O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

มะเร็งกล่องเสียงคอหอย

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
1
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
พยาบาลวิชาชีพสุทธินีสุดใจ
ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมะเร็งศีรษะและลาคอ
งานการพยาบาลผู้ป่วยนอกโรงพย...
2
การทาผ่าตัดกล่องเสียง
การทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด(Total Laryngectomy)
(http://dribrook.blogspot.com/p/urgent-care-an...
3
แผนการรักษาและติดตามการรักษาของผู้ป่วย (Chen,2017) ดังนี้
1. การรักษามะเร็งบริเวณGlottis
2. การรักษามะเร็งบริเวณSubglott...
Anúncio
Anúncio

Confira estes a seguir

1 de 11 Anúncio

มะเร็งกล่องเสียงคอหอย

Baixar para ler offline

อบรมฟื้นฟูวิชาการ งานการพยาบาลจักษุ โสต ศอ นาสิกวิทยา
มะเร็งกล่องเสียง พยาบาลวิชาชีพสุทธินี สุดใจ
7 พฤศจิกายน 2560

อบรมฟื้นฟูวิชาการ งานการพยาบาลจักษุ โสต ศอ นาสิกวิทยา
มะเร็งกล่องเสียง พยาบาลวิชาชีพสุทธินี สุดใจ
7 พฤศจิกายน 2560

Anúncio
Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Diapositivos para si (20)

Semelhante a มะเร็งกล่องเสียงคอหอย (20)

Anúncio

Mais de Sutthinee Sudchai (19)

Mais recentes (20)

