SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 2
Baixar para ler offline
ผู้ใหญ่อายุ ≥18 ปีซึ่งเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ปรับพฤติกรรมการดาเนินชีวิต*
(ปฏิบัติตลอดการรักษา)
ตั้งเป้ าหมายของระดับความดันโลหิต และเริ่มให้ยาโดย
ขึ้นอยู่กับ อายุ การมีโรคเบาหวาน และโรคไตเรื้อรัง
อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป อายุน้อยกว่า 60 ปี
ทุกอายุที่เป็นโรคเบาหวาน
โดยไม่ได้เป็นโรคไตเรื้อรัง
ทุกอายุที่เป็นโรคไตเรื้อรัง
อาจจะมีหรือไม่มีโรคเบาหวาน
เริ่มใช้ Thiazide diuretic หรือ ACEI หรือ ARB หรือ CCB
อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ ใช้ร่วมกัน (หลีกเลี่ยงการใช้ ACEI ร่วมกับ ARB)
เริ่มใช้ ACEI หรือ ARB อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ ใช้ร่วมกับยา
ในกลุ่มอื่นๆ (หลีกเลี่ยงการใช้ ACEI ร่วมกับ ARB)
เลือกยาโดยใช้กลยุทธ์การค่อยๆปรับขนาดยาขึ้น ****
A. ให้ขนาดสูงสุดของยาตัวแรกก่อนที่จะเพิ่มยาตัวใหม่ หรือ
B. เพิ่มยาตัวที่ 2 ก่อนที่จะถึงขนาดสูงสุดของยาตัวแรก หรือ
C. เริ่มยา 2 ตัวจากกลุ่มที่ต่างกัน หรือ ให้ร่วมกันโดยขนาดคงที่
สร้างเสริมการใช้ยาและการดาเนินชีวิต
- สาหรับในกลยุทธ์ A และ B ให้เพิ่มยาและปรับขนาดยา Thiazide diuretic หรือ ACEI หรือ ARB
หรือ CCB (โดยเลือกยาในกลุ่มที่ไม่ได้เลือกมาก่อนและหลีกเลี่ยงการใช้ ACEI ร่วมกับ ARB )
- สาหรับกลยุทธ์ C ให้ปรับขนาดยาจากขนาดเริ่มต้นจนถึงขนาดสูงสุด
สร้างเสริมการใช้ยาและการดาเนินชีวิต
- เพิ่มและปรับขนาดยา Thiazide diuretic หรือ ACEI หรือ ARB หรือ CCB
(โดยเลือกยาในกลุ่มที่ไม่ได้เลือกมาก่อนและหลีกเลี่ยงการใช้ ACEI ร่วมกับ ARB )
สร้างเสริมการใช้ยาและการดาเนินชีวิต
- เพิ่มยาในกลุ่มอื่น (Beta-blocker, Aldosterone antagonist หรือกลุ่มอื่นๆ) และ/หรือ
ส่งต่อไปยังแพทย์ที่มีประสบการณ์ในการรักษาดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
Suggestion
ผู้ป่วยที่มี SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ
DBP ≥ 110 mmHg ร่วมกับ End –organ damage**
ให้ส่งพบแพทย์เวร ER ทันที
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถคุม BP ได้ (BP มากกว่า
target BP เป็นจานวนมากกว่า 3 ครั้ง)
และผู้ป่วยที่สงสัยภาวะ Secondary HT***
แนะนาให้พบแพทย์เฉพาะทางด้านอายุรกรรม
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลพิมาย จ.นครราชสีมา
เป้ าหมายของ BP
SBP < 140mmHg
DBP < 90 mmHg
เป้ าหมายของ BP
SBP < 140mmHg
DBP < 90 mmHg
เป้ าหมายของ BP
SBP < 140mmHg
DBP < 90 mmHg
เป้ าหมายของ BP
SBP < 150mmHg
DBP < 90 mmHg
ให้การรักษาต่อเนื่อง
และติดตาม*****
ให้การรักษาต่อเนื่อง
และติดตาม *****
กรณีความดันไม่ได้ตามเป้ าหมาย
กรณีความดันไม่ได้ตามเป้ าหมาย
กรณีความดันไม่ได้ตามเป้ าหมาย
ความดันได้ตามเป้ าหมาย
