SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
Reading List สัปดาห์ที่ 2 นายวิเชียร วงค์วัน 58032447
ชื่อเรื่อง รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนสังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Academic Leadership Development Model via Blended Learning for School
Administrators under the Jurisdiction of Office of Educational Service Area of
Primary Education in Three Southern Border Provinces
ระดับ ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผู้นาและนวัตกรรมทางการศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชื่อผู้วิจัย ศรุติพงศ์ภูวัชร์วรานนท์
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการ และพัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทาง
วิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสาม
จังหวัดชายแดนภาคใต้การดาเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการของ
ผู้บริหารโรงเรียน ระยะที่ 2 เป็นการพัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับ
ผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ประกอบภาวะผู้นาทางวิชาการมี 4 องค์ประกอบ 70 ตัวบ่งชี้ (2) พฤติกรรมภาวะผู้นาทาง
วิชาการของผู้บริหารโรงเรียน เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีในการบริหารและการสร้างสภาพแวดล้อมใหม่ในการเรียนรู้ อยู่ใน
ระดับปานกลาง ส่วนเรื่องอื่นๆ อยู่ในระดับมาก และพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนที่ดารงตาแหน่ง
หัวหน้างานวิชาการ มีพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการต่ากว่าผู้บริหารโรงเรียนที่ดารงตาแหน่งผู้อานวยการและรองผู้อานวยการ
และผู้บริหารที่มีประสบการณ์ในการดารงตาแหน่ง ตