k เมื่อ a ≠ 0 ได 2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่ําสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y = ax2 + k เมื่อ a ≠ 0 ได 3. บอกคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของ y จากสมการ y = ax2 + k เมื่อ a ≠ 0 ได
  • 5. 54 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหัวขอนี้ ครูควรใหนักเรียนสังเกตสมการ y = ax2 +k เมื่อ a ≠ 0 เปรียบเทียบกับสมการ y = ax2 เมื่อ a ≠ 0 เพื่อใหนักเรียนเห็นวาสมการ y = ax2 เปนสมการที่ สามารถเขียนอยูในรูปของสมการ y = ax2 + k เมื่อ k = 0 นั่นเอง ดังนั้นขอสรุปเกี่ยวกับลักษณะของกราฟ ของสมการ y = ax2 + k จึงมีหลายอยางเหมือนกราฟของสมการ y = ax2 เชน มีแกนสมการเปนแกน Y เหมือนกัน ลักษณะเปนพาราโบลาหงายหรือเปนพาราโบลาคว่ําเหมือนกัน กราฟจะบานมากหรือบานนอยก็ ขึ้นอยูกับคา a เชนเดียวกัน ดังนั้นในการพิจารณากราฟของสมการ y = ax2 + k ในที่นี้จึงมุงพิจารณาที่คา k เมื่อ k > 0 หรือ k < 0 2. สําหรับกิจกรรม “กราฟของ y = ax2 + k, a > 0” และกิจกรรม “กราฟของ y = ax2 + k, a < 0” ครูควรดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนใหนักเรียนเห็นความสัมพันธของกราฟที่กําหนดใหกับการเลื่อนขนานตาม แนวแกน Y อาจใหนักเรียนใชกระดาษลอกลายตรวจสอบความสัมพันธระหวางกราฟ เชน ลอกกราฟของสม การ y = 2x2 แลวเลื่อนกราฟขึ้นหรือลงตามแนวแกน Y ดูวาเลื่อนไปทับกราฟของสมการ y = 2x2 + 2 และ y = 2x2 – 2 ไดสนิทหรือไม หลังจากจบกิจกรรมทั้งสอง ครูควรใหนักเรียนชวยกันสรุปลักษณะที่สําคัญของกราฟพาราโบลาที่ กําหนดดวยสมการ y = ax2 + k เมื่อ a ≠ 0 และเชน จุดต่ําสุดหรือจุดสูงสุดของกราฟ เพื่อนําความรูที่ไดไปใช ตอไป 3. ครูควรใหนักเรียนสังเกตการเขียนกราฟพาราโบลาในตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 วา จากสมการที่ โจทยกําหนดให นักเรียนควรวิเคราะหลักษณะของกราฟในสวนสําคัญ ๆ กอน เพื่อใหการเขียนกราฟงายขึ้น จาก ตัวอยางแสดงใหเห็นลักษณะของกราฟที่วิเคราะหไดดังในขอ 1 ถึงขอ 4 เมื่อทราบลักษณะที่สําคัญของกราฟแลว จึงสรางตารางเพื่อกําหนดคา x ที่เหมาะสมและหาคา y ตอไป ในการกําหนดคา x ในตารางจะสังเกตเห็นการนําหลักการที่แกน Y เปนแกนสมมาตรมากําหนด จุดตาง ๆ ที่อยูขางเดียวกันของแกนสมมาตร โดยเริ่มกําหนดคูอันดับที่เปนพิกัดของจุดต่ําสุดหรือจุดสูงสุดของ กราฟกอน แลวจึงกําหนดคา x ที่อยูทางซายหรือทางขวาของแกนสมมาตรเพียงดานเดียว เมื่อหาจุดที่มีคูอันดับ สอดคลองกับสมการในตารางครบแลว ครูอาจใหนักเรียนชวยกันหาจุดที่เปนภาพสะทอนของจุดเหลานี้ ซึ่งเปน การใชแกนสมมาตรชวยในการหาจุดเหลานั้น 4. แบบฝกหัด 4.3 สําหรับขอ 1 ครูอาจชี้แนะใหนักเรียนใชหนวยบนแกน X และหนวยบนแกน Y ตางกันได สําหรับขอ 2 มีเจตนาใหนักเรียนใชขอสรุปลักษณะของกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 + k เมื่อ a ≠ 0 มาวิเคราะหกราฟที่สอดคลองกับสมการที่กําหนดให นักเรียนควรวิเคราะหไดโดยดู ความสัมพันธที่คา a กับลักษณะกราฟที่เปนพาราโบลาหงายหรือพาราโบลาคว่ํา และคา k กับจุดต่ําสุดหรือจุดสูง สุดของกราฟที่สอดคลองกับสมการแตละสมการดวย
  • 6. 55 4.4 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = a(x – h)2 + k เมื่อ a ≠ 0 (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. เขียนกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = a(x – h)2 + k เมื่อ a ≠ 0 ได 2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่ําสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y = a(x – h)2 + k เมื่อ a ≠ 0 ได 3. บอกคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของ y จากสมการ y = a(x – h)2 + k เมื่อ a ≠ 0 ได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. การจัดกิจกรรมการสอนในหัวขอนี้ ครูอาจดําเนินกิจกรรมทํานองเดียวกันกับหัวขอ 4.3 โดยเปรียบ เทียบสมการ y = a(x – h)2 + k เมื่อ a ≠ 0 กับสมการ y = ax2 + k เมื่อ a ≠ 0 ที่อาจเขียนเปน สมการ y = a(x – 0)2 + k แลวใหนักเรียนเปรียบเทียบกราฟของสมการที่มีคา h = 0 และ h ≠ 0 วามีความ แตกตางกันอยางไร 2. สําหรับกิจกรรม “กราฟของสมการ y = a(x – h)2 ” มีเจตนาใหนักเรียนไดสํารวจ สังเกตและสราง ขอความคาดการณเพื่อหาขอสรุปวา เมื่อ h ≠ 0 ลักษณะของกราฟพาราโบลาจะเปนอยางไรโดยใหนักเรียนเห็น กราฟของสมการ y = 2x2 หรือ y = 2(x – 0)2 เปรียบเทียบกับกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2 และ y = 2(x + 1)2 บนแกนคูเดียวกัน ครูควรใหนักเรียนสังเกตการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = 2x2 ไปตาม แกน X เพื่อใหนักเรียนเห็นวาคา h ในสมการ y = a(x – h)2 เมื่อ a ≠ 0 บงบอกใหทราบถึงจุดต่ําสุดของกราฟ อยางไร 3. สําหรับตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 มีเจตนาใหนักเรียนเห็นการวิเคราะหลักษณะที่สําคัญของกราฟ ของสมการ y = a(x – h)2 เมื่อ a ≠ 0 และ h ≠ 0 กอนเขียนกราฟ เพราะจะชวยใหการเขียนกราฟงายขึ้น และรวดเร็วขึ้น ในการเขียนกราฟดังตัวอยางที่ 1 ถึงแมในตารางจะกําหนดคา x เปนจํานวนเต็มที่อยูทางขวาของ แกนสมมาตร ครูควรชี้ใหเห็นวาเมื่อกําหนดจุดตามคูอันดับในตารางไดแลว นักเรียนอาจใชแกนสมมาตรเปนหลัก ในการหาจุดที่เปนภาพสะทอนของจุดเหลานั้น 4. ในการพิจารณากราฟของสมการ y = a(x – h)2 + k เมื่อ a ≠ 0 และ h ≠ 0 และ k ≠ 0 ครูอาจ ใหนักเรียนลองใชความรูที่ทราบแลวจากกราฟของสมการ y = ax2 + k และ y = a(x – h)2 มาคาดการณลักษณะ ที่สําคัญ ๆ ของกราฟของสมการ y = a(x – h)2 + k วานาจะเปนอยางไร จากนั้นจึงใหตรวจสอบขอความคาดการณ นั้น โดยพิจารณากราฟของสมการ y = 2(x – 1)2 , y = 2(x – 1)2 + 2 และ y = 2(x – 1)2 – 2 แลวจึงใหนักเรียน ทํากิจกรรม “กราฟของสมการ y = a(x – h)2 + k” เพื่อยืนยันขอความคาดการณของนักเรียน ขอสรุปของกิจกรรมนี้เปนความรูหลักที่สําคัญของเรื่องกราฟพาราโบลา เมื่อนักเรียนพบเห็นสมการ ของพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = a(x – h)2 + k นักเรียนควรจินตนาการลักษณะกราฟพาราโบลาดังกลาว ในวงความคิดได ดังนั้นครูจึงควรใหนักเรียนไดฝกทักษะการคิดวิเคราะหลักษณะของกราฟ จากสมการของพารา โบลาในรูปแบบตาง ๆ ใหมากพอดวย
  • 7. 56 เมื่อนํา (-12 ) ออกมานอกวงเล็บ จะตอง นํา 3 ซึ่งเปนตัวประกอบรวมมาคูณดวย 5. สําหรับแบบฝกหัด 4.4 ข ขอ 3 มีเจตนาใหนักเรียนไดฝกทักษะการเชื่อมโยงความรูเรื่องการแปลง ทางเรขาคณิตกับการเลื่อนขนานและการสะทอนของกราฟพาราโบลา เพื่อใหนักเรียนไดพัฒนาความรูและมีความ คิดยืดหยุนในการพิจารณากราฟ ครูอาจหาโจทยในลักษณะนี้ใหนักเรียนไดทําเพิ่มเติมอีกก็ได 4.5 พาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. เขียนกราฟพาราโบลาที่กําหนดดวยสมการ y = ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 ได 2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่ําสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y = ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 ได 3. บอกคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของ y จากสมการ y = ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 4.5 ก ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหัวขอนี้ นักเรียนจะตองใชความรูเรื่องสมการกําลังสองใน