SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
Baixar para ler offline
บทที่ 3
สมการกําลังสอง (12 ชั่วโมง)
3.1 ทบทวนสมการกําลังสอง (2 ชั่วโมง)
3.2 การแกสมการกําลังสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ (6 ชั่วโมง)
3.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสอง (4 ชั่วโมง)
นักเรียนเคยเรียนการแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวที่อยูในรูป ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ a, b, c
เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 ในกรณีที่สามารถแยกตัวประกอบของพหุนาม ax2
+ bx + c ใหอยูในรูป
การคูณกันของพหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มมาแลวในหนังสือเรียน
สาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เนื้อหาในบทนี้เปนสาระตอเนื่องจาก
ความรูดังกลาวเกี่ยวกับการแกสมการกําลังสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณและผลตางของกําลังสอง
คําตอบของสมการกําลังสองในบทเรียนนี้จะขยายไปถึงจํานวนที่เขียนอยูในรูปของกรณฑที่สอง นอก
จากนี้ยังไดกลาวถึงการหาคําตอบของสมการ ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัว และ a ≠
0 โดยใชสูตร x = 2a
4acbb- 2
−±
เพื่อใหนักเรียนมีวิธีการหาคําตอบของสมการไดมากขึ้น
ทั้งมีการนําความรูเกี่ยวกับสมการกําลังสองไปใชแกโจทยปญหา
ตัวอยางและกิจกรรมที่จัดไวในแตละหัวขอ มีเจตนาใหนักเรียนเขาใจเทคนิควิธีแกสมการ
กําลังสองและการนําไปใชแกโจทยปญหา นอกจากการทําแบบฝกหัดในหนังสือเรียนตามปกติแลว
ครูอาจใหนักเรียนฝกทักษะเพิ่มเติมโดยยกตัวอยางและเลือกโจทยที่ไมซับซอนและยุงยากตอการคิดคํานวณ
แตเนนแนวคิดและวิธีการแกปญหาเพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจมากขึ้น
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. แกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวได
2. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
34
แนวทางในการจัดการเรียนรู
3.1 ทบทวนสมการกําลังสอง (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวในรูป ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ a, b, c
เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 โดยใชการแยกตัวประกอบได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรทบทวนรูปทั่วไปของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว และขั้นตอนการแกสมการรวม
ถึงการตรวจสอบคําตอบเพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนหัวขอนี้
2. สําหรับตัวอยางที่ 1, 2, 3 และ 4 มีเจตนาใหทบทวนความรูเรื่องการแกสมการกําลังสอง
ตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบของพหุนามตามที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว ในตัวอยางที่ 3 ครูควร
ชี้ใหนักเรียนเห็นรูปแบบของการแยกตัวประกอบที่เปนกําลังสองสมบูรณ ซึ่งทําใหไดตัวประกอบสอง
ตัวประกอบที่เหมือนกันและไดคําตอบของสมการสองคําตอบเหมือนกัน ดังนั้นสมการเชนนี้มีคําตอบ
เพียงคําตอบเดียว
3. สําหรับตัวอยางที่ 5, 6 และ 7 เปนตัวอยางที่ขยายความรูเดิม ในตัวอยางแสดงใหเห็นการ
แกสมการโดยการแยกตัวประกอบที่เปนผลตางของกําลังสองและคําตอบอยูในรูปของกรณฑที่สอง ครู
อาจแนะใหนักเรียนหาคําตอบของสมการเหลานี้โดยใชสมบัติของรากที่สองของจํานวนจริง แตการใชวิธี
นี้นักเรียนจะตองระมัดระวังในการหาคําตอบของสมการมาใหครบทุกคําตอบ ทั้งนี้ครูควรย้ํากับนักเรียน
วาในการแกสมการทุกครั้ง ในขั้นตอนสุดทายตองตรวจสอบคําตอบของสมการดวย
3.2 การแกสมการกําลังสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ (6 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถแกสมการกําลังสอง ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัว
และ a ≠ 0 โดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณหรือใชสูตร x = 2a
4acbb 2
−− ±
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ก และ 3.2 ข
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรทบทวนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนกําลังสองสมบูรณ ครูอาจ
ยกตัวอยางสมการกําลังสองที่ไมสามารถแยกตัวประกอบไดโดยงาย จําเปนตองมีการเพิ่มพจนเขาและลบ
ออก เพื่อจัดบางสวนของพหุนามใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ ครูควรชี้แนะใหนักเรียนสังเกตวาพจนที่
นํามาลบนั้นสามารถทําใหไดจํานวนที่อยูในรูปกําลังสอง เพื่อทําใหไดพหุนามที่เปนผลตางของกําลังสอง
35
และสามารถแยกตัวประกอบตอไปได
2. สําหรับตัวอยางที่ 5 การทําสมการที่อยูในรูป ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ a ≠ 1 ใหมีพหุนาม
อยูในรูปกําลังสองสมบูรณ จะตองทําสัมประสิทธิ์ของ x2
ใหเปน 1 ครูควรชี้และย้ํากับนักเรียนวาจะ
ตองนํา a ไปหารทุก ๆ พจนของสมการ
3. ครูควรใหนักเรียนฝกการแกสมการกําลังสองโดยการแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยูในรูป
กําลังสองสมบูรณและผลตางของกําลังสองโดยการทําแบบฝกหัด 3.2 ก แลวจึงยกตัวอยางการแกสมการ
กําลังสองที่อยูในรูป ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัวที่ a ≠ 0 ซึ่งจะไดสูตรหาคําตอบของ
สมการเปน x = 2a
4acbb 2
−− ±
ครูควรย้ํากับนักเรียนวาในกรณีที่ใชสูตรนี้หาคําตอบของสมการจะ
ตองรูวา b2
– 4ac > 0 จากนั้นครูจึงคอยชี้แนะใหนักเรียนสังเกตจํานวนคําตอบของสมการ
ax2
+ bx + c = 0 ที่ขึ้นอยูกับคาของ b2
– 4ac โดยพิจารณาแยกกรณีตามที่เสนอไวในหนังสือเรียน
สวนกรณีที่ 3 กลาวถึง b2
– 4ac < 0 จะไดคําตอบของสมการที่ไมใชจํานวนจริง ในกรณีนี้ครูไมจํา
เปนตองบอกนักเรียนวาคําตอบเปนอยางไร แตใหบอกเพียงวาไมมีคําตอบที่เปนจํานวนจริงเทานั้น
ครูควรชี้แนะใหนักเรียนสังเกตวาในการหาคําตอบโดยใชสูตร จะไมมีการตรวจสอบคํา
ตอบ เพราะไดมีการตรวจสอบในขั้นตอนการพิสูจนสูตรอยูแลว แตถาไมแนใจในการคํานวณ ก็ควร
ตรวจสอบความถูกตองของคําตอบอยางไมเปนทางการดวย
4. กิจกรรม “ทําไดไหม” มีเจตนาใหนักเรียนใชเงื่อนไขในการหาคําตอบจากสูตรหาคําตอบ
ของสมการกําลังสอง ซึ่งในที่นี้นักเรียนควรวิเคราะหไดวาตองใชเงื่อนไข b2
– 4ac = 0 มาชวยในการ
หาคา k
5. กิจกรรม “เกี่ยวของกันอยางไร” มีเจตนาใหนักเรียนสังเกตเห็นความสัมพันธระหวางคํา
ตอบของสมการกําลังสอง ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ก ประกอบดวยก็ได
6. กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ข “สูตรชวยได” มีเจตนาแสดงใหเห็นการใชสูตรหาคําตอบของสม
การกําลังสองมาชวยในการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป ax2
+ bx + c ที่ไมสามารถ
เขียนเปนผลคูณของพหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนามไดโดยงาย ครูอาจยกตัวอยางการแยกตัวประกอบของ
พหุนาม 24x2