Anúncio

มะเร็งกล่องเสียงคอหอย

  1. 1. 1 มะเร็งกล่องเสียงคอหอย พยาบาลวิชาชีพสุทธินีสุดใจ ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมะเร็งศีรษะและลาคอ งานการพยาบาลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลรามาธิบดี 4 พฤศจิกายน2560 มะเร็งบริเวณกล่องเสียงและคอหอยพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง พบได้ร้อยละ 36.7 ของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะ และลาคอทั้งหมด(ชัยวีระวัฒนะศุลีพรแสงกระจ่างปิยวัฒน์เลาวหุตานนท์และวทินันท์เพชรฤทธิ์ ,2560)บริเวณนี้มี หลอดน้าเหลืองและเส้นเลือดใหญ่มากมายมาเลี้ยงทาให้มีความเสี่ยงที่มะเร็งจะแพร่กระจายไปยังอวัยวะข้างเคียงและ อวัยวะอื่นๆทั่วร่างกายได้ง่ายการตรวจร่างกายประกอบด้วยการซักประวัติการส่องกล้องในลาคอเพื่อประเมินขนาด ของก้อนมะเร็ง ตาแหน่งของก้อน ความสามารถในการขยับสายเสียง การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจ และการตรวจทางรังสี วินิจฉัยเพื่อตรวจดูก้อนมะเร็งในระดับลึกในเนื้อเยื่อโดยการตรวจComputertomography(CT)หรือPositronemission tomography (PET) เพื่อแบ่งระยะของโรค นอกจากนี้ยังต้องประเมินความสามารถในการกลืน การพูด และการ รับประทานอาหารด้วย(Chen,2017) Anatomy of Larynxand Hypopharynx https://www.healthtap.com/user_questions/240259 http://california.providence.org/tarzana/health-library/content/ ?contentTypeID=3&contentID=84507&language=en# การแบ่งระยะของโรคจะแบ่งตามระบบTNM ระดับความรุนแรงขึ้นอยู่กับตาแหน่งและการแพร่กระจาย ได้แก่ บริเวณ supraglottisglottis subglottis และ hypopharynx ตาแหน่งและการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองและการ แพร่กระจายของมะเร็งไปยังอวัยวะอื่นทั่วร่างกายการแบ่งโรคช่วยในการวางแผนการรักษาและติดตามการรักษาของ ผู้ป่วย
  2. 2. 2 การทาผ่าตัดกล่องเสียง การทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด(Total Laryngectomy) (http://dribrook.blogspot.com/p/urgent-care-and-cpr-of-laryngectomees.html) การทาผ่าตัดกล่องเสียงออกบางส่วน (http://dribrook.blogspot.com/p/urgent-care-and-cpr-of-laryngectomees.html) การทาผ่าตัด partial laryngectomy การทาผ่าตัด supraglottic laryngectomy. การทาผ่าตัดlaryngectomywithcricohyoidoepiglottopexy(CHEP)orcricohyoidopexy(CHP).
  3. 3. 3 แผนการรักษาและติดตามการรักษาของผู้ป่วย (Chen,2017) ดังนี้ 1. การรักษามะเร็งบริเวณGlottis 2. การรักษามะเร็งบริเวณSubglottis 3. การรักษามะเร็งบริเวณHypopharynx การรักษามะเร็งบริเวณGlottis ระยะที่เปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งในเซลล์รักษาโดยการทาผ่าตัดหรือการทาเลเซอร์ในกรณีที่มีการแพร่กระจายไป ยังเซลล์รอบๆจึงจะรักษาโดยการฉายรังสี โดยจะไม่มีการฉายรังสีในระยะที่มีการเปลี่ยนเป็นมะเร็งภายในเซลล์ทุก กรณี (Chen,2017) ระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ส่วนใหญ่จะเลือกการรักษาโดยการฉายรังสีเพราะเซลล์ส่วนใหญ่จะตอบสนองต่อการ รักษาด้วยรังสีรักษาและสามารถควบคุมมิให้เกิดการแพร่กระจายไปยังเนื้อเยื่อบริเวณรอบๆ ก้อนมะเร็งด้วย หรือ บางครั้งแพทย์จะเลือกการทาผ่าตัดนาก้อนมะเร็งออกทั้งก้อนก็ได้ส่วนใหญ่การทาผ่าตัดจะเป็นการทาผ่าตัดที่รักษา อวัยวะไว้ มีการทาผ่าตัดกล่องเสียงเพียงบางส่วน หลังผ่าตัดผู้ป่วยสามารถพูดมีเสียง