SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
ใบความรู้ ที่ 4
                                   เรื่อง ความสั มพันธ์
                              ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4
ความสั มพันธ์
        ถ้าให้ A = {3, 4} และ B = {3, 4, 5} จะได้วา          ่
            A  B = {(3, 3), (3, 4), (3, 5), (4, 3), (4, 4), (4, 5)}
        และถ้าให้ r เป็ นเซตของคู่อนดับที่เกี่ยวข้องกันแบบ “น้อยกว่า” จะได้
                                      ั
        r = {(3, 4), (3, 5), (4, 5)} เรี ยก r ว่าเป็ นความสัมพันธ์แบบ “น้อยกว่า” จาก A ไป B
        ลักษณะของความสัมพันธ์ r นั้น ต้องเป็ นเซตของคู่อนดับที่ได้มาจากสมาชิกใน A  B
                                                                   ั
และมีความสัมพันธ์ตามเงื่อนไขที่กาหนด ซึ่ งสามารถนิยามความสัมพันธ์ได้ดงนี้  ั

   บทนิยาม      ให้ A และ B เป็ นเซต r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ
                 r เป็ นสับเซตของ A  B

ตัวอย่างที่ 1 กาหนด A = {2, 3} , B = {4, 6, 9} และให้
                       r1 แทนความสัมพันธ์ “สองเท่า” จาก A ไป B
                       r2 แทนความสัมพันธ์ “หารลงตัว” จาก A ไป B
                       r3 แทนความสัมพันธ์ “รากที่สอง” จาก A ไป B
จงเขียน r1, r2 , r3 ในรู ปเซตแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเงื่อนไข
    วิธีทา A  B = {(2, 4), (2, 6), (2, 9), (3, 4), (3, 6), (3, 9)}
แบบแจกแจงสมาชิก
                     r1 = { }
                             r2 = {(2, 4), (2, 6), (3, 6), (3, 9)}
                             r3 = {(2, 4), (3, 9)}
         แบบบอกเงื่อนไข
                        r1  {( x, y)  A  B | x  2 y}
                        r2  {( x, y)  A  B | x หาร y ลงตัว}
                        r3  {( x, y)  A  B | x  y } }
ตัวอย่างที่ 2        กาหนด A เป็ นเซตของจานวนเต็มบวก และ B เป็ นเซตของจานวนจริ ง
                         r1 = {(x, y)  A  B | y = x + 2}
                         r2 = {(x, y)  A  B | y = 2x}
                         จงเขียน r1 และ r2 แบบแจกแจงสมาชิก
    วิธีทา จาก r1 = {(x, y)  A  B | y = x + 2}
               ถ้า x = 1 จะได้ y = 1 + 2 = 3 คู่อนดับคือ (1, 3)  ั
                    x = 2 จะได้ y = 2 + 2 = 4 คู่อนดับคือ (2, 4)
                                                               ั
               ทาเช่นนี้เรื่ อย ๆ ไป จะได้
                         r1 = {(1, 3), (2, 4), (3, 5), . . . }
               จาก r2 = {(x, y)  A  B | y = 2x}
                                            ่
                 ความสัมพันธ์ของ r2 อยูภายใต้กฎเกณฑ์ คือ
                 สมาชิกตัวหลัง = 2 เท่าของสมาชิกตัวหน้า
                r2 = {(1, 2), (2, 4), (3, 6), . . . }
ตัวอย่างที่ 3 กาหนด A = {1, 2, 3} จงเขียน r1 และ r2 แบบบอกเงื่อนไข และแผนภาพแสดง
การจับคู่ เมื่อ r1 , r2 เป็ นความสัมพันธ์ใน A และ
                         r1 = {(1, 2), (2, 3)}
                         r2 = {(1, 1), (2, 2), (3, 3)}
    วิธีทา จาก r1 = {(1, 2), (2, 3)}
                r1 = {(x, y)  A  A | y = x + 1}
               จาก r2 = {(1, 1), (2, 2), (3, 3)}
                r2 = {(x, y)  A  A | y = x}
แผนภาพการจับคู่ของ r1 และ r2 ดังนี้
                  A                A                               A     A