บทที่ 3 เกี่ยวกับการทําบางสวนของสมการใหเปนกําลังสองสมบูรณ เพื่อเขียนสมการในรูป y = ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 ใหอยูในรูปสมการ y = a(x – h)2 + k ตามตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 ครูควรย้ําวิธีการคํานวณบาง ขั้นตอนที่นักเรียนพึงระมัดระวัง เชน จากตัวอยางที่ 1 y = 3x2 – 6x + 1 = 3(x2 – 2x) + 1 = 3(x2 – 2x + 12 – 12 ) + 1 = 3(x2 – 2x + 12 ) – 3(12 ) + 1 จากตัวอยางที่ 2 y = -2x2 – 12x – 17 = -2(x2 + 6x) – 17 = -2(x2 + 6x + 32 – 32 ) – 17 = -2(x2 + 6x + 32 ) – (-2)(32 ) – 17 2. ครูควรอธิบายและทําความเขาใจกับนักเรียน เพื่อใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดไดวาเมื่อโจทย กําหนดสมการในรูป y = ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 มาให นักเรียนจะวิเคราะหลักษณะของกราฟที่กําหนดใหนี้ ไดโดยไมตองเขียนกราฟก็ตอเมื่อตองทําสมการนั้นใหอยูในรูป y = a(x – h)2 + k เมื่อ a ≠ 0 กอนจึงจะบอก จุดต่ําสุดหรือจุดสูงสุดของกราฟและแกนสมมาตรไดงาย เพื่อใหนักเรียนมีทักษะในเรื่องนี้ ครูอาจหาโจทยมาให นักเรียนทําเพิ่มเติมไดอีก ตัวประกอบรวมเปน -2 จึงตองเปลี่ยน เครื่องหมายในวงเล็บจากลบเปนบวก นํา -2 ซึ่งเปน ตัวประกอบรวมมาคูณ
  • 8. 57 3. แบบฝกหัด 4.5 ขอ 2 ขอยอย 4) เปนคําถามทิ้งทายใหนักเรียนหาจุดตัดของกราฟบนแกน X ถาครู เห็นสมควรที่จะเชื่อมโยงความรูเกี่ยวกับการหาคําตอบของสมการกําลังสองโดยใชกราฟพาราโบลา ครูอาจให ความรูเพิ่มเติมโดยใชกิจกรรมเสนอแนะ 4.5 ก็ได 4. สําหรับกิจกรรม “จานพาราโบลา” และ “สะพานแขวน” ตองการใหนักเรียนเห็นการนําความรู เกี่ยวกับพาราโบลาไปใชในชีวิตจริง เปนการเชื่อมโยงสาระคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ครูอาจใหนักเรียนยกตัวอยาง สิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบตัวที่ใชประโยชนของพาราโบลาเพิ่มเติมอีกก็ได 5. สําหรับกิจกรรม “สูงแคไหน” และ “หาไดอยางไร” มีเจตนาใหเห็นการนําความรูเกี่ยวกับพาราโบ ลาไปใชแกปญหา ครูอาจใหนักเรียนสังเกตวาการหาคําตอบในกิจกรรมทั้งสองนี้ นักเรียนจะตองเขียนสมการที่ กําหนดให ใหอยูในรูปสมการ y = a(x – h)2 + k เมื่อ a ≠ 0 กอน จะทําใหเห็นจุดสูงสุดของกราฟและชวยให ตอบคําถามอื่น ๆ ไดงายขึ้น คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู” สมการเชิงเสนและมีกราฟเปนเสนตรง คําตอบกิจกรรม “บอกไดหรือไม” 1. 1) a = 1, b = 1 และ c = -6 2) a = -2, b = 0 และ c = 0 3) a = 1, b = 0 และ c = 9 4) a = 2 1- , b = 2 และ c = 0 5) a = 1 , b = 6 และ c = 9 6) a = -1, b = -1 และ c = 4 1- 2. 1) เปนสมการของพาราโบลา เพราะสามารถจัดใหอยูในรูป y = ax2 + bx + c ได โดยที่ a = 1, b = 0 และ c = 0 2) ไมเปนสมการของพาราโบลา เพราะไมสามารถจัดใหอยูในรูป y = ax2 + bx + c ได โดยที่ a ≠ 0
  • 9. 58 3) เปนสมการของพาราโบลา เพราะอยูในรูป y = ax2 + bx + c โดยที่ a = 1, b = 2 และ c = -1 4) เปนสมการของพาราโบลา เพราะสามารถจัดใหอยูในรูป y = ax2 + bx + c ได โดยที่ a = 1, b = 2 และ c = 1 5) เปนสมการของพาราโบลา เพราะสามารถจัดใหอยูในรูป y = ax2 + bx + c ได โดยที่ a = -1, b = -2 และ c = -6 6) ไมเปนสมการของพาราโบลา เพราะไมสามารถจัดใหอยูในรูป y = ax2 + bx + c ได โดยที่ a ≠ 0 คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = x2 ” 1. พาราโบลาหงาย 2. 16 3. 16 4. 3 หรือ -3 5. เปนรูปสมมาตร มีเสนตรง x = 0 หรือแกน Y เปนแกนสมมาตร 6. มีคาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ 7. 0 8. มีคาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ 9. 0 ไดมาจากคา x เปน 0 10. ไมมี เพราะคา y เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ไมสิ้นสุด คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = ax2 , a > 0” 1. เสนตรง x = 0 หรือแกน Y 2. จุด (0, 0) และคาต่ําสุดของ y เปน 0 3. คา a กลาวคือ ถา a มีคานอยกราฟจะบานมาก แตถา a มีคามากกราฟจะบานนอย