แต่กรณีที่ปอดทางานไม่มี ประสิทธิภาพทาให้เสี่ยงต่อการสูดสาลัด หรืออายุมากมีความเสี่ยงสูงในการทาผ่าตัดจะเลือกการทาผ่าตัดกล่องเสียง ออกทั้งหมดแทนหรือในกรณีที่รับการรักษาด้วยรังสีแล้วไม่มีการตอบสนองจะพิจารณาทาผ่าตัดซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่จะ ยังไม่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองจึงไม่จาเป็นต้องผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ข้างลาคอ(Chen,2017) ระยะที่ 3 การรักษาประกอบด้วยการทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมดและรับรังสีรักษาภายหลังการทาผ่าตัด การ รับเคมีบาบัดอาจพิจารณาเป็นรายบุคคลโดยเฉพาะในกรณีที่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองหลายบริเวณ หรือมี ความเสี่ยงในการการแพร่กระจายสูงบางสถาบันระบุว่าต้องให้ผู้ป่วยรับเคมีบาบัดร่วมด้วยเสมอ(Chen,2017) ระยะที่ 4 ผู้ป่วยควรได้รับการทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด ร่วมกับรังสีรักษาและเคมีบาบัดภายหลังการทา ผ่าตัด หรือร่วมกับการรรักษาแบบมุ่งเป้า การให้รังสีรักษาต้องครอบคลุมบริเวณต่อมน้าเหลืองทั้ง 2 ข้าง ในระดับ2 3 และ 5 รวมทั้งบริเวณsupraclavicallymph nodes (Chen,2017)
  4. 4. 4 การรักษามะเร็งบริเวณSubglottis ระยะที่1 และ2 การรักษาด้วยการทาผ่าตัดและการฉายรังสีได้ผลการรักษาไม่ต่างกันในกรณีมีมะเร็งก้อนเล็กๆ สามารถใช้เลเซอร์ในการรักษาได้ในกรณีที่ก้อนมะเร็งใหญ่ขึ้นให้ทาผ่าตัดsupraglotticlaryngectomyแต่มีความเสี่ยงที่ จะเกิดการสูดสาลักได้ภายหลังการทาผ่าตัดจึงต้องมีการบริหารเพื่อฟื้นฟูการกลืนในกรณีที่ผู้ป่วยมีการทางานของปอด ไม่ดีจึงไม่สามารถทาผ่าตัด supraglottic laryngectomy ได้ ในกรณีที่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองอาจต้องทา ผ่าตัดก้อนมะเร็งต่อมน้าเหลืองที่ลาคอและรับรังสีรักษาภายหลังการทาผ่าตัด(Chen,2017) ระยะที่3 การทาผ่าตัดบางรายอาจเก็บกล่องเสียงไว้ได้ ขึ้นอยู่กับอวัยวะที่มะเร็งกระจายไปโดยเฉพาะมะเร็งที่ กระจายไปบริเวณ arytenoidcartilage จะมีการแพร่กระจายไปได้มากหลังผ่าตัดผู้ป่วยจะต้องพิจารณาผลการตรวจชิ้น เนื้อ การแพร่กระจายไปยังหลอดเลือดต่อมน้าเหลืองเพื่อประกอบการพิจารณาว่าจะต้องรับรังสีรักษาหลังผ่าตัดหรือไม่ (Chen,2017) ระยะที่4 จะต้องทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมดและรับรังสีรักษาหลังผ่าตัด กรณีที่ผลการตรวจชิ้นเนื้อพบว่า ขอบเขตของก้อนมะเร็งชิดขอบแผลที่ผ่าตัดจะต้องรับเคมีบาบัดร่วมด้วย(Chen,2017) การรักษาทุกระยะต้องทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด การรับรังสีรักษาภายหลังการทาผ่าตัดในกรณีที่ผลการ ตรวจชิ้นเนื้อพบว่าขอบเขตของก้อนมะเร็งชิดขอบแผลที่ผ่าตัด ผลการรักษาขึ้นอยู่กับขนาดของก้อนมะเร็ง (Chen, 2017) การติดตามการรักษา(DeFelice et al., 2017) หลังรักษาสองปีแรกติดตามการรักษาทุก3เดือนปีที่สามถึงปีที่ห้าติดตามการรักษาทุก6เดือนและพิจารณานัด ติดตามการรักษาตามอาการการตรวจทางรังสีวินิจฉัยให้เริ่มหลังทาการรักษาครบแล้วเดือนที่ 3และเดือนที่9 การรักษามะเร็งบริเวณHypopharynx ระยะที่1 และ2 รักษาด้วยรังสีรักษาอาจร่วมกับการทาผ่าตัดpartialpharynxgectomyการฉายรังสีอย่างเดียวช่วย จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถพูดและกลืนได้เกือบเท่าปกติ ในกรณีที่มีการกระจายไปยังต่อมน้าเหลืองจะต้องพิจารณารับ รังสีรักษาและเคมีบาบัดร่วมด้วย(Chen,2017) ระยะที่3 สามารถทาผ่าตัดเพื่อรักษากล่องเสียงร่วมกับการรับเคมีบาบัด (Chen,2017) ระยะที่4 ควรทาผ่าตัดร่วมกับเคมีบาบัดและรังสีรักษา กรณีที่ไม่สามารถผ่าตัดได้จะต้องให้เคมีบาบัดและรังสี รักษาโดยผลการรักษาขึ้นอยู่กับอาการของโรค(Chen,2017)