+ 7x – 5 มาแสดงใหเห็นวา ถาแยกตัวประกอบโดยวิธีปกติจะยุงยากอยางไร แตเมื่อใช
สูตรที่แนะนําไวมาชวย จะสามารถแยกตัวประกอบไดอยางรวดเร็ว
36
3.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสอง (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูทบทวนขั้นตอนการแกโจทยปญหาโดยใชสมการกําลังสอง อาจใชโจทยในตัวอยางที่ 1
มาแสดงวิธีทําและชี้ใหเห็นวาในขั้นตอนการแกสมการกําลังสองในการหาคา x นักเรียนอาจใชการแยก
ตัวประกอบของพหุนาม x2
– 22x + 105 เปน (x – 15)(x – 7) แลวหาคา x ตามวิธีทําที่เคยเรียนมากอน
แลวก็ได
นอกจากตัวอยางที่ใหไวในหนังสือเรียนแลว ครูอาจยกตัวอยางโจทยปญหาที่มีคําตอบ
เปนจํานวนอตรรกยะเพิ่มเติมดวยก็ได
ครูควรเนนใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการตรวจสอบคําตอบ ซึ่งจะตองนําคาของตัวแปร
ไปตรวจสอบกับเงื่อนไขในโจทย ไมควรนําคาของตัวแปรไปแทนในสมการที่นักเรียนหามาได ทั้งนี้
เพราะนักเรียนอาจเขียนสมการผิด และเมื่อนําคาของตัวแปรที่หามาไดจากสมการนั้นไปแทนคาตัวแปรใน
สมการก็จะยังไดสมการที่เปนจริง แตเมื่อนําคาของตัวแปรไปตรวจสอบกับเงื่อนไขในโจทยก็จะไมสอด
คลองกับเงื่อนไขในโจทย
2. สําหรับแบบฝกหัด 3.3 เปนการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองที่อยูในรูปการบวก
การลบและการคูณของพหุนามเทานั้น ในที่นี้จะยังไมกลาวถึงสมการที่เกี่ยวของกับเศษสวนของพหุนาม
ซึ่งนักเรียนจะไดเรียนในภาคเรียนตอไป ครูไมควรใหโจทยฝกเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับเศษสวนของพหุนาม
ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 ซึ่งเปนโจทยปญหาที่มีคําตอบเปนจํานวนอตรรกยะเพิ่มเติม
อีกก็ได
3. สําหรับกิจกรรม “หาอัตราสวนทองอีกวิธีหนึ่ง” ตองการใหนักเรียนไดเห็นการหาอัตรา
สวนทองโดยใชสมการกําลังสอง ถามีเวลาพอครูอาจนําวิธีการหาอัตราสวนทองตามแนวคิดที่
นักเรียนเคยเรียนมาแลวในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
ในกิจกรรม “อัตราสวนทอง” หนา 121 – 122 มาเชื่อมโยงโดยขยายความรูดังนี้
กําหนดให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีแตละดานยาว x หนวย ใหจุด E เปน
จุดกึ่งกลางของ AB เมื่อใชจุด E เปนจุดศูนยกลางรัศมี EC เขียนสวนโคงตัด AB ที่จุด F ดังรูป ก
ลาก FG ตั้งฉากกับ AF ตัด DC ที่จุด H จะได AFHD เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทอง ดังรูป ข ซึ่ง
สามารถหาอัตราสวนทองไดดังนี้
37
จากรูป AFHD จะได BC = a หนวย และ BE = a
2 หนวย
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส
จะได EC2
= BC2
+ BE 2
= a2
+
2
2
a
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
EC = 4
aa
2
2
+
= 4
5a2
ดังนั้น EC = a2
5
เนื่องจาก EC = EF (เปนรัศมีของวงกลมเดียวกัน)
จะได EF = a2
5
เนื่องจาก AF = AE + EF
จะได AF = 2
a + a2
5
= 2
a)51( +
จากรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทอง AFHD จะไดอัตราสวนของความยาวตอความกวางเทากับ
AF : AD
ดังนั้น AD
AF = a
a2
51+
= 2
51+
นั่นคือ อัตราสวนทองเทากับ 2
51+
ซึ่งคิดเปนประมาณ 1.618
A E B
CD
F A E B
CD
F
H
G
รูป ก รูป ข
38
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัด 3.1
1.
1) 0 และ 3 2) 0 และ 2
5
3) 1 และ 3 4) ไมมีคําตอบ
5) 3
2 และ -1 6) 5
2
7) 2
5- และ 3
1 8) 5
3 และ 2
5-
9) 4
3 และ -2 10) 4
1-
11) 2
3- และ -1 12) 3
5 และ 1
13) 3
5 14) ไมมีคําตอบ
15) 3
7 และ 8 16) 3
4 และ 1
2.
1) 6 และ 6- 2) 17 และ 17-
3) 6 และ -6 4) ไมมีคําตอบ
5) 2 + 60 และ 2 – 60 6) ไมมีคําตอบ
7) 2
3 และ 2
9- 8) 3
234 −
และ 3
234 +
9) 5
102+
และ 5
102−
10) 1 และ 7
3-
11) 2 และ 3
4- 12) 2
3- และ 4
1-
13) 2
11 และ 4 14) ไมมีคําตอบ
15) ไมมีคําตอบ 16) 9
2
39
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ก
1. 103+ และ 103− 2. 104- + และ 104- −
3. ไมมีคําตอบ 4. 2
293- +
และ 2
293- −
5. 3 6. ไมมีคําตอบ
7. 3
72+
และ 3
72−
8. ไมมีคําตอบ
9. 2
332- + และ 2
332- − 10. 5
4 และ 2
3-
11. 4
339- +
และ 4
339- −
12. ไมมีคําตอบ
13. 3
4 และ 2
1 14. 2
10-
15. 6
897+
และ 6
897−
16. 0 และ 3
8
17. 3 และ -1 18. 13
302- +
และ 13
302- −
19. 2
577+
และ 2
577−
20. 2
331- +
และ 2
331- −
คําตอบกิจกรรม “ทําไดไหม”
1. -12 และ 12
2. 16
3. 25
4. 2 และ 18
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ข
1.
1) มีคําตอบ สองคําตอบ 2) มีคําตอบ สองคําตอบ
3) ไมมีคําตอบ 4) มีคําตอบ หนึ่งคําตอบ
5) มีคําตอบ สองคําตอบ 6) ไมมีคําตอบ
7) มีคําตอบ สองคําตอบ 8) มีคําตอบ หนึ่งคําตอบ
40
9) ไมมีคําตอบ 10) มีคําตอบ หนึ่งคําตอบ
2.
1) 1 และ 11 2) -2 และ 5
3) -2 + 3 และ -2 – 3 4) ไมมีคําตอบ
5) 2
7 และ -2 6) 2
3 และ 5
1
7) 7
1 8) 6
137+
และ 6
137−
9) 4
177+
และ 4
177−
10) 5
622- +
และ 5
622- −
3.
1) 2
71+
และ 2
71−
2) 1 + 5 และ 1 – 5
3) 4
331+
และ 4
331−
4) ไมมีคําตอบ
5) 0 และ 4
1 6) 0
7) 7 และ 4
13- 8) 4
53+
และ 4
53−
9) -4 และ 5 10) 17
10 และ -2
คําตอบกิจกรรม “เกี่ยวของกันอยางไร”
1. a
b- 2. a
c
ผลบวกของคําตอบของสมการเทากับ a
b- และผลคูณของ
คําตอบของสมการเทากับ a
c
คําตอบแบบฝกหัด 3.3
1. กวาง 12 เมตร
ยาว 15 เมตร
2. AB = 12 เซนติเมตร
BC = 5 เซนติเมตร
41
AC = 13 เซนติเมตร
3. ความยาวของฐาน BC = 8 เซนติเมตร
4. 25 และ 27
5. กวาง 8 เซนติเมตร ยาว 15 เซนติเมตร และสูง 6 เซนติเมตร
6. 4 เซนติเมตร
7. กวาง 5 เซนติเมตร ยาว 11 เซนติเมตร
หรือกวาง 5.5 เซนติเมตร ยาว 10 เซนติเมตร
8. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD มีขนาดยาวดานละ 6 เซนติเมตร
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก PQRS มีขนาดกวาง 4 เซนติเมตร และยาว 9 เซนติเมตร
9. 50 แถว และแถวละ 40 ตน
10. 49 ตารางวา และ 121 ตารางวา
42
กิจกรรมเสนอแนะ แบบฝกหัดเพิ่มเติมและคําตอบ
43
กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ก
กิจกรรมนี้ใชเสริมกิจกรรม “เกี่ยวของกันอยางไร” ในหนังสือเรียน หนา 82
นักเรียนทราบมาแลววาถา r1 และ r2 เปนคําตอบของสมการ ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ a, b, c
เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 แลว
r1 + r2 = a
b-
21 rr ⋅ = a
c
ความสัมพันธของคําตอบของสมการดังกลาวสามารถนํามาแกปญหาได เชน
ตัวอยาง จงหาคา k จากสมการและสิ่งที่กําหนดใหในแตละขอตอไปนี้
1) kx2
– 2x + 7 = 0 และผลบวกของคําตอบของสมการเปน 5
2
2) 4x2
– 11x + (k – 3) = 0 และผลคูณของคําตอบของสมการเปน 2
3
วิธีทํา 1) kx2
– 2x + 7 = 0
เนื่องจาก r1 + r2 = 5
2
จะได a
b- = 5
2
ดังนั้น k
(-2)- = 5
2
นั่นคือ k = 5
ตอบ 5
2) 4x2
– 11x + (k – 3) = 0
เนื่องจาก 21 rr ⋅ = 2
3
จะได a
c = 2
3
ดังนั้น 4
3k −
= 2
3
k – 3 = 6
นั่นคือ k = 9
ตอบ 9
44