ความดันได้ตามเป้ าหมาย
**** แนวทางการเริ่มยาและปรับเพิ่มยา Anti-hypertensive drugs (รายการยาที่มีในรพ.พิมาย)
กลุ่มยา ชื่อยา Initial dose
(mg/day)
Maximum dose
(mg/day)
No. of Dose/day
ยากลุ่ม ACEI
Enalapril(5,20) 2.5-5 40 1-2
Captopril(25) 50 400 2
ยากลุ่ม ARB Losartan(50) 25-50 200 1-2
ยากลุ่ม CCB Amlodipine(5) 2.5 10 1
ยากลุ่ม Diuretic
HCTZ(25) 12.5-50 100 1-2
Furosemide(40) 20-80 160 1-2
ยากลุ่ม Beta-blocker
Propanolol(10,40) 80 240 2-3
Atenolol(50) 25-50 100 1
ยากลุ่มอื่นๆ
Spironolactone(250) 25 100 1-2
Hydralazine(25) 40 200 4
Methyldopa(250) 250 3000 2-3
Doxazosin(2) 1 16 1
* การให้คาแนะนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดาเนินชีวิต
1) จากัดการรับประทานเกลือไม่เกิน 5-6 กรัม/วัน
2) จากัดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และแนะนาการเลิกสูบบุหรี่
3) เพิ่มการรับประทานผัก ผลไม้ และนมที่มีไขมันต่า
4) ลดน้าหนักให้มี BMI น้อยกว่า 23 กก./ม2
5) ออกกาลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที
เป็นเวลา 5-7 วัน/สัปดาห์
** ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยที่สงสัยภาวะ
Secondary HT
- อาการเหงื่อออก, ปวดศีรษะ, ใจสั่นเป็นพักๆ
- อาการที่บ่งชี้ว่าเป็นโรคไทรอยด์
- อาการปัสสาวะผิดปกติ เช่น มีการติดเชื้อ มีเลือดปน
- อาการแสดงของ Cushing syndrome
- คลาไตได้ 2 ข้าง (Polycystic kidney)
- ฟังได้ Abdominal bruit (Renovascular HT)
- ฟังได้ Heart murmur
- BP ที่ขาต่ากว่าที่แขน หรือ BP ที่แขนทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน
***** การส่งต่อการรักษาที่รพ.สต.
- BP < 140/90 mmHg อย่างน้อย 2 ครั้ง
- ควบคุมโรคเดิมได้คงที่แล้ว
- ผู้ป่วยไม่ซับซ้อน และใช้ยาที่ไม่ต้องติดตามใกล้ชิด
- มียาชนิดนั้นอยู่ที่รพ.สต.
***** การติดตามการรักษาที่ต้องเยี่ยมบ้าน
- Loss F/U หรือ ขาดยา
- ไม่สามารถจัดยาได้เอง (สติไม่สมประกอบ มองยาไม่เห็น
อ่านหนังสือไม่ออก)
- ไม่สามารถมารับบริการที่รพ.สต.ได้เอง
Reference
- 2013 ESH/ESC guideline
- JNC8 (2014)
*** ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยที่มีภาวะ End-
organ damage
- ปวดศีรษะมาก, ตามัว, คลื่นไส้อาเจียน,
เจ็บหน้าอก, หน้ามืดหมดสติ
- ตรวจพบ Neurological deficit
- ตรวจพบ Heart murmur, Arrhythmia, แขนขาบวม
- คลาชีพจรไม่ได้, ลดลงหรือแตกต่างกัน 2 ข้าง,
ปลายมือปลายเท้าเย็น
จัดทาโดย นักศึกษาแพทย์รามาธิบดีรุ่น 44
Ext.กิตติพงศ์ คาสุข, Ext.ชวินธีร์ พุทธธนะพิทักษ์, Ext.พฤทธิ์ ศิลาเดช, Ext.พุทธิพันธ์ วงศ์ลิมปิยะรัตน์
ที่ปรึกษา
นพ.ชาญศักดิ์ คงเศรษฐกุล, พญ.สุจี ทับทิม, พญ.ลาภู จันทร์กลาง, พญ.สมหญิง ศิริจานุสรณ์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
porkhwan
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 