  • 10. 59 คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = -x2 ” 1. พาราโบลาคว่ํา 2. -9 3. -9 4. 4 หรือ -4 5. เปนรูปสมมาตร มีเสนตรง x = 0 หรือแกน Y เปนแกนสมมาตร 6. มีคาลดลงเรื่อย ๆ 7. 0 8. มีคาลดลงเรื่อย ๆ 9. 0 ไดมาจากคา x เปน 0 10. ไมมี เพราะคา y ลดลงเรื่อย ๆ ไมสิ้นสุด คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = ax2 , a < 0” 1. เสนตรง x = 0 หรือแกน Y 2. จุด (0, 0) และคาสูงสุดของ y เปน 0 3. คา a กลาวคือ ถา a มีคานอยกราฟจะบานนอย แตถา a มีคามากกราฟจะบานมาก คําตอบกิจกรรม “ภาพสะทอน” เปนภาพสะทอนซึ่งกันและกัน โดยมีแกน X เปนเสนสะทอน
  • 11. 60 คําตอบแบบฝกหัด 4.2 1. 1) x -3 -2 -1 0 1 2 3 y = 2 x4 1 9 4 1 1 4 0 1 4 1 9 4 2) x -3 -2 -1 0 1 2 3 y = 2 x2 3 27 2 6 3 2 0 3 2 6 27 2 Y X 2 2 4 6 60 -2 -2-4-6 4 -4 Y X 2 2 4 6 60 -2 -2-4 -4 -6 4
  • 12. 61 3) x -3 -2 -1 0 1 2 3 y = 2 x3 2- -6 -8 3 -2 3 0 -2 3 -8 3 -6 4) x -3 -2 -1 0 1 2 3 y = 2 x3 4- -12 -16 3 -4 3 0 -4 3 -16 3 -12 Y 2 4 4 60 -2 -2-4 -4 -6 2 X -6 -12 -2 -4 -6 -8 -10 X 2 4 6 80-2-4-6-8 -14 Y
  • 13. 62 2. x -2 -1 0 1 2 y = 3x2 12 3 0 3 12 y = 21x3 4 3 1 3 0 1 3 4 3 1) เสนตรง x = 0 หรือแกน Y 2) จุด (0, 0) ทั้งสองกราฟ 3) 0 ทั้งสองสมการ 3. x -2 -1 0 1 2 y = -4x2 -16 -4 0 -4 -16 y = 21- x4 -1 -1 4 0 -1 4 -1 Y X 2 2 4 6 60 -2 -2-4-6 4 -4 Y 2 4 4 60 -2 -2-4 -4 -6 2 X -6
  • 14. 63 1) เสนตรง x = 0 หรือแกน Y 2) จุด (0, 0) ทั้งสองกราฟ 3) 0 ทั้งสองสมการ 4. x -2 -1 0 1 2 y = 25x2 10 5 2 0 5 2 10 y = 25- x3 -20 3 -5 3 0 -5 3 -20 3 1) เสนตรง x = 0 หรือแกน Y 2) จุด (0, 0) ทั้งสองกราฟ 3) 0 ทั้งสองสมการ 5. 1) พาราโบลาหงาย พิจารณาไดจากคา a ซึ่ง a > 0 2) เสนตรง x = 0 หรือแกน Y 3) จุด (0, 0) เปนจุดต่ําสุด 6. 1) พาราโบลาคว่ํา พิจารณาไดจากคา a ซึ่ง a < 0 2) เสนตรง x = 0 หรือแกน Y 3) จุด (0, 0) เปนจุดสูงสุด Y 2 4 4 60 -2 -2-4 -4 -6 2 X -6
  • 15. 64 คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = ax2 + k, a > 0” 1. ทับกันไดสนิท 2. เสนตรง x = 0 หรือแกน Y 3. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2 + 2 คือจุด (0, 2) และคาต่ําสุดของ y เปน 2 จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2 คือจุด (0, 0) และคาต่ําสุดของ y เปน 0 จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2 – 2 คือจุด (0, -2) และคาต่ําสุดของ y เปน -2 4. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2 + 2 อยูเหนือแกน X และจุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2 – 2 อยูใตแกน X 5. กราฟของสมการ y = 2x2 + 2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = 2x2 ตามแนว แกน Y ขึ้นไปเหนือแกน X เปนระยะ 2 หนวย และกราฟของสมการ y = 2x2 – 2 เปนภาพที่ไดจาก การเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = 2x2 ตามแนวแกน Y ลงมาใตแกน X เปนระยะ 2 หนวย คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = ax2 + k, a < 0” 1. ทับกันไดสนิท 2. เสนตรง x = 0 หรือแกน Y 3. จุดสูงสุดของกราฟของสมการ y = -2x2 + 2 