จงหาคา p จากสมการและสิ่งที่กําหนดใหในแตละขอตอไปนี้
1. 3px2
– 5x – p = 0 และผลบวกของคําตอบของสมการเปน 5
1
3
⎡ ⎤
⎢ ⎥⎣ ⎦
2. 2py2
+ 4y – 6p = 0 และผลบวกของคําตอบของสมการเปน 3
4 3
-2
⎡ ⎤
⎢ ⎥⎣ ⎦
3. 5m2
– (p + 1)m – 2 = 0 และผลบวกของคําตอบของสมการเปน 5
3 [2]
4. 6x2
+ x – 3p = 0 และผลคูณของคําตอบของสมการเปน 2
3- [3]
5. px2
– 6x – 1 = 0 และผลคูณของคําตอบของสมการเปน 5
1- [5]
6. 3
2 px2
+ 2px – 4 = 0 และผลคูณของคําตอบของสมการเปน 6 [-1]
45
กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ข
กิจกรรมนี้ตองการใหเห็นการนําสูตรการหาคําตอบของสมการกําลังสองมาใชในการ
แยกตัวประกอบพหุนามที่อยูในรูป ax2
+ bx + c
สูตรชวยได
นักเรียนเคยหาคําตอบของสมการกําลังสอง ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัว และ
a ≠ 0 ไดจากสูตร
x = 2a
4acbb- 2
−±
เมื่อ b2
– 4ac > 0
เราสามารถอาศัยสูตรนี้ชวยในการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป ax2
+ bx + c
เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัวที่ b2
– 4ac > 0 และ a ≠ 0 ได โดยกําหนดให r1 = 2a
4acbb- 2
−+
และ r2 = 2a
4acbb- 2
−−
สูตรการแยกตัวประกอบของพหุนาม ax2
+ bx + c จะไดเปน ax2
+ bx + c = a(x – r1)(x – r2)
คําอธิบายเพิ่มเติมสําหรับครู
พิจารณาการแยกตัวประกอบของพหุนาม ax2
+ bx + c เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัวที่ b2
– 4ac > 0
และ a ≠ 0 โดยใชวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณไดดังนี้
ax2
+ bx + c =
⎥⎦
⎤
⎢⎣
⎡ ++
a
c
xa
b
xa 2
= ⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
⎭
⎬
⎫
⎩
⎨
⎧
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +++ −
a
c
2a
b
2a
b
xa
b
xa
22
2
= ⎥⎦
⎤
⎢⎣
⎡
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
−+ 2
22
4a
4acb
2a
b
xa
ถา b2
– 4ac > 0
จะได ax2
+ bx + c =
⎥
⎥
⎦
⎤
⎢
⎢
⎣
⎡
⎟⎟
⎠
⎞
⎜⎜
⎝
⎛
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
−+
222
2a
4acb
2a
b
xa
46
= ⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
−+
2a
4acb
2a
b
xa
2
⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
++
2a
4acb
2a
b
x
2
= ⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡ −−
+
2a
4acbb
xa
2
⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡ −+
+
2a
4acbb
x
2
= ⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡ −
−
+
2a
4acbb-
xa
2
⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡ −−
−
2a
4acbb-
x
2
กําหนด r1 = a2
4acbb- 2
−+
และ r2 = a2
4acbb- 2
−−
ดังนั้น จะสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใชสูตรไดดังนี้
ax2
+ bx + c = a(x – r1)(x – r2) เมื่อ r1 และ r2 เปนคําตอบของสมการ ax2
+ bx + c = 0
ตัวอยาง จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้
1) 2x2
– 3x + 1
2) 30x2
+ 7x – 18
3) 3x2
– 2x – 4
วิธีทํา
1) 2x2
– 3x + 1
จากสูตร x = 2a
4acbb- 2
−±
ในที่นี้ a = 2, b = -3 และ c = 2
จะได x = 2(2)
4(2)(1)(-3))3-(- 2
−±
= 4
13 ±
นั่นคือ r1 = 1 หรือ r2 = 2
1
ดังนั้น 2x2
– 3x + 1 = 2(x – 1) ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
2
1
x
หรือ = (x – 1)(2x – 1)
ลองตรวจสอบดูซิวา
เปนจริงหรือไม
47
2) 30x2
+ 7x – 18
จากสูตร x = 2a
4acbb- 2
−±
ในที่นี้ a = 30, b = 7 และ c = -18
จะได x = 2(30)
4(30)(-18)77- 2
−±
= 60
477- ±
นั่นคือ r1 = 3
2 หรือ r2 = 10
9-
ดังนั้น 30x2
+ 7x – 18 = 30
⎥⎦
⎤
⎢⎣
⎡ −
3
2
x ⎥⎦
⎤
⎢⎣
⎡
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛−
10
9
-x
= 3 ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
3
2
x 10 ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
10
9
x
= (3x – 2)(10x + 9)
3) 3x2
– 2x – 4
จากสูตร x = 2a
4acbb- 2
−±
ในที่นี้ a = 3, b = -2 และ c = -4
จะได x = 2(3)
4(3)(-4)(-2))-2(- 2
−±
= 6
522 ±
= 3
131 ±
นั่นคือ r1 = 3
131 +
หรือ r2 = 3
131 −
ดังนั้น 3x2
– 2x – 4 = 3
⎥⎦
⎤
⎢⎣
⎡ ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ +
−
3
131x
⎥⎦
⎤
⎢⎣
⎡ ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ −
−
3
131x
= ( )[ ]131x3 +−
⎥⎦
⎤
⎢⎣
⎡ ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ −
−
3
131x
48
ใหนักเรียนแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้
1. 2x2
+ 11x – 6 [(x + 6)(2x – 1)]
2. 5x2
– 8x – 4 [(5x + 2)(x – 2)]
3. 3m2
– 4m – 1 3
2 7 2 7
x x3 3
−
− −
+⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞
⎢ ⎥⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦
4. 5y2
– 6y – 1
3 14 3 14
5 x x5 5
−
− −
+⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞
⎢ ⎥⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦
5. 24x2
+ 7x – 5
5 1
24 x x8 3−+
⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦
6. 2x2
+ 9x + 6
9 33 9 33
2 x x4 4
−+
+ +
⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞
⎢ ⎥⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦
7. 3x2
+ 12x + 1
6 33 6 33
3 x x3 3
−+
+ +
⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞
⎢ ⎥⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦
8. 25x2
– 10x – 1
1 2 1 2
25 x x5 5
−
− −
+⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞
⎢ ⎥⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦
49
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3
1. จํานวนสองจํานวนตางกันอยู 5 ถาผลคูณของทั้งสองจํานวนมากกวาสามเทาของผลบวกของทั้งสอง
จํานวนอยู 1 จงหาจํานวนทั้งสองนั้น
+ +⎡
⎢
⎣
11 65 1 65
,2 2 หรือ
− − ⎤
⎥
⎦
11 65 1 65
,2 2
2. รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีดานฐานยาวกวาความสูงอยู 3 เซนติเมตร ถาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมเทากับ
120 ตารางเซนติเมตร ดานฐานของรูปสามเหลี่ยมนี้ยาวเทาไร [ประมาณ 17.06 เซนติเมตร]
3. ดินสอแทงหนึ่งยาว 7 นิ้ว ใสลงในกระปองทรงกระบอกรัศมี 2 นิ้ว ความสูงของกระปองเทากับ
ความยาวของดินสอพอดี ถาเลื่อนดินสอใหปลายขางหนึ่งชนกับขอบกระปองดานในที่อยูตรงขาม
ดังรูป ดินสอจะเลื่อนลงจากขอบกระปองเปนระยะทางเทาไร [ประมาณ 1.26 นิ้ว]
4. ลุงพรมีที่ดินเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาอยูติดริมคลองสองดาน วัดความยาวรอบที่ดินได 74 เมตร
ที่ดินกวาง 10 เมตร ดานที่ติดคลองลุงพรปลูกผักไว ทําใหเหลือเนื้อที่ตรงกลางเพียง 205 ตาราง
เมตร
ดังรูป จงหาความกวางของแปลงผัก [ประมาณ 1.85 เมตร]
10เมตร
ปลูกผัก
ปลูกผัก
คลอง
คลอง
205 ตารางเมตร
7 นิ้ว