                   1           1                      1                1
                   2           2                      2                2
                   3           3                      3                3

   รู ปที่ 1 แทน           r1 รู ปที่ 2 แทน                      r2
ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ r = {(x,y)  A  B| x+y = 5 } เมื่อ A = { -2, -1, 0, 1, 2 }, B = { 4, 5, 6, 7, 8
}
              คู่อนดับที่กาหนดให้ต่อไปนี้ คู่อนดับใดเป็ นสมาชิกของ r
                  ั                                  ั
              ( 6,-1 ),( 0, 5 ),( 1, 4 ),( 7, -2 ),( 2,3 ),( -3, 8 ),(10,-5 ),(-1,6 )
ตอบ           ( 0, 5 ),( 1, 4 ),(-1,6 )

ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ A= {3, 5, 7} และ B = {2,6} จงหาจานวนความสัมพันธ์ท้ งหมดจาก A ไป
                                                                          ั
B
วิธีทา           A  B = {(3,2),(3,6),(5,2),(5,6),(7,2),(7,6)}
                           และ n(A  B) = 6
                  จานวนสับเซตของ A  B = 26
        จึงกล่าวได้วา ความสัมพันธ์ท้ งหมดจาก A ไป B เท่ากับ 26 นันเอง
                    ่                ั                           ่



        สรุ ป

            1.   ความสัมพันธ์เป็ นเซต
            2.   เซตที่เป็ นความสัมพันธ์ตองมีสมาชิกเป็ นคู่อนดับ
                                         ้                  ั
            3.   คู่อนดับที่อยูในความสัมพันธ์จะต้องอยูในกฎเกณฑ์ที่กาหนด
                     ั         ่                       ่
            4.   ถ้า A มีสมาชิก m ตัว และ B มีสมาชิก n ตัว A  B จะมีสมาชิก mn ตัว
                       สับเซตของ A  B จะมี 2mn สับเซต
                       ความสัมพันธ์จาก A ไป B จะมี 2mn ความสัมพันธ์
แบบสรุ ปความรู้ ที่ 4
                                    เรื่อง ความสั มพันธ์
                               ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4

คาชี้แจง ให้นกเรี ยนสรุ ปเนื้อหาตามใบความรู ้ในหัวข้อต่อไปนี้
             ั

1. ความสัมพันธ์ คือ ………………………..……………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

2. ความสัมพันธ์ใด ๆ สามารถเขียนแทนในรู ปแบบ
   2.1 ……………………………………………………………………………………………...
   2.2 ……………………………………………………………………………………………...
   2.3 ……………………………………………………………………………………………...
   2.4 ……………………………………………………………………………………………...
ใบงานที่ 4
                                                     เรื่อง ความสั มพันธ์
                                                ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4

คำชี้แจง            ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อให้ถูกต้องสมบูรณ์
                        ั

1. จงเขียนความสัมพันธ์แต่ละข้อต่อไปนี้ในรู ปเซตแบบแจกแจงสมาชิก
          1.1 r1 = {(x, y)  I  I+ | y2 = x}
          1.2 r2 = {(x, y)  A  A | y = x – 4 } เมื่อ A = {2, 5, 6, 10}
          1.3 r3 = {(x, y)  I  I | y2 = 1 – x2}
2. จงเขียนความสัมพันธ์ของ r ในแต่ละข้อต่อไปนี้ ในรู ปเซตแบบบอกเงื่อนไข
เมื่อ A = {1, 2, 3, 4} และ r เป็ นความสัมพันธ์ใน A
          2.1 r = {(4, 2), (1, 1)}
          2.2 r = {(1, 2), (2, 3), (3, 4)}
          2.3 r = {(3,1), (4,2)}
3. กาหนด A = {1,2,3,4,5,6} และ r1 ={(x,y)AA|x=y} , r2= {(x, y)  A  A | y = x +1 }
 จงเขียน r1 และ r2 ในรู ปแผนภาพแสดงการจับคู่
4. กาหนดเซต A มีสมาชิก 3 ตัว เซต B มีสมาชิก 4 ตัว จงหา
          4.1 จานวนความสัมพันธ์จาก A ไป A
          4.2 จานวนความสัมพันธ์จาก A ไป B
          4.3 จานวนความสัมพันธ์จาก B ไป B
ชื่อกลุ่ม .......................................................................................
1. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
2. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
3. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
4. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
5. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
คะแนนที่ได้...................................คะแนน