คือจุด (0, 2) และคาสูงสุดของ y เปน 2 จุดสูงสุดของกราฟของสมการ y = -2x2 คือจุด (0, 0) และคาสูงสุดของ y เปน 0 จุดสูงสุดของกราฟของสมการ y = -2x2 + 2 คือจุด (0, -2) และคาสูงสุดของ y เปน -2 4. จุดสูงสุดของกราฟของสมการ y = -2x2 + 2 อยูเหนือแกน X และจุดสูงสุดของกราฟของสมการ y = -2x2 – 2 อยูใตแกน X 5. กราฟของสมการ y = -2x2 + 2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = -2x2 ตามแนว แกน Y ขึ้นไปเหนือแกน X เปนระยะ 2 หนวย และกราฟของสมการ y = -2x2 – 2 เปนภาพที่ไดจาก การเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = -2x2 ตามแนวแกน Y ลงมาใตแกน X เปนระยะ 2 หนวย แบบฝกหัด 4.3 1. 1) พิจารณากราฟของสมการ y = 5x2 + 4 1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย 2. จุดต่ําสุดคือ จุด (0, 4)
  • 16. 65 3. แกน Y เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = 5x2 + 4 ไดดังนี้ x 0 1 2 y = 5x2 + 4 4 9 24 2) พิจารณากราฟของสมการ y = -3x2 – 2 1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา 2. จุดสูงสุดคือ จุด (0, -2) 3. แกน Y เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = -3x2 – 2 ไดดังนี้ x 0 1 2 y = -3x2 – 2 -2 -5 -14 X 2 4 6 8 10 12 2 4 6 80-2-4-6-8 Y
  • 17. 66 3) พิจารณากราฟของสมการ y = - 21 23 +x 1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา 2. จุดสูงสุดคือ จุด (0, 2) 3. แกน Y เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = - 21 23 +x ไดดังนี้ x 0 1 2 y = - 21 23 +x 2 5 3 2 3 X2 4 4 60 -2 -2-4 -4 -6 2 -6 Y -12 -10 X2 4 6 8-2-4-6-8 -2 -4 -6 -8 0 Y
  • 18. 67 4) พิจารณากราฟของสมการ y = 21 - 14 x 1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย 2. จุดต่ําสุดคือ จุด (0, -1) 3. แกน Y เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = 21 - 14 x ไดดังนี้ x 0 1 2 y = 21 - 14 x -1 3-4 0 2. c1 เปนกราฟของสมการ y = 5x3 1 2 − c2 เปนกราฟของสมการ y = 3x2 – 5 c3 เปนกราฟของสมการ y = -x2 + 1 c4 เปนกราฟของสมการ y = 1x4 1- 2 + Y X 2 2 4 4 -6 60 -2 -2-4 -4 -6
  • 19. 68 คําตอบกิจกรรม “กราฟของสมการ y = a(x – h)2 ” 1. ทับกันไดสนิท 2. กราฟของสมการ y = 2(x + 1)2 มีเสนตรง x = -1 เปนแกนสมมาตร กราฟของสมการ y = 2x2 มีเสนตรง x = 0 เปนแกนสมมาตร กราฟของสมการ y = 2(x – 1)2 มีเสนตรง x = 1 เปนแกนสมมาตร 3. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x + 1)2 คือจุด (0, -1) จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2x2 คือจุด (0, 0) จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2 คือจุด (0, 1) 4. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2 อยูทางขวาของแกน Y 5. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x + 1)2 อยูทางซายของแกน Y 6. กราฟของสมการ y = 2(x – 1)2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = 2x2 ตามแนวแกน X ไปทางขวา 1 หนวย กราฟของสมการ y = 2(x + 1)2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = 2x2 ตามแนวแกน X ไปทางซาย 1 หนวย 7. กราฟของสมการ y = -2x2 มีจุดสูงสุดคือจุด (0, 0) กราฟของสมการ y = -2(x – 1)2 มีจุดสูงสุดคือจุด (0, 1) กราฟของสมการ y = -2(x + 1)2 มีจุดสูงสุดคือจุด (0, -1) 8. กราฟของสมการ y = -2(x – 1)2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = -2x2 ตามแนวแกน X ไปทางขวา 1 หนวย กราฟของสมการ y = -2(x + 1)2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = -2x2 ตามแนวแกน X ไปทางซาย 1 หนวย แบบฝกหัด 4.4 ก 1. 1) พิจารณากราฟของสมการ y = (x + 1)2 1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย 2. จุดต่ําสุดคือ จุด (-1, 0) 3. เสนตรง x = -1 เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร
  • 20. 69 เขียนกราฟของสมการ y = (x + 1)2 ไดดังนี้ x -1 0 1 y = (x + 1)2 0 1 4 2) พิจารณากราฟของสมการ y = -3(x – 1)2 1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา 2. จุดสูงสุดคือ จุด (1, 0) 3. เสนตรง x = 1 เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = -3(x – 1)2 ไดดังนี้ x 1 2 3 y = -3(x – 1)2 0 -3 -12 Y 2 6 4 X2 4 60-2-4-6 8
  • 21. 70 3) พิจารณากราฟของสมการ y = -4(x + 2)2 1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา 2. จุดสูงสุดคือ จุด (-2, 0) 3. เสนตรง x = -2 เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = -4(x + 2)2 ไดดังนี้ x -2 -1 0 y = -4(x + 2)2 0 -4 -16 -12 -2 -4 -6 -8 -10 X0 2 4 6 8-2-4-6-8 Y -12 -2 -4 -6 -8 -10 X 2 4 60-2-4-6-8 Y
  • 22. 71 4) พิจารณากราฟของสมการ y = (x – 3)2 1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย 2. จุดต่ําสุดคือ จุด (3, 0) 3. เสนตรง x = 3 เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = (x – 3)2 ไดดังนี้ x 3 4 5 y = (x – 3)2 0 1 4 2. c1 เปนกราฟของสมการ y = (x + 5)2 c2 เปนกราฟของสมการ y = (x – 1)2 c3 เปนกราฟของสมการ y = (x + 3)2 c4 เปนกราฟของสมการ y = (x – 2)2 คําตอบกิจกรรม “กราฟของสมการ y = a(x – h)2 + k” 1. ทับกันไดสนิท 2. เสนตรง x = 1 เปนแกนสมมาตร 3. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2 + 2 คือจุด (1, 2) จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2 คือจุด (1, 0) จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2 – 2 คือจุด (1, -2) Y 2 6 4 X2 4 60-2-4-6 8
  • 23. 72 4. จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2 + 2 อยูเหนือแกน X จุดต่ําสุดของกราฟของสมการ y = 2(x – 1)2 – 2 อยูใตแกน X 5. กราฟของสมการ y = a(x – h)2 + k เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = a(x – h)2 ตามแนวแกน Y ขึ้นไปเหนือแกน X เปนระยะ k หนวย เมื่อ k > 0 และลงมาใตแกน X เปนระยะ k หนวย เมื่อ k < 0 6. กราฟของสมการ y = -2(x – 3)2 มีจุดสูงสุดคือจุด (3, 0) กราฟของสมการ y = -2(x – 3)2 + 2 มีจุดสูงสุดคือจุด (3, 2) กราฟของสมการ y = -2(x – 3)2 – 2 มีจุดสูงสุดคือจุด (3, -2) 7. กราฟของสมการ y = -2(x – 3)2 + 2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = -2(x – 3)2 ตามแนวแกน Y ขึ้นไปเหนือแกน X เปนระยะ 2 หนวย กราฟของสมการ y = -2(x – 3)2 – 2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = -2(x – 3)2 ตามแนวแกน Y ลงมาใตแกน X เปนระยะ 2 หนวย แบบฝกหัด 4.4 ข 1. 1) พิจารณากราฟของสมการ y = 1 3(x – 1)2 – 2 1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย 2. จุดต่ําสุดคือ จุด (1, -2) 3. เสนตรง x = 1 เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = 1 3 (x – 1)2 – 2 ไดดังนี้ x 1 2 3 y = 1 3(x – 1)2 – 2 -2 5-3 2-3
  • 24. 73 2) พิจารณากราฟของสมการ y = -(x + 1)2 – 3 1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา 2. จุดสูงสุดคือ จุด (-1, -3) 3. เสนตรง x = -1 เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = -(x + 1)2 – 3 ไดดังนี้ x -1 0 1 y = -(x + 1)2 – 3 -3 -4 -7 X 2 2 4 4 60 -2 -2-4-6-8 -4 Y -12 -2 -4 -6 -8 -10 X2 4 60-2-4-6-8 Y