Mais procurados (20)

ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 

Destaque

กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
Sureerut Physiotherapist
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
taem
 

Destaque (18)

แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคไข้เลือดออก ระดับ รพ.ชุมชน 2004
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคไข้เลือดออก ระดับ รพ.ชุมชน 2004แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคไข้เลือดออก ระดับ รพ.ชุมชน 2004
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคไข้เลือดออก ระดับ รพ.ชุมชน 2004
 
ลดไขมันในเลือด | ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมและหนังศีรษะ | ผลิตภัณฑ์สำหรับหนังศีรษะ
ลดไขมันในเลือด | ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมและหนังศีรษะ | ผลิตภัณฑ์สำหรับหนังศีรษะลดไขมันในเลือด | ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมและหนังศีรษะ | ผลิตภัณฑ์สำหรับหนังศีรษะ
ลดไขมันในเลือด | ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมและหนังศีรษะ | ผลิตภัณฑ์สำหรับหนังศีรษะ
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
Post cardiac arrest care can we make it better?
Post cardiac arrest care can we make it better?Post cardiac arrest care can we make it better?
Post cardiac arrest care can we make it better?
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015
 
Ocd santhosh final
Ocd santhosh finalOcd santhosh final
Ocd santhosh final
 
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมาย

  • 1. ผู้ใหญ่อายุ ≥18 ปีซึ่งเป็นโรคความดันโลหิตสูง ปรับพฤติกรรมการดาเนินชีวิต* (ปฏิบัติตลอดการรักษา) ตั้งเป้ าหมายของระดับความดันโลหิต และเริ่มให้ยาโดย ขึ้นอยู่กับ อายุ การมีโรคเบาหวาน และโรคไตเรื้อรัง อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป อายุน้อยกว่า 60 ปี ทุกอายุที่เป็นโรคเบาหวาน โดยไม่ได้เป็นโรคไตเรื้อรัง ทุกอายุที่เป็นโรคไตเรื้อรัง อาจจะมีหรือไม่มีโรคเบาหวาน เริ่มใช้ Thiazide diuretic หรือ ACEI หรือ ARB หรือ CCB อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ ใช้ร่วมกัน (หลีกเลี่ยงการใช้ ACEI ร่วมกับ ARB) เริ่มใช้ ACEI หรือ ARB อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ ใช้ร่วมกับยา ในกลุ่มอื่นๆ (หลีกเลี่ยงการใช้ ACEI ร่วมกับ ARB) เลือกยาโดยใช้กลยุทธ์การค่อยๆปรับขนาดยาขึ้น **** A. ให้ขนาดสูงสุดของยาตัวแรกก่อนที่จะเพิ่มยาตัวใหม่ หรือ B. เพิ่มยาตัวที่ 2 ก่อนที่จะถึงขนาดสูงสุดของยาตัวแรก หรือ C. เริ่มยา 2 ตัวจากกลุ่มที่ต่างกัน หรือ ให้ร่วมกันโดยขนาดคงที่ สร้างเสริมการใช้ยาและการดาเนินชีวิต - สาหรับในกลยุทธ์ A และ B ให้เพิ่มยาและปรับขนาดยา Thiazide diuretic หรือ ACEI หรือ ARB หรือ CCB (โดยเลือกยาในกลุ่มที่ไม่ได้เลือกมาก่อนและหลีกเลี่ยงการใช้ ACEI ร่วมกับ ARB ) - สาหรับกลยุทธ์ C ให้ปรับขนาดยาจากขนาดเริ่มต้นจนถึงขนาดสูงสุด สร้างเสริมการใช้ยาและการดาเนินชีวิต - เพิ่มและปรับขนาดยา Thiazide diuretic หรือ ACEI หรือ ARB หรือ CCB (โดยเลือกยาในกลุ่มที่ไม่ได้เลือกมาก่อนและหลีกเลี่ยงการใช้ ACEI ร่วมกับ ARB ) สร้างเสริมการใช้ยาและการดาเนินชีวิต - เพิ่มยาในกลุ่มอื่น (Beta-blocker, Aldosterone antagonist หรือกลุ่มอื่นๆ) และ/หรือ ส่งต่อไปยังแพทย์ที่มีประสบการณ์ในการรักษาดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง Suggestion ผู้ป่วยที่มี SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg ร่วมกับ End –organ damage** ให้ส่งพบแพทย์เวร ER ทันที ผู้ป่วยที่ไม่สามารถคุม BP ได้ (BP มากกว่า target BP เป็นจานวนมากกว่า 3 ครั้ง) และผู้ป่วยที่สงสัยภาวะ Secondary HT*** แนะนาให้พบแพทย์เฉพาะทางด้านอายุรกรรม แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลพิมาย จ.