  5. 5. 5 การติดตามการรักษา(DeFelice et al., 2017) หลังรักษาสองปีแรกติดตามการรักษาทุก 3 เดือนต่อจากนั้นติดตามการรักษาทุก 6 เดือน เป็นระยะเวลา 5 ปี ต่อจากนั้นพิจารณาตามอาการหลังการรักษาให้ตรวจทางรังสีวินิจฉัยในเดือนที่ 3 และเดือนที่9 มะเร็งต่อมไทรอยด์ ต่อมไทรอยด์มีลักษณะคล้ายผีเสื้อ อยู่บริเวณด้านหน้าและด้านข้างของหลอดลมมี2 ข้าง ซ้ายและขวา วางอยู่ บริเวณtrachealring ที่ 2-4 เป็นต่อมที่มีสีน้าตาลแดงถูกปกคลุมด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันบริเวณใกล้เคียงมีหลอดเลือดแดง ใหญ่หลอดเลือดดาใหญ่ท่อน้าเหลืองและเส้นประสาทที่สัมพันธ์กับต่อมไทรอยด์(มงคลบุญศรีพิทยานท์,2556) โดย มะเร็งต่อมไทรอยด์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ http://www.thaigoodview.com/node/75590 การแบ่งชนิดของมะเร็งต่อมไทรอยด์แบ่งเป็น3ประเภทดังนี้ 1 มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดdifferentiated 2. มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดanaplastic 3. มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดอื่น มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิด differentiated หมายถึงมะเร็งที่เปลี่ยนแปลงมาจากเซลล์ของต่อมไทรอยด์เอง รวมถึง มะเร็งชนิด papillary follicular และ HÜrthle cellเป็นมะเร็งต่อมไทรอยด์พี่พบมากที่สุด การตรวจ ตรวจด้วย อัลตรา ซาวน์และ fine needle aspiration biopsy (FNAB)(มงคลบุญศรีพิทยานท์,2556) การรักษา (มงคลบุญศรีพิทยานท์,2556) 1. ก้อนมะเร็งต่อมไทรอยด์ขนาดเล็กกว่า 1 เซนติเมตร มีความเสี่ยงต่า สามารถทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ด้านที่เป็น มะเร็งเพียงด้านเดียวได้
  6. 6. 6 2. ก้อนมะเร็งต่อมไทรอยด์ขนาดเล็กกว่า 2-4 เซนติเมตรต้องพิจารณาว่าควรทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกด้านเดียว หรือสองด้านขึ้นอยู่กับการประเมินว่ามีการเป็นมะเร็งทั้งสองด้านหรือไม่ควรประเมินด้วยอัลตราซาวน์กรณีที่มีความ เสี่ยงสูงต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งสองด้าน 3. ก้อนมะเร็งต่อมไทรอยด์ขนาดใหญ่กว่า4เซนติเมตรแนะนาทาผ่าตัดไทรอยด์ออกทั้งสองข้าง มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิด anaplastic หมายถึง มะเร็งที่มีเซลล์ชนิดต่างๆ รวมกันได้แก่spindle polygonal และ giantcells ส่วนใหญ่มักพบมะเร็งชนิด well-differentiated ร่วมด้วย มักมาพบแพทย์ด้วยอาการมีก้อนที่ลาคอ โตเร็ว ส่วนใหญ่เป็นก้อนที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 เซนติเมตรก้อนมีลักษณะแข็ง มีหลายก้อนอยู่ทั่วต่อมไทรอยด์ทั้งสองข้างและ ติดแน่นกับอวัยวะข้างเคียงและมีการลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงทาให้เกิดการกดเบียดอวัยวะข้างเคียงอาจพบในผู้ที่มี ประวัติเป็นคอพอกมาก่อนการรักษาประกอบด้วย การทาผ่าตัด การให้รังสีรักษาและเคมีบาบัด และ การรักษาด้วย Targeted therapy แต่ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยตอบสนองต่อเคมีบาบัดและรังสีรักษา (สาธิต ศรีมัทยามาศ และ พรชัยโอ เจริญรัตน์.,2556). การรักษาด้วยการทาผ่าตัดเป็นการรักษามีวัตถุประสงค์ให้หายและประคับประคองอาการ การรักษาด้วยการทาผ่าตัดแบ่งได้ดังนี้ 1. การรักษาให้หายในกรณีที่มะเร็งยังไม่มีการกระจายออกนอกต่อมไทรอยด์และยังไม่มีการกระจายไปยังอวัยวะ อื่นๆ(ระยะ 4A)การผ่าตัดสามารรถนาก้อนมะเร็งและมีขอบเขตเนื้อดีเพียงพอที่มะเร็งไม่แพร่กระจายรวมทั้งเลาะต่อม น้าเหลืองข้างไทรอยด์ออกได้หมดแต่อัตราการกลับเป็นซ้ายังพบได้สูงมากผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รังสีรักษาร่วมด้วย บาง กรณีจะให้เคมีบาบัดร่วมด้วย 2. การรักษาแบบประคับประคองอาการในกรณีที่เป็นมะเร็งต่อมไทรอยด์ระยะ 4B และ 4C โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มี ภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นทางเดินหายใจผู้ที่ผ่าตัดเอาก้อนเนื้อเฉพาะส่วนที่กดเบียดหลอดลมอยู่การทาผ่าตัดไม่มุ่งหวัง เพื่อเพิ่มอัตราการรอดชีวิตแต่มุ่งช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นอกจากนี้แล้วยังมีเซลล์มะเร็งชนิดอื่นๆได้แก่มะเร็งสแควร์มัสเซลล์พบได้น้อยรักษาโดยการทาผ่าตัดและรังสี รักษา การรักษามะเร็งชนิด intermediated differentiated ชนิดอินซูลาร์จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมด ชนิด เซลล์ Columnar จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดร่วมกับการทาผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ลาคอ มะเร็งชนิด Mucoepidermoid จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดมะเร็งpapillary ชนิด diffuse sclerosing variant และ มะเร็ง papillary ชนิด Tallcellvariant จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดและตัดบริเวณที่อาจลุกลามไปและการผ่าตัด ต่อมน้าเหลืองที่ลาคอ มะเร็ง papillary ชนิด Solid/trabecular variant ต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดและการ ผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ลาคอร่วมกับการรักษาด้วยไอโอดีน
  7. 7. 7 เอกสารอ้างอิง มงคล บุญศรีพิทยานนท์. (2556). กายวิภาคและสรีรวิทยาของต่อมไทรอยด์และอวัยวะที่เกี่ยวข้อง. ใน พรชัย โอเจริญรัตน์ สืบวงศ์จุฑาภิ สิทธ์ และ วิษณุ โล่สิริวัฒน์ (บก.), Update in thyroid disease ศัลยศาสตร์ ศีรษะ-คอ และเต้านม Head Neck and Brest Surgery (Vol. 7,pp.1-22).กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพเวชสาร. สาธิต ศรีมัทยามาศ และ พรชัย โอเจริญรัตน์. (2556). มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดอะนาพลาสติกและมะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดที่พบไม่บ่อย. ใน พรชัย โอเจริญรัตน์ สืบวงศ์จุฑาภิสิทธิ์ และ วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ (บก.), Update in Thyroid Disease ศัลยศาสตร์ ศีรษะ-คอ และเต้านม NeadNeckandBreast Surgery(Vol. 7,pp. 357-388).กรุงเทพมหานคร:กรุงเทพเวชสาร. ชัยวีระวัฒนะ ศุลีพร แสงกระจ่าง ปิยวัฒน์ เลาวหุตานนท์และ วทินันท์เพชรฤทธิ์ (2560). ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ. 2558 Hospital-basedcancerregestry.