  • 25. 74 3) พิจารณากราฟของสมการ y = -(x + 1)2 + 3 1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา 2. จุดสูงสุดคือ จุด (-1, 3) 3. เสนตรง x = -1 เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = -(x + 1)2 + 3 ไดดังนี้ x -1 0 1 y = -(x + 1)2 + 3 3 2 -1 4) พิจารณากราฟของสมการ y = 1 5 (x + 2)2 + 2 1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย 2. จุดต่ําสุดคือ จุด (-2, 2) 3. เสนตรง x = -2 เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = 1 5(x + 2)2 + 2 ไดดังนี้ x -2 -1 0 y =1 5 (x + 2)2 + 2 2 11 5 14 5 2 -2 -4 X2 4 60-2-4-6-8 -6 -8 -10 Y
  • 26. 75 2. c1 เปนกราฟของสมการ y = (x + 4)2 – 1 c2 เปนกราฟของสมการ y = (x + 2)2 c3 เปนกราฟของสมการ y = -(x – 4)2 c4 เปนกราฟของสมการ y = -(x – 6)2 – 1 3. 1) แสดงการสะทอน มีเสนตรง y = 2 เปนเสนสะทอน 2) แสดงการสะทอน มีเสนตรง y = -1 เปนเสนสะทอน 3) แสดงการเลื่อนขนาน กราฟของสมการ y = (x – 2)2 – 5 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของ กราฟของสมการ y = (x – 2)2 ลงมาตามแนวเสนตรง x = 2 เปนระยะ 5 หนวย หรือ กราฟของสมการ y = (x – 2)2 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = (x – 2)2 – 5 ขึ้นไปตามแนวเสนตรง x = 2 เปนระยะ 5 หนวย 4) แสดงการสะทอนหรือการเลื่อนขนาน ในกรณีแสดงการสะทอน มีแกน Y = 0 เปนเสนสะทอน ในกรณีแสดงการเลื่อนขนาน กราฟของสมการ y = (x + 4)2 + 1 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน ของกราฟของสมการ y = (x – 4)2 + 1 ไปทางซายมือตามแนวเสนตรง y = 1 เปนระยะ 8 หนวย หรือกราฟของสมการ y = (x – 4)2 + 1 เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ y = (x + 4)2 + 1 ไปทางขวามือตามแนวเสนตรง y = 1 เปนระยะ 8 หนวย แบบฝกหัด 4.5 1. 1) สมการ y = x2 + 6x + 8 เขียนไดเปน y = (x + 3)2 – 1 พิจารณากราฟของสมการ y = (x + 3)2 – 1 2 6 4 X2 4 60-2-4-6 Y
  • 27. 76 1. กราฟเปนพาราโบลาหงาย 2. จุดต่ําสุดคือ จุด (-3, -1) 3. เสนตรง x = -3 เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = x2 + 6x + 8 ไดดังนี้ x -3 -2 -1 y = (x + 3)2 – 1 -1 0 3 2) สมการ y = -x2 – 4x – 2 เขียนไดเปน y = -(x + 2)2 + 2 พิจารณากราฟของสมการ y = -(x + 2)2 + 2 1. กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา 2. จุดสูงสุดคือ จุด (-2, 2) 3. เสนตรง x = -2 เปนแกนสมมาตร 4. หาจุดตาง ๆ ที่อยูบนขางเดียวกันของแกนสมมาตร เขียนกราฟของสมการ y = -x2 – 4x – 2 ไดดังนี้ x -2 -1 0 y = -(x + 2)2 + 2 2 1 -2 2 4 6 8 -2 2 4 60-2-4-6-8 10 Y X
  • 28. 77 2. สมการ y = 2x2 + 5x – 2 เขียนไดเปน y = 2 + 5 41 2 x 4 8− ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 1) กราฟเปนพาราโบลาหงาย 2) จุดต่ําสุดของกราฟคือจุด ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 8 41 -,4 5 - 3) เสนตรง x = 4 5- เปนแกนสมมาตร 4) กราฟตัดแกน X ที่จุด ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 0,4 415- และจุด ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 0,4 415- สมการ y = -x2 + 6x – 4 เขียนไดเปน y = -(x – 3)2 + 5 1) กราฟเปนพาราโบลาคว่ํา 2) จุดสูงสุดของกราฟคือจุด (3, 5) 3) เสนตรง x = 3 เปนแกนสมมาตร 4) กราฟตัดแกน X ที่จุด (3 20, 0+ ) และจุด (3 20, 0− ) Y 2 -2 -4 X2 4 60-2-4-6-8 -6 -8 -10