                                          เฉลยใบงานที่ 4
                                      เรื่อง ความสั มพันธ์
                                 ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4

     1) 1.1 r1 = {(1, 1), (4, 2), (9, 3), (16, 4), . . .}
        1.2 r2 = {(6, 2), (10, 6)}
        1.3 r3 = {(0, 1), (0, -1), (1, 0), (-1, 0)}

     2) 2.1 r1 = {(x, y)  A  A | y2 = x}
        2.2 r2 = {(x, y)  A  A | y = x + 1}
        2.3 r3 = {(x, y)  A  A | y = x – 2}
     3)
           A         A                     A                                 A


                1                       1                           1            1
                2                       2                           2            2
                3                       3                           3            3
                4                       4                           4            4
                5                       5                           5            5
                6                       6                           6            6



รู ปที่ 1 แทน                     r1 รู ปที่ 2 แทน                      r2

     4) 4.1 2 9 ความสัมพันธ์
        4.2 212 ความสัมพันธ์
        4.3 216 ความสัมพันธ์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfssuser29b0ec
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายkrurutsamee
 

Mais procurados (20)

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
 

Destaque (9)

31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
คู่อันดับ
คู่อันดับคู่อันดับ
คู่อันดับ
 
Social
SocialSocial
Social
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
Sci
SciSci
Sci
 
Sci onet49
Sci onet49Sci onet49
Sci onet49
 
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชันแยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
 
O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557
 

Semelhante a Relations

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]aonuma
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
โดเมนและเรนจ์
โดเมนและเรนจ์โดเมนและเรนจ์
โดเมนและเรนจ์Y'Yuyee Raksaya
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ทับทิม เจริญตา
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนkroojaja
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 

Semelhante a Relations (20)

Domain and range
Domain and rangeDomain and range
Domain and range
 
Relafuncadd1
Relafuncadd1Relafuncadd1
Relafuncadd1
 
Function
FunctionFunction
Function
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Relation and function
Relation and functionRelation and function
Relation and function
 
Inverse of relation
Inverse of relationInverse of relation
Inverse of relation
 
Inverse of relation
Inverse of relationInverse of relation
Inverse of relation
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Function2
Function2Function2
Function2
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
โดเมนและเรนจ์
โดเมนและเรนจ์โดเมนและเรนจ์
โดเมนและเรนจ์
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Function
FunctionFunction
Function
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Pat 1
Pat 1Pat 1
Pat 1
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 

Mais de Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Mais de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Relations