กรุงเทพฯ: PornsupPrinting. Chen,C. (2017).LarynxandHypopharynxInW. S. Jr (Ed.), Clinical Radiation Oncology:Indications,Techniques,andResult (Third Edition ed.,pp. 227-247).NJ: JohnWiley & Sons, Inc. De Felice, F., de Vincentiis, M., Valentini, V., Musio, D., Mezi, S., Lo Mele, L., Terenzi, V., D'Aguanno, V., Cassoni, A., Di Brino, M., Tenore, G., Bulzonetti, N., Battisti, A., Greco, A., Pompa, G., Minni, A., Romeo, U., Cortesi, E., Polimeni, A., & Tombolini, V. (2017). Follow-up program in head and neck cancer. Crit Rev Oncol Hematol, 113, 151-155. doi:10.1016/j.critrevonc.2017.03.012. Golusinski,W. (2017).TheRole of ConventionalSurgeryin OropharyngealCancer.RecentResults Cancer Res,206,185-195. doi:10.1007/978-3-319-43580-0_14 Manos, M., Giralt, J., Rueda, A., Cabrera, J., Martinez-Trufero, J., Marruecos, J., Lopez-Pousa, A., Rodrigo, J. P., Castelo, B., Martinez-Galan, J., Arias, F., Chaves, M., Herranz, J. J., Arrazubi, V., Baste, N., Castro, A., & Mesia, R. (2 0 1 7 ). Multidisciplinary management of head and neck cancer: First expert consensus using Delphi methodology from the Spanish Society for HeadandNeck Cancer(part 1).Oral Oncol, 70,58-64.doi:10.1016/j.oraloncology.2017.04.004. Rueda,A., Giralt, J., Manos,M.,Lozano,A.,Sistiaga, A.,Garcia-Miragall, E., Cacicedo,J., Esteban,F., Scola, B., Contreras,J., Ruiz, A., Carral, A.,Sanchez-Aniceto,G., Pastor, M.,Herranz, J.J., Bernal, M.,& Mesia,R. (2017).Multidisciplinarymanagement of head and neck cancer: First expert consensus using Delphi methodology from the Spanish Society for Head and Neck Cancer(part 2). Oral Oncol,70,65-72.doi:10.1016/j.oraloncology.2017.04.005 SIGN. (2006). Diagnosis and management of head and neck cancer A national clinical guideline. EN: Scottish Intercollegiate Guidelines Network.
  8. 8. 8 การผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ลาคอ ต่อมน้าเหลืองบริเวณศีรษะและลาคอพบได้หนึ่งในสามของต่อมน้าเหลืองทั้งหมดของร่างกาย ภาพแสดงต่อมน้าเหลืองบริเวณศีรษะและลาคอ ภาพแสดงเส้นสมมุติที่แบ่งบริเวณต่อมน้าเหลือง (http://www.newhealthadvisor.com/Swollen-Occipital-Lymph-Node.html) การไหลเวียนน้าเหลือง (http://clickcash4you.blogspot.com/2009/08/3.html๗ โดยปกติหัวใจจะปั๊มเลือดที่มีออกซิเจนจานวนมากเข้าหลอดเลือดเพื่อส่งอาหารไปเลี้ยงร่างกายในขณะที่เลือด ไหลเวียนไปตามหลอดเลือดใหญ่ที่เรียกว่า arteries จะมีการไหลไปเรื่อยๆจนถึงหลอดเลือดเล็กๆที่เรียกว่า capillaries
  9. 9. 9 น้าจะซึมออกจาก capillaries เข้าไปในเนื้อเยื่อใกล้เคียง เมื่อน้าเข้าไปในเนื้อเยื่อจะทาให้เนื้อเยื่อบวมน้า ดังนั้นระบบ น้าเหลืองจะกรองและส่งน้ากลับไปในหลอดเลือดและยังกาจัดwasteproductsออกจากผิวหนังถ้าสิ่งปฏิกูลเหล่านั้นไม่ ถูกขจัดออกจะทาให้ผิวหนังมีรอยแผลเป็นและกลายเป็นเนื้อแข็งๆได้โดยปกติร่างกายเรามีต่อมน้าเหลืองประมาณ 500-700ต่อมอยู่ทั่วร่างกายและมีมากที่สุดบริเวณศีรษะและลาคอต่อมน้าเหลืองจานวนมากจะอยู่บริเวณรอบๆอวัยวะ ของร่างกายมีการไหลเวียนของน้าเหลืองจากผิวหนังปกติไปสู่ต่อมน้าเหลืองแต่ถ้ามีความเสียหายหรือถูกตัดออกจะทา ให้น้าเหลืองไหลเวียนไม่สะดวกปกติต่อมน้าเหลืองมีหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรคเมื่อมีการติดเชื้อน้าเหลืองจะไปกาจัดเชื้อ โรคก่อนที่เลือดจะไหลเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิต(ValerieW. Collins, 