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Erin Martin, High Touch, Low Tech: Reversing Disease with Lifestyle Medicine
Erin Martin, High Touch, Low Tech: Reversing Disease with Lifestyle MedicineErin Martin, High Touch, Low Tech: Reversing Disease with Lifestyle Medicine
Erin Martin, High Touch, Low Tech: Reversing Disease with Lifestyle MedicineCleveland HeartLab, Inc.
 
Anne-Marie Feyrer-Melk, The Case of the Overweight Norwegian Cabinetmaker
Anne-Marie Feyrer-Melk, The Case of the Overweight Norwegian CabinetmakerAnne-Marie Feyrer-Melk, The Case of the Overweight Norwegian Cabinetmaker
Anne-Marie Feyrer-Melk, The Case of the Overweight Norwegian CabinetmakerCleveland HeartLab, Inc.
 
2015.09.15 - Brigada militar - a força da comunidade
2015.09.15 - Brigada militar - a força da comunidade2015.09.15 - Brigada militar - a força da comunidade
2015.09.15 - Brigada militar - a força da comunidadeCarMela Grüne
 
State Magazine October 2012 Article copy
State Magazine October 2012 Article copyState Magazine October 2012 Article copy
State Magazine October 2012 Article copyTiffany Williams
 
Tommy Thompson - The Future of Healthcare Reform
Tommy Thompson - The Future of Healthcare ReformTommy Thompson - The Future of Healthcare Reform
Tommy Thompson - The Future of Healthcare ReformCleveland HeartLab, Inc.
 
Automated Fingerprint Identification Systems
Automated Fingerprint Identification SystemsAutomated Fingerprint Identification Systems
Automated Fingerprint Identification SystemsRmcauley
 
Nutrition during pregnancy presentation
Nutrition during pregnancy presentationNutrition during pregnancy presentation
Nutrition during pregnancy presentationEmerson Hart
 
Inequality in Pakistan
Inequality in PakistanInequality in Pakistan
Inequality in Pakistansarashah295
 

Destaque (11)

Erin Martin, High Touch, Low Tech: Reversing Disease with Lifestyle Medicine
Erin Martin, High Touch, Low Tech: Reversing Disease with Lifestyle MedicineErin Martin, High Touch, Low Tech: Reversing Disease with Lifestyle Medicine
Erin Martin, High Touch, Low Tech: Reversing Disease with Lifestyle Medicine
 
Anne-Marie Feyrer-Melk, The Case of the Overweight Norwegian Cabinetmaker
Anne-Marie Feyrer-Melk, The Case of the Overweight Norwegian CabinetmakerAnne-Marie Feyrer-Melk, The Case of the Overweight Norwegian Cabinetmaker
Anne-Marie Feyrer-Melk, The Case of the Overweight Norwegian Cabinetmaker
 
Michael Miller, Music to My Ears
Michael Miller, Music to My EarsMichael Miller, Music to My Ears
Michael Miller, Music to My Ears
 
Guntur FM Magazine Proposal
Guntur FM Magazine ProposalGuntur FM Magazine Proposal
Guntur FM Magazine Proposal
 
2015.09.15 - Brigada militar - a força da comunidade
2015.09.15 - Brigada militar - a força da comunidade2015.09.15 - Brigada militar - a força da comunidade
2015.09.15 - Brigada militar - a força da comunidade
 
State Magazine October 2012 Article copy
State Magazine October 2012 Article copyState Magazine October 2012 Article copy
State Magazine October 2012 Article copy
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Tommy Thompson - The Future of Healthcare Reform
Tommy Thompson - The Future of Healthcare ReformTommy Thompson - The Future of Healthcare Reform
Tommy Thompson - The Future of Healthcare Reform
 
Automated Fingerprint Identification Systems
Automated Fingerprint Identification SystemsAutomated Fingerprint Identification Systems
Automated Fingerprint Identification Systems
 
Nutrition during pregnancy presentation
Nutrition during pregnancy presentationNutrition during pregnancy presentation
Nutrition during pregnancy presentation
 
Inequality in Pakistan
Inequality in PakistanInequality in Pakistan
Inequality in Pakistan
 

Semelhante a Add m3-1-chapter3

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3Jirathorn Buenglee
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญKrukomnuan
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6Jirathorn Buenglee
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 

Semelhante a Add m3-1-chapter3 (20)

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
 
Add m3-1-chapter2
Add m3-1-chapter2Add m3-1-chapter2
Add m3-1-chapter2
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
Basic m2-2-chapter3
Basic m2-2-chapter3Basic m2-2-chapter3
Basic m2-2-chapter3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Add m3-2-chapter2
Add m3-2-chapter2Add m3-2-chapter2
Add m3-2-chapter2
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
 
32201mid522
32201mid52232201mid522
32201mid522
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Test of relation
Test of relationTest of relation
Test of relation
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
แบบฝึกทักษะเรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องพหุนามแบบฝึกทักษะเรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องพหุนาม
 
Add m2-2-chapter2
Add m2-2-chapter2Add m2-2-chapter2
Add m2-2-chapter2
 

Mais de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Mais de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 

Add m3-1-chapter3

  • 1. บทที่ 3 สมการกําลังสอง (12 ชั่วโมง) 3.1 ทบทวนสมการกําลังสอง (2 ชั่วโมง) 3.2 การแกสมการกําลังสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ (6 ชั่วโมง) 3.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสอง (4 ชั่วโมง) นักเรียนเคยเรียนการแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวที่อยูในรูป ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 ในกรณีที่สามารถแยกตัวประกอบของพหุนาม ax2 + bx + c ใหอยูในรูป การคูณกันของพหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มมาแลวในหนังสือเรียน สาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เนื้อหาในบทนี้เปนสาระตอเนื่องจาก ความรูดังกลาวเกี่ยวกับการแกสมการกําลังสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณและผลตางของกําลังสอง คําตอบของสมการกําลังสองในบทเรียนนี้จะขยายไปถึงจํานวนที่เขียนอยูในรูปของกรณฑที่สอง นอก จากนี้ยังไดกลาวถึงการหาคําตอบของสมการ ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 โดยใชสูตร x = 2a 4acbb- 2 −± เพื่อใหนักเรียนมีวิธีการหาคําตอบของสมการไดมากขึ้น ทั้งมีการนําความรูเกี่ยวกับสมการกําลังสองไปใชแกโจทยปญหา ตัวอยางและกิจกรรมที่จัดไวในแตละหัวขอ มีเจตนาใหนักเรียนเขาใจเทคนิควิธีแกสมการ กําลังสองและการนําไปใชแกโจทยปญหา นอกจากการทําแบบฝกหัดในหนังสือเรียนตามปกติแลว ครูอาจใหนักเรียนฝกทักษะเพิ่มเติมโดยยกตัวอยางและเลือกโจทยที่ไมซับซอนและยุงยากตอการคิดคํานวณ แตเนนแนวคิดและวิธีการแกปญหาเพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจมากขึ้น ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. แกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวได 2. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวได 3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
  • 2. 34 แนวทางในการจัดการเรียนรู 3.1 ทบทวนสมการกําลังสอง (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวในรูป ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 โดยใชการแยกตัวประกอบได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรทบทวนรูปทั่วไปของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว และขั้นตอนการแกสมการรวม ถึงการตรวจสอบคําตอบเพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนหัวขอนี้ 2. สําหรับตัวอยางที่ 1, 2, 3 และ 4 มีเจตนาใหทบทวนความรูเรื่องการแกสมการกําลังสอง ตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบของพหุนามตามที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว ในตัวอยางที่ 3 ครูควร ชี้ใหนักเรียนเห็นรูปแบบของการแยกตัวประกอบที่เปนกําลังสองสมบูรณ ซึ่งทําใหไดตัวประกอบสอง ตัวประกอบที่เหมือนกันและไดคําตอบของสมการสองคําตอบเหมือนกัน ดังนั้นสมการเชนนี้มีคําตอบ เพียงคําตอบเดียว 3. สําหรับตัวอยางที่ 5, 6 และ 7 เปนตัวอยางที่ขยายความรูเดิม ในตัวอยางแสดงใหเห็นการ แกสมการโดยการแยกตัวประกอบที่เปนผลตางของกําลังสองและคําตอบอยูในรูปของกรณฑที่สอง ครู อาจแนะใหนักเรียนหาคําตอบของสมการเหลานี้โดยใชสมบัติของรากที่สองของจํานวนจริง แตการใชวิธี นี้นักเรียนจะตองระมัดระวังในการหาคําตอบของสมการมาใหครบทุกคําตอบ ทั้งนี้ครูควรย้ํากับนักเรียน วาในการแกสมการทุกครั้ง ในขั้นตอนสุดทายตองตรวจสอบคําตอบของสมการดวย 3.2 การแกสมการกําลังสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ (6 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถแกสมการกําลังสอง ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 โดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณหรือใชสูตร x = 2a 4acbb 2 −− ± เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ก และ 3.2 ข ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรทบทวนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนกําลังสองสมบูรณ ครูอาจ ยกตัวอยางสมการกําลังสองที่ไมสามารถแยกตัวประกอบไดโดยงาย จําเปนตองมีการเพิ่มพจนเขาและลบ ออก เพื่อจัดบางสวนของพหุนามใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ ครูควรชี้แนะใหนักเรียนสังเกตวาพจนที่ นํามาลบนั้นสามารถทําใหไดจํานวนที่อยูในรูปกําลังสอง เพื่อทําใหไดพหุนามที่เปนผลตางของกําลังสอง
  • 3. 35 และสามารถแยกตัวประกอบตอไปได 2. สําหรับตัวอยางที่ 5 การทําสมการที่อยูในรูป ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a ≠ 1 ใหมีพหุนาม อยูในรูปกําลังสองสมบูรณ จะตองทําสัมประสิทธิ์ของ x2 ใหเปน 1 ครูควรชี้และย้ํากับนักเรียนวาจะ ตองนํา a ไปหารทุก ๆ พจนของสมการ 3. ครูควรใหนักเรียนฝกการแกสมการกําลังสองโดยการแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยูในรูป กําลังสองสมบูรณและผลตางของกําลังสองโดยการทําแบบฝกหัด 3.2 ก แลวจึงยกตัวอยางการแกสมการ กําลังสองที่อยูในรูป ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัวที่ a ≠ 0 ซึ่งจะไดสูตรหาคําตอบของ สมการเปน x = 2a 4acbb 2 −− ± ครูควรย้ํากับนักเรียนวาในกรณีที่ใชสูตรนี้หาคําตอบของสมการจะ ตองรูวา b2 – 4ac > 0 จากนั้นครูจึงคอยชี้แนะใหนักเรียนสังเกตจํานวนคําตอบของสมการ ax2 + bx + c = 0 ที่ขึ้นอยูกับคาของ b2 – 4ac โดยพิจารณาแยกกรณีตามที่เสนอไวในหนังสือเรียน สวนกรณีที่ 3 กลาวถึง b2 – 4ac < 0 จะไดคําตอบของสมการที่ไมใชจํานวนจริง ในกรณีนี้ครูไมจํา เปนตองบอกนักเรียนวาคําตอบเปนอยางไร แตใหบอกเพียงวาไมมีคําตอบที่เปนจํานวนจริงเทานั้น ครูควรชี้แนะใหนักเรียนสังเกตวาในการหาคําตอบโดยใชสูตร จะไมมีการตรวจสอบคํา ตอบ เพราะไดมีการตรวจสอบในขั้นตอนการพิสูจนสูตรอยูแลว แตถาไมแนใจในการคํานวณ ก็ควร ตรวจสอบความถูกตองของคําตอบอยางไมเปนทางการดวย 4. กิจกรรม “ทําไดไหม” มีเจตนาใหนักเรียนใชเงื่อนไขในการหาคําตอบจากสูตรหาคําตอบ ของสมการกําลังสอง ซึ่งในที่นี้นักเรียนควรวิเคราะหไดวาตองใชเงื่อนไข b2 – 4ac = 0 มาชวยในการ หาคา k 5. กิจกรรม “เกี่ยวของกันอยางไร” มีเจตนาใหนักเรียนสังเกตเห็นความสัมพันธระหวางคํา ตอบของสมการกําลังสอง ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ก ประกอบดวยก็ได 6. กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ข “สูตรชวยได” มีเจตนาแสดงใหเห็นการใชสูตรหาคําตอบของสม การกําลังสองมาชวยในการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป ax2 + bx + c ที่ไมสามารถ เขียนเปนผลคูณของพหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนามไดโดยงาย ครูอาจยกตัวอยางการแยกตัวประกอบของ พหุนาม 24x2 + 7x – 5 มาแสดงใหเห็นวา ถาแยกตัวประกอบโดยวิธีปกติจะยุงยากอยางไร แตเมื่อใช สูตรที่แนะนําไวมาชวย จะสามารถแยกตัวประกอบไดอยางรวดเร็ว
  • 4. 36 3.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสอง (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวได 2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูทบทวนขั้นตอนการแกโจทยปญหาโดยใชสมการกําลังสอง อาจใชโจทยในตัวอยางที่ 1 มาแสดงวิธีทําและชี้ใหเห็นวาในขั้นตอนการแกสมการกําลังสองในการหาคา x นักเรียนอาจใชการแยก ตัวประกอบของพหุนาม x2 – 22x + 105 เปน (x – 15)(x – 7) แลวหาคา x ตามวิธีทําที่เคยเรียนมากอน แลวก็ได นอกจากตัวอยางที่ใหไวในหนังสือเรียนแลว ครูอาจยกตัวอยางโจทยปญหาที่มีคําตอบ เปนจํานวนอตรรกยะเพิ่มเติมดวยก็ได ครูควรเนนใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการตรวจสอบคําตอบ ซึ่งจะตองนําคาของตัวแปร ไปตรวจสอบกับเงื่อนไขในโจทย ไมควรนําคาของตัวแปรไปแทนในสมการที่นักเรียนหามาได ทั้งนี้ เพราะนักเรียนอาจเขียนสมการผิด และเมื่อนําคาของตัวแปรที่หามาไดจากสมการนั้นไปแทนคาตัวแปรใน สมการก็จะยังไดสมการที่เปนจริง แตเมื่อนําคาของตัวแปรไปตรวจสอบกับเงื่อนไขในโจทยก็จะไมสอด คลองกับเงื่อนไขในโจทย 2. สําหรับแบบฝกหัด 3.3 เปนการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองที่อยูในรูปการบวก การลบและการคูณของพหุนามเทานั้น ในที่นี้จะยังไมกลาวถึงสมการที่เกี่ยวของกับเศษสวนของพหุนาม ซึ่งนักเรียนจะไดเรียนในภาคเรียนตอไป ครูไมควรใหโจทยฝกเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับเศษสวนของพหุนาม ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 ซึ่งเปนโจทยปญหาที่มีคําตอบเปนจํานวนอตรรกยะเพิ่มเติม อีกก็ได 3. สําหรับกิจกรรม “หาอัตราสวนทองอีกวิธีหนึ่ง” ตองการใหนักเรียนไดเห็นการหาอัตรา สวนทองโดยใชสมการกําลังสอง ถามีเวลาพอครูอาจนําวิธีการหาอัตราสวนทองตามแนวคิดที่ นักเรียนเคยเรียนมาแลวในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ในกิจกรรม “อัตราสวนทอง” หนา 121 – 122 มาเชื่อมโยงโดยขยายความรูดังนี้ กําหนดให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีแตละดานยาว x หนวย ใหจุด E เปน จุดกึ่งกลางของ AB เมื่อใชจุด E เปนจุดศูนยกลางรัศมี EC เขียนสวนโคงตัด AB ที่จุด F ดังรูป ก ลาก FG ตั้งฉากกับ AF ตัด DC ที่จุด H จะได AFHD เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทอง ดังรูป ข ซึ่ง สามารถหาอัตราสวนทองไดดังนี้
  • 5. 37 จากรูป AFHD จะได BC = a หนวย และ BE = a 2 หนวย จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได EC2 = BC2 + BE 2 = a2 + 2 2 a ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ EC = 4 aa 2 2 + = 4 5a2 ดังนั้น EC = a2 5 เนื่องจาก EC = EF (เปนรัศมีของวงกลมเดียวกัน) จะได EF = a2 5 เนื่องจาก AF = AE + EF จะได AF = 2 a + a2 5 = 2 a)51( + จากรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทอง AFHD จะไดอัตราสวนของความยาวตอความกวางเทากับ AF : AD ดังนั้น AD AF = a a2 51+ = 2 51+ นั่นคือ อัตราสวนทองเทากับ 2 51+ ซึ่งคิดเปนประมาณ 1.618 A E B CD F A E B CD F H G รูป ก รูป ข
  • 6. 38 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบแบบฝกหัด 3.1 1. 1) 0 และ 3 2) 0 และ 2 5 3) 1 และ 3 4) ไมมีคําตอบ 5) 3 2 และ -1 6) 5 2 7) 2 5- และ 3 1 8) 5 3 และ 2 5- 9) 4 3 และ -2 10) 4 1- 11) 2 3- และ -1 12) 3 5 และ 1 13) 3 5 14) ไมมีคําตอบ 15) 3 7 และ 8 16) 3 4 และ 1 2. 1) 6 และ 6- 2) 17 และ 17- 3) 6 และ -6 4) ไมมีคําตอบ 5) 2 + 60 และ 2 – 60 6) ไมมีคําตอบ 7) 2 3 และ 2 9- 8) 3 234 − และ 3 234 + 9) 5 102+ และ 5 102− 10) 1 และ 7 3- 11) 2 และ 3 4- 12) 2 3- และ 4 1- 13) 2 11 และ 4 14) ไมมีคําตอบ 15) ไมมีคําตอบ 16) 9 2
  • 7. 39 คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ก 1. 103+ และ 103− 2. 104- + และ 104- − 3. ไมมีคําตอบ 4. 2 293- + และ 2 293- − 5. 3 6. ไมมีคําตอบ 7. 3 72+ และ 3 72− 8. ไมมีคําตอบ 9. 2 332- + และ 2 332- − 10. 5 4 และ 2 3- 11. 4 339- + และ 4 339- − 12. ไมมีคําตอบ 13. 3 4 และ 2 1 14. 2 10- 15. 6 897+ และ 6 897− 16. 0 และ 3 8 17. 3 และ -1 18. 13 302- + และ 13 302- − 19. 2 577+ และ 2 577− 20. 2 331- + และ 2 331- − คําตอบกิจกรรม “ทําไดไหม” 1. -12 และ 12 2. 16 3. 25 4. 2 และ 18 คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ข 1. 1) มีคําตอบ สองคําตอบ 2) มีคําตอบ สองคําตอบ 3) ไมมีคําตอบ 4) มีคําตอบ หนึ่งคําตอบ 5) มีคําตอบ สองคําตอบ 6) ไมมีคําตอบ 7) มีคําตอบ สองคําตอบ 8) มีคําตอบ หนึ่งคําตอบ
  • 8. 40 9) ไมมีคําตอบ 10) มีคําตอบ หนึ่งคําตอบ 2. 1) 1 และ 11 2) -2 และ 5 3) -2 + 3 และ -2 – 3 4) ไมมีคําตอบ 5) 2 7 และ -2 6) 2 3 และ 5 1 7) 7 1 8) 6 137+ และ 6 137− 9) 4 177+ และ 4 177− 10) 5 622- + และ 5 622- − 3. 1) 2 71+ และ 2 71− 2) 1 + 5 และ 1 – 5 3) 4 331+ และ 4 331− 4) ไมมีคําตอบ 5) 0 และ 4 1 6) 0 7) 7 และ 4 13- 8) 4 53+ และ 4 53− 9) -4 และ 5 10) 17 10 และ -2 คําตอบกิจกรรม “เกี่ยวของกันอยางไร” 1. a b- 2. a c ผลบวกของคําตอบของสมการเทากับ a b- และผลคูณของ คําตอบของสมการเทากับ a c คําตอบแบบฝกหัด 3.3 1. กวาง 12 เมตร ยาว 15 เมตร 2. AB = 12 เซนติเมตร BC = 5 เซนติเมตร
  • 9. 41 AC = 13 เซนติเมตร 3. ความยาวของฐาน BC = 8 เซนติเมตร 4. 25 และ 27 5. กวาง 8 เซนติเมตร ยาว 15 เซนติเมตร และสูง 6 เซนติเมตร 6. 4 เซนติเมตร 7. กวาง 5 เซนติเมตร ยาว 11 เซนติเมตร หรือกวาง 5.5 เซนติเมตร ยาว 10 เซนติเมตร 8. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD มีขนาดยาวดานละ 6 เซนติเมตร รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก PQRS มีขนาดกวาง 4 เซนติเมตร และยาว 9 เซนติเมตร 9. 50 แถว และแถวละ 40 ตน 10. 49 ตารางวา และ 121 ตารางวา
  • 11. 43 กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ก กิจกรรมนี้ใชเสริมกิจกรรม “เกี่ยวของกันอยางไร” ในหนังสือเรียน หนา 82 นักเรียนทราบมาแลววาถา r1 และ r2 เปนคําตอบของสมการ ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 แลว r1 + r2 = a b- 21 rr ⋅ = a c ความสัมพันธของคําตอบของสมการดังกลาวสามารถนํามาแกปญหาได เชน ตัวอยาง จงหาคา k จากสมการและสิ่งที่กําหนดใหในแตละขอตอไปนี้ 1) kx2 – 2x + 7 = 0 และผลบวกของคําตอบของสมการเปน 5 2 2) 4x2 – 11x + (k – 3) = 0 และผลคูณของคําตอบของสมการเปน 2 3 วิธีทํา 1) kx2 – 2x + 7 = 0 เนื่องจาก r1 + r2 = 5 2 จะได a b- = 5 2 ดังนั้น k (-2)- = 5 2 นั่นคือ k = 5 ตอบ 5 2) 4x2 – 11x + (k – 3) = 0 เนื่องจาก 21 rr ⋅ = 2 3 จะได a c = 2 3 ดังนั้น 4 3k − = 2 3 k – 3 = 6 นั่นคือ k = 9 ตอบ 9
  • 12. 44 จงหาคา p จากสมการและสิ่งที่กําหนดใหในแตละขอตอไปนี้ 1. 3px2 – 5x – p = 0 และผลบวกของคําตอบของสมการเปน 5 1 3 ⎡ ⎤ ⎢ ⎥⎣ ⎦ 2. 2py2 + 4y – 6p = 0 และผลบวกของคําตอบของสมการเปน 3 4 3 -2 ⎡ ⎤ ⎢ ⎥⎣ ⎦ 3. 5m2 – (p + 1)m – 2 = 0 และผลบวกของคําตอบของสมการเปน 5 3 [2] 4. 6x2 + x – 3p = 0 และผลคูณของคําตอบของสมการเปน 2 3- [3] 5. px2 – 6x – 1 = 0 และผลคูณของคําตอบของสมการเปน 5 1- [5] 6. 3 2 px2 + 2px – 4 = 0 และผลคูณของคําตอบของสมการเปน 6 [-1]
  • 13. 45 กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ข กิจกรรมนี้ตองการใหเห็นการนําสูตรการหาคําตอบของสมการกําลังสองมาใชในการ แยกตัวประกอบพหุนามที่อยูในรูป ax2 + bx + c สูตรชวยได นักเรียนเคยหาคําตอบของสมการกําลังสอง ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 ไดจากสูตร x = 2a 4acbb- 2 −± เมื่อ b2 – 4ac > 0 เราสามารถอาศัยสูตรนี้ชวยในการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัวที่ b2 – 4ac > 0 และ a ≠ 0 ได โดยกําหนดให r1 = 2a 4acbb- 2 −+ และ r2 = 2a 4acbb- 2 −− สูตรการแยกตัวประกอบของพหุนาม ax2 + bx + c จะไดเปน ax2 + bx + c = a(x – r1)(x – r2) คําอธิบายเพิ่มเติมสําหรับครู พิจารณาการแยกตัวประกอบของพหุนาม ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัวที่ b2 – 4ac > 0 และ a ≠ 0 โดยใชวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณไดดังนี้ ax2 + bx + c = ⎥⎦ ⎤ ⎢⎣ ⎡ ++ a c xa b xa 2 = ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ ⎭ ⎬ ⎫ ⎩ ⎨ ⎧ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ +++ − a c 2a b 2a b xa b xa 22 2 = ⎥⎦ ⎤ ⎢⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − −+ 2 22 4a 4acb 2a b xa ถา b2 – 4ac > 0 จะได ax2 + bx + c = ⎥ ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎢ ⎣ ⎡ ⎟⎟ ⎠ ⎞ ⎜⎜ ⎝ ⎛ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − −+ 222 2a 4acb 2a b xa
  • 14. 46 = ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − −+ 2a 4acb 2a b xa 2 ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − ++ 2a 4acb 2a b x 2 = ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ −− + 2a 4acbb xa 2 ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ −+ + 2a 4acbb x 2 = ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ − − + 2a 4acbb- xa 2 ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ −− − 2a 4acbb- x 2 กําหนด r1 = a2 4acbb- 2 −+ และ r2 = a2 4acbb- 2 −− ดังนั้น จะสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใชสูตรไดดังนี้ ax2 + bx + c = a(x – r1)(x – r2) เมื่อ r1 และ r2 เปนคําตอบของสมการ ax2 + bx + c = 0 ตัวอยาง จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้ 1) 2x2 – 3x + 1 2) 30x2 + 7x – 18 3) 3x2 – 2x – 4 วิธีทํา 1) 2x2 – 3x + 1 จากสูตร x = 2a 4acbb- 2 −± ในที่นี้ a = 2, b = -3 และ c = 2 จะได x = 2(2) 4(2)(1)(-3))3-(- 2 −± = 4 13 ± นั่นคือ r1 = 1 หรือ r2 = 2 1 ดังนั้น 2x2 – 3x + 1 = 2(x – 1) ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 2 1 x หรือ = (x – 1)(2x – 1) ลองตรวจสอบดูซิวา เปนจริงหรือไม
  • 15. 47 2) 30x2 + 7x – 18 จากสูตร x = 2a 4acbb- 2 −± ในที่นี้ a = 30, b = 7 และ c = -18 จะได x = 2(30) 4(30)(-18)77- 2 −± = 60 477- ± นั่นคือ r1 = 3 2 หรือ r2 = 10 9- ดังนั้น 30x2 + 7x – 18 = 30 ⎥⎦ ⎤ ⎢⎣ ⎡ − 3 2 x ⎥⎦ ⎤ ⎢⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛− 10 9 -x = 3 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 3 2 x 10 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 10 9 x = (3x – 2)(10x + 9) 3) 3x2 – 2x – 4 จากสูตร x = 2a 4acbb- 2 −± ในที่นี้ a = 3, b = -2 และ c = -4 จะได x = 2(3) 4(3)(-4)(-2))-2(- 2 −± = 6 522 ± = 3 131 ± นั่นคือ r1 = 3 131 + หรือ r2 = 3 131 − ดังนั้น 3x2 – 2x – 4 = 3 ⎥⎦ ⎤ ⎢⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ + − 3 131x ⎥⎦ ⎤ ⎢⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ − − 3 131x = ( )[ ]131x3 +− ⎥⎦ ⎤ ⎢⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ − − 3 131x
  • 16. 48 ใหนักเรียนแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้ 1. 2x2 + 11x – 6 [(x + 6)(2x – 1)] 2. 5x2 – 8x – 4 [(5x + 2)(x – 2)] 3. 3m2 – 4m – 1 3 2 7 2 7 x x3 3 − − − +⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎢ ⎥⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦ 4. 5y2 – 6y – 1 3 14 3 14 5 x x5 5 − − − +⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎢ ⎥⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦ 5. 24x2 + 7x – 5 5 1 24 x x8 3−+ ⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦ 6. 2x2 + 9x + 6 9 33 9 33 2 x x4 4 −+ + + ⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎢ ⎥⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦ 7. 3x2 + 12x + 1 6 33 6 33 3 x x3 3 −+ + + ⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎢ ⎥⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦ 8. 25x2 – 10x – 1 1 2 1 2 25 x x5 5 − − − +⎡ ⎤⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎢ ⎥⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠⎣ ⎦
  • 17. 49 แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 1. จํานวนสองจํานวนตางกันอยู 5 ถาผลคูณของทั้งสองจํานวนมากกวาสามเทาของผลบวกของทั้งสอง จํานวนอยู 1 จงหาจํานวนทั้งสองนั้น + +⎡ ⎢ ⎣ 11 65 1 65 ,2 2 หรือ − − ⎤ ⎥ ⎦ 11 65 1 65 ,2 2 2. รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีดานฐานยาวกวาความสูงอยู 3 เซนติเมตร ถาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมเทากับ 120 ตารางเซนติเมตร ดานฐานของรูปสามเหลี่ยมนี้ยาวเทาไร [ประมาณ 17.06 เซนติเมตร] 3. ดินสอแทงหนึ่งยาว 7 นิ้ว ใสลงในกระปองทรงกระบอกรัศมี 2 นิ้ว ความสูงของกระปองเทากับ ความยาวของดินสอพอดี ถาเลื่อนดินสอใหปลายขางหนึ่งชนกับขอบกระปองดานในที่อยูตรงขาม ดังรูป ดินสอจะเลื่อนลงจากขอบกระปองเปนระยะทางเทาไร [ประมาณ 1.26 นิ้ว] 4. ลุงพรมีที่ดินเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาอยูติดริมคลองสองดาน วัดความยาวรอบที่ดินได 74 เมตร ที่ดินกวาง 10 เมตร ดานที่ติดคลองลุงพรปลูกผักไว ทําใหเหลือเนื้อที่ตรงกลางเพียง 205 ตาราง เมตร ดังรูป จงหาความกวางของแปลงผัก [ประมาณ 1.85 เมตร] 10เมตร ปลูกผัก ปลูกผัก คลอง คลอง 205 ตารางเมตร 7 นิ้ว