  • 1. ใบความรู้ ที่ 4 เรื่อง ความสั มพันธ์ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4 ความสั มพันธ์ ถ้าให้ A = {3, 4} และ B = {3, 4, 5} จะได้วา ่ A  B = {(3, 3), (3, 4), (3, 5), (4, 3), (4, 4), (4, 5)} และถ้าให้ r เป็ นเซตของคู่อนดับที่เกี่ยวข้องกันแบบ “น้อยกว่า” จะได้ ั r = {(3, 4), (3, 5), (4, 5)} เรี ยก r ว่าเป็ นความสัมพันธ์แบบ “น้อยกว่า” จาก A ไป B ลักษณะของความสัมพันธ์ r นั้น ต้องเป็ นเซตของคู่อนดับที่ได้มาจากสมาชิกใน A  B ั และมีความสัมพันธ์ตามเงื่อนไขที่กาหนด ซึ่ งสามารถนิยามความสัมพันธ์ได้ดงนี้ ั บทนิยาม ให้ A และ B เป็ นเซต r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r เป็ นสับเซตของ A  B ตัวอย่างที่ 1 กาหนด A = {2, 3} , B = {4, 6, 9} และให้ r1 แทนความสัมพันธ์ “สองเท่า” จาก A ไป B r2 แทนความสัมพันธ์ “หารลงตัว” จาก A ไป B r3 แทนความสัมพันธ์ “รากที่สอง” จาก A ไป B จงเขียน r1, r2 , r3 ในรู ปเซตแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเงื่อนไข วิธีทา A  B = {(2, 4), (2, 6), (2, 9), (3, 4), (3, 6), (3, 9)} แบบแจกแจงสมาชิก  r1 = { } r2 = {(2, 4), (2, 6), (3, 6), (3, 9)} r3 = {(2, 4), (3, 9)} แบบบอกเงื่อนไข r1  {( x, y)  A  B | x  2 y} r2  {( x, y)  A  B | x หาร y ลงตัว} r3  {( x, y)  A  B | x  y } }
  • 2. ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A เป็ นเซตของจานวนเต็มบวก และ B เป็ นเซตของจานวนจริ ง r1 = {(x, y)  A  B | y = x + 2} r2 = {(x, y)  A  B | y = 2x} จงเขียน r1 และ r2 แบบแจกแจงสมาชิก วิธีทา จาก r1 = {(x, y)  A  B | y = x + 2} ถ้า x = 1 จะได้ y = 1 + 2 = 3 คู่อนดับคือ (1, 3) ั x = 2 จะได้ y = 2 + 2 = 4 คู่อนดับคือ (2, 4) ั ทาเช่นนี้เรื่ อย ๆ ไป จะได้ r1 = {(1, 3), (2, 4), (3, 5), . . . } จาก r2 = {(x, y)  A  B | y = 2x} ่ ความสัมพันธ์ของ r2 อยูภายใต้กฎเกณฑ์ คือ สมาชิกตัวหลัง = 2 เท่าของสมาชิกตัวหน้า  r2 = {(1, 2), (2, 4), (3, 6), . . . } ตัวอย่างที่ 3 กาหนด A = {1, 2, 3} จงเขียน r1 และ r2 แบบบอกเงื่อนไข และแผนภาพแสดง การจับคู่ เมื่อ r1 , r2 เป็ นความสัมพันธ์ใน A และ r1 = {(1, 2), (2, 3)} r2 = {(1, 1), (2, 2), (3, 3)} วิธีทา จาก r1 = {(1, 2), (2, 3)}  r1 = {(x, y)  A  A | y = x + 1} จาก r2 = {(1, 1), (2, 2), (3, 3)}  r2 = {(x, y)  A  A | y = x} แผนภาพการจับคู่ของ r1 และ r2 ดังนี้ A A A A 1 1 1 1 2 2 2 2 3 3 3 3 รู ปที่ 1 แทน r1 รู ปที่ 2 แทน r2
  • 3. ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ r = {(x,y)  A  B| x+y = 5 } เมื่อ A = { -2, -1, 0, 1, 2 }, B = { 4, 5, 6, 7, 8 } คู่อนดับที่กาหนดให้ต่อไปนี้ คู่อนดับใดเป็ นสมาชิกของ r ั ั ( 6,-1 ),( 0, 5 ),( 1, 4 ),( 7, -2 ),( 2,3 ),( -3, 8 ),(10,-5 ),(-1,6 ) ตอบ ( 0, 5 ),( 1, 4 ),(-1,6 ) ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ A= {3, 5, 7} และ B = {2,6} จงหาจานวนความสัมพันธ์ท้ งหมดจาก A ไป ั B วิธีทา A  B = {(3,2),(3,6),(5,2),(5,6),(7,2),(7,6)} และ n(A  B) = 6 จานวนสับเซตของ A  B = 26 จึงกล่าวได้วา ความสัมพันธ์ท้ งหมดจาก A ไป B เท่ากับ 26 นันเอง ่ ั ่ สรุ ป 1. ความสัมพันธ์เป็ นเซต 2. เซตที่เป็ นความสัมพันธ์ตองมีสมาชิกเป็ นคู่อนดับ ้ ั 3. คู่อนดับที่อยูในความสัมพันธ์จะต้องอยูในกฎเกณฑ์ที่กาหนด ั ่ ่ 4. ถ้า A มีสมาชิก m ตัว และ B มีสมาชิก n ตัว A  B จะมีสมาชิก mn ตัว สับเซตของ A  B จะมี 2mn สับเซต ความสัมพันธ์จาก A ไป B จะมี 2mn ความสัมพันธ์