  • 29. 78 คําตอบกิจกรรม “จานพาราโบลา” ควรวางอุปกรณรับความรอนไวที่โฟกัส คําตอบกิจกรรม “สูงแคไหน” 1. 8 วินาที และขึ้นไปไดสูงสุด 64 เมตร 2. 63 เมตร 3. ประมาณ 3.1 วินาที และ 12.9 วินาที คําตอบแบบฝกหัด 1. 5 เมตร 2. 5 วินาที และขึ้นไปไดสูงสุด 50 เมตร 3. ประมาณ 10.27 วินาที คําตอบกิจกรรม “หาไดอยางไร” 1. ขอบเขตที่ดินมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 25 × 25 เมตร2 2. ขนาด 15.5 × 15.5 เมตร2 3. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด p 4 × p 4 หนวย2 4. ขนาด 50 × 100 เมตร2 และไดพื้นที่ 5,000 ตารางเมตร
  • 31. 80 กิจกรรมเสนอแนะ 4.5 กิจกรรมนี้มีเจตนาเชื่อมโยงความรูเรื่องสมการกําลังสองกับพาราโบลา เพื่อใหเห็นวิธีการหาคํา ตอบของสมการกําลังสองจากกราฟพาราโบลากับแกน X แนวการจัดกิจกรรม ครูใชคําถามและยกตัวอยางใหนักเรียนเห็นความสัมพันธของคําตอบของสมการกําลังสอง โดยพิจารณา จากจุดตัดของกราฟพาราโบลากับเสนตรง y = 0 หรือแกน X โดยใชคําถามตอเนื่องดังนี้ 1. ถากําหนดสมการของกราฟพาราโบลาเปน y = 2x2 – 4x นักเรียนคิดวา y เทากับเทาใด จึงจะทํา ให 2x2 – 4x = 0 [y = 0] 2. ถาสมการกําลังสองเปน 2x2 – 4x = 0 จํานวนใดเปนคําตอบของสมการนี้ [0 และ 2] 3. เสนตรง y = 0 เปนเสนตรงเดียวกันกับแกน X ใชหรือไม [ใช] 4. ใหนักเรียนพิจารณากราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = 2x2 – 4x กับเสนตรง y = 0 หรือแกน X แลวตอบคําถามตอไปนี้ 1) กราฟทั้งสองตัดกันที่จุดใด [(0, 0) และ (2, 0)] 2) คา x ในพิกัดของจุดตัดของกราฟทั้งสองคือจํานวนใด [0 และ 2] 2 4 6-2-4-6 -2 2 4 6 8 10 X Y 0 y = 2x2 – 4x y = 0
  • 32. 81 3) คา x ที่ไดในขอ 2) กับคําตอบของสมการ 2x2 – 4x = 0 สัมพันธกันอยางไร [เปนจํานวนเดียวกัน] 4) นักเรียนสามารถหาคําตอบของสมการกําลังสองที่มีสมการเปน 2x2 – 4x = 0 ไดโดยหาจุดตัด ของกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = 2x2 + 4x กับแกน X ใชหรือไม [ใช] 5. ครูใหความรูกับนักเรียนวาโดยทั่วไป เราสามารถหาคําตอบของสมการกําลังสองที่อยูในรูป ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b และ c เปนคาคงตัวที่ a ≠ 0 ไดโดยพิจารณาที่คา x ในพิกัดของจุดตัดของกราฟ ของสมการ y = ax2 + bx + c เมื่อ a, b และ c เปนคาคงตัวที่ a ≠ 0 กับกราฟของเสนตรง y = 0 หรือ แกน X 6. ครูยกตัวอยางเพิ่มเติมเพื่อใหนักเรียนเห็นการหาคําตอบของสมการกําลังสองที่มีสองคําตอบ หนึ่งคําตอบและไมมีคําตอบ โดยพิจารณาจากกราฟพาราโบลากับแกน X ดังตัวอยางตอไปนี้ จากกราฟขางตนจะสามารถหาคําตอบของสมการกําลังสองไดดังนี้ เนื่องจากกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = x2 – 2x – 3 ตัดแกน X สองจุด คําตอบของสมการ x2 – 2x – 3 = 0 จึงมี 2 คําตอบ คือ -1 และ 3 เนื่องจากกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = -x2 – 4x – 4 ตัดแกน X หนึ่งจุด คําตอบของสมการ -x2 – 4x – 4 = 0 จึงมีคําตอบเดียว คือ -2 เนื่องจากกราฟพาราโบลาที่มีสมการเปน y = x2 – 4x + 7 ไมตัดแกน X สมการ x2 – 4x + 7 = 0 จึงไมมีคําตอบ -6 0 X-2-4-6-8 -2 -4 2 4 6 8 -8 2 4 6 8 y = -x2 – 4x – 4 y = x2 – 2x – 3 y = x2 – 4x + 7 Y
  • 33. 82 7. ครูใหนักเรียนพิจารณากราฟแลวหาคําตอบของสมการกําลังสองที่กําหนดให 1) -x2 + x + 6 = 0 [-2 และ 3] 2) x2 – 6x + 9 = 0 [ 3] 3) -5x2 + 2x – 1 = 0 [ไมมีคําตอบ] 8. ใหนักเรียนหาคําตอบของสมการกําลังสองตอไปนี้ โดยใชกราฟที่กําหนดให 1) 2x2 – 4 = 0 [ 2 และ - 2 ] 2) -x2 + 10x – 25 = 0 [5] 3) -x2 – 10x – 27 = 0 [ไมมีคําตอบ] 4) x2 + 8x + 19 = 0 [ไมมีคําตอบ] -6 0 X-2-4-6-8 -2 -4 2 4 6 8 -8 2 4 6 8 Y y = -x2 + x + 6 y = -5x2 + 2x – 1 y = x2 – 6x + 9 -6 0 X-2-4-6-8 -2 -4 2 4 6 8 -8 2 4 6 8 Yy = x2 + 8x + 19 y = -x2 + 10x – 25 y = 2x2 – 4 y = -x2 – 10x – 27