นครราชสีมา เป้ าหมายของ BP SBP < 140mmHg DBP < 90 mmHg เป้ าหมายของ BP SBP < 140mmHg DBP < 90 mmHg เป้ าหมายของ BP SBP < 140mmHg DBP < 90 mmHg เป้ าหมายของ BP SBP < 150mmHg DBP < 90 mmHg ให้การรักษาต่อเนื่อง และติดตาม***** ให้การรักษาต่อเนื่อง และติดตาม ***** กรณีความดันไม่ได้ตามเป้ าหมาย กรณีความดันไม่ได้ตามเป้ าหมาย กรณีความดันไม่ได้ตามเป้ าหมาย ความดันได้ตามเป้ าหมาย ความดันได้ตามเป้ าหมาย
  • 2. **** แนวทางการเริ่มยาและปรับเพิ่มยา Anti-hypertensive drugs (รายการยาที่มีในรพ.พิมาย) กลุ่มยา ชื่อยา Initial dose (mg/day) Maximum dose (mg/day) No. of Dose/day ยากลุ่ม ACEI Enalapril(5,20) 2.5-5 40 1-2 Captopril(25) 50 400 2 ยากลุ่ม ARB Losartan(50) 25-50 200 1-2 ยากลุ่ม CCB Amlodipine(5) 2.5 10 1 ยากลุ่ม Diuretic HCTZ(25) 12.5-50 100 1-2 Furosemide(40) 20-80 160 1-2 ยากลุ่ม Beta-blocker Propanolol(10,40) 80 240 2-3 Atenolol(50) 25-50 100 1 ยากลุ่มอื่นๆ Spironolactone(250) 25 100 1-2 Hydralazine(25) 40 200 4 Methyldopa(250) 250 3000 2-3 Doxazosin(2) 1 16 1 * การให้คาแนะนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดาเนินชีวิต 1) จากัดการรับประทานเกลือไม่เกิน 5-6 กรัม/วัน 2) จากัดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และแนะนาการเลิกสูบบุหรี่ 3) เพิ่มการรับประทานผัก ผลไม้ และนมที่มีไขมันต่า 4) ลดน้าหนักให้มี BMI น้อยกว่า 23 กก./ม2 5) ออกกาลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที เป็นเวลา 5-7 วัน/สัปดาห์ ** ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยที่สงสัยภาวะ Secondary HT - อาการเหงื่อออก, ปวดศีรษะ, ใจสั่นเป็นพักๆ - อาการที่บ่งชี้ว่าเป็นโรคไทรอยด์ - อาการปัสสาวะผิดปกติ เช่น มีการติดเชื้อ มีเลือดปน - อาการแสดงของ Cushing syndrome - คลาไตได้ 2 ข้าง (Polycystic kidney) - ฟังได้ Abdominal bruit (Renovascular HT) - ฟังได้ Heart murmur - BP ที่ขาต่ากว่าที่แขน หรือ BP ที่แขนทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน ***** การส่งต่อการรักษาที่รพ.สต. - BP < 140/90 mmHg อย่างน้อย 2 ครั้ง - ควบคุมโรคเดิมได้คงที่แล้ว - ผู้ป่วยไม่ซับซ้อน และใช้ยาที่ไม่ต้องติดตามใกล้ชิด - มียาชนิดนั้นอยู่ที่รพ.สต. ***** การติดตามการรักษาที่ต้องเยี่ยมบ้าน - Loss F/U หรือ ขาดยา - ไม่สามารถจัดยาได้เอง (สติไม่สมประกอบ มองยาไม่เห็น อ่านหนังสือไม่ออก) - ไม่สามารถมารับบริการที่รพ.สต.ได้เอง Reference - 2013 ESH/ESC guideline - JNC8 (2014) *** ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยที่มีภาวะ End- organ damage - ปวดศีรษะมาก, ตามัว, คลื่นไส้อาเจียน, เจ็บหน้าอก, หน้ามืดหมดสติ - ตรวจพบ Neurological deficit - ตรวจพบ Heart murmur, Arrhythmia, แขนขาบวม - คลาชีพจรไม่ได้, ลดลงหรือแตกต่างกัน 2 ข้าง, ปลายมือปลายเท้าเย็น จัดทาโดย นักศึกษาแพทย์รามาธิบดีรุ่น 44 Ext.กิตติพงศ์ คาสุข, Ext.ชวินธีร์ พุทธธนะพิทักษ์, Ext.พฤทธิ์ ศิลาเดช, Ext.พุทธิพันธ์ วงศ์ลิมปิยะรัตน์ ที่ปรึกษา นพ.ชาญศักดิ์ คงเศรษฐกุล, พญ.สุจี ทับทิม, พญ.ลาภู จันทร์กลาง, พญ.สมหญิง ศิริจานุสรณ์