  • 4. แบบสรุ ปความรู้ ที่ 4 เรื่อง ความสั มพันธ์ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4 คาชี้แจง ให้นกเรี ยนสรุ ปเนื้อหาตามใบความรู ้ในหัวข้อต่อไปนี้ ั 1. ความสัมพันธ์ คือ ………………………..………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 2. ความสัมพันธ์ใด ๆ สามารถเขียนแทนในรู ปแบบ 2.1 ……………………………………………………………………………………………... 2.2 ……………………………………………………………………………………………... 2.3 ……………………………………………………………………………………………... 2.4 ……………………………………………………………………………………………...
  • 5. ใบงานที่ 4 เรื่อง ความสั มพันธ์ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4 คำชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อให้ถูกต้องสมบูรณ์ ั 1. จงเขียนความสัมพันธ์แต่ละข้อต่อไปนี้ในรู ปเซตแบบแจกแจงสมาชิก 1.1 r1 = {(x, y)  I  I+ | y2 = x} 1.2 r2 = {(x, y)  A  A | y = x – 4 } เมื่อ A = {2, 5, 6, 10} 1.3 r3 = {(x, y)  I  I | y2 = 1 – x2} 2. จงเขียนความสัมพันธ์ของ r ในแต่ละข้อต่อไปนี้ ในรู ปเซตแบบบอกเงื่อนไข เมื่อ A = {1, 2, 3, 4} และ r เป็ นความสัมพันธ์ใน A 2.1 r = {(4, 2), (1, 1)} 2.2 r = {(1, 2), (2, 3), (3, 4)} 2.3 r = {(3,1), (4,2)} 3. กาหนด A = {1,2,3,4,5,6} และ r1 ={(x,y)AA|x=y} , r2= {(x, y)  A  A | y = x +1 } จงเขียน r1 และ r2 ในรู ปแผนภาพแสดงการจับคู่ 4. กาหนดเซต A มีสมาชิก 3 ตัว เซต B มีสมาชิก 4 ตัว จงหา 4.1 จานวนความสัมพันธ์จาก A ไป A 4.2 จานวนความสัมพันธ์จาก A ไป B 4.3 จานวนความสัมพันธ์จาก B ไป B ชื่อกลุ่ม ....................................................................................... 1. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 2. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 3. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 4. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่........................... 5. ชื่อนักเรี ยน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
  • 6. คะแนนที่ได้...................................คะแนน เฉลยใบงานที่ 4 เรื่อง ความสั มพันธ์ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4 1) 1.1 r1 = {(1, 1), (4, 2), (9, 3), (16, 4), . . .} 1.2 r2 = {(6, 2), (10, 6)} 1.3 r3 = {(0, 1), (0, -1), (1, 0), (-1, 0)} 2) 2.1 r1 = {(x, y)  A  A | y2 = x} 2.2 r2 = {(x, y)  A  A | y = x + 1} 2.3 r3 = {(x, y)  A  A | y = x – 2} 3) A A A A 1 1 1 1 2 2 2 2 3 3 3 3 4 4 4 4 5 5 5 5 6 6 6 6 รู ปที่ 1 แทน r1 รู ปที่ 2 แทน r2 4) 4.1 2 9 ความสัมพันธ์ 4.2 212 ความสัมพันธ์ 4.3 216 ความสัมพันธ์