2012) การแพร่กระจายของมะเร็งบริเวณศีรษะและลาคอมักมีรูปแบบการกระจายที่สามารถทานายได้ และคาดเดา กระจายไปตาแหน่งใดในลาดับต่อไปในกรณีที่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองแล้วควรผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลือง ที่ลาคอออก สาหรับกรณีที่มีความเสี่ยงสูงแต่ยังไม่พบการแพร่กระจายควรเลาะต่อมน้าเหลืองกลุ่มเสี่ยงเพื่อไม่ให้เกิด การแพร่กระจายออกไปยังต่อมน้าเหลืองบริเวณที่ไกลมากขึ้นการผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองที่ลาคอมีเป้าหมายเพื่อ ควบคุมโรคสามารถแบ่งได้เป็นประเภทต่างๆดังนี้ 1. การทาผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองที่ลาคอออกทั้งหมดโดยหวังผลในการควบคุมโรคและป้องกันการแพร่กระจาย ของโรคโดยการเลาะต่อมน้าเหลืองออกทั้งแต่ระดับหนึ่งถึงห้าโดยแบ่งเป็นการผ่าตัดRadicalneck dissection (RND) ที่ทาผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองออกทั้งหมด การทาผ่าตัด Extended radicalneck dissection มีการทาผ่าตัดเอาส่วนอื่นๆ ออกมากกว่าการทา RND การทาผ่าตัด Modified radicalneck dissection type I (MRND type I) ที่เก็บเฉพาะ เส้นประสาทเส้นที่11 การทาผ่าตัด Modified radicalneck dissection type II (MRND type II) ที่เก็บเส้นประสาทเส้นที่ 11 และกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid แล ะ Modified radicalneck dissection type III (MRND type III) ที่เก็บ เส้นประสาทเส้นที่11กล้ามเนื้อsternocleidomastoidและหลอดเลือดดาinternaljugular 2. การทาผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองเฉพาะระดับ(Selectiveneckdissection) พิจารณาทาในกระณีตรวจไม่พบการ แพร่กระจายมายังต่อมน้าเหลืองแต่เป็นมะเร็งปฐมภูมิที่มีความเสี่ยงสูงที่จะแพร่กระจายได้แก่มะเร็งในช่องปากตั้งแต่ ระยะ T2 เป็นต้นไปหรือก้อนมะเร็งมีความหนากว่าสี่มิลลิเมตรเป็นต้นไป โดยมุ่งเน้นการผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลือง ระดับแรกๆที่เสี่ยงต่อการแพร่กระจายของมะเร็งระหว่างการผ่าตัดถ้าพบต่อมน้าเหลืองที่โตผิดปกติให้ส่งตรวจfrozen section ถ้าพบการแพร่กระจายต้องผ่าตัดต่อมน้าเหลืองชนิด Modified radicalneck dissection ไปเลย (พงศ์เทพ พิศาล ธุรกิจ และพรชัยโอเจริญรัตน์,2556)
  10. 10. 10 การทาผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ลาคอชนิดต่างๆ การทาNeck dissection ชนิดต่างๆ (https://clinicalgate.com/cancer-of-the-head-and-neck-2/) การทาSelective Neck Dissection (http://imaging.ubmmedica.com/cancernetwork/journals/oncology/images/o0010cf2.gif)
  11. 11. 11 เอกสารอ้างอิง พงศ์เทพพิศาลธุรกิจและพรชัยโอเจริญรัตน์.(2556).การผ่าตัดเลาะต่อมน้่าเหลืองที่ลาคอNeckdissection:How I do it.ใน พรชัย โอเจริญรัตน์ สืบวงศ์ จุฑาภิสิทธิ์ และ วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ (บก.), Update in thyroid disease ศัลยศาสตร์ศีรษะ-คอ และ เต้านม Head Neck and Breast Surgery (Vol. 7,pp. 282-297).กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพเวชสาร. การทา flapgraftและreconstruction การทาRadial forearmflap (http://www.microsurgeryeducation.com/p/head-and-neck.html) การทาผ่าตัดALT (anterolateralthigh flap) or lateral arm การผ่าตัดLateralarm flap (http://www.microsurgeryeducation.com/p/head-and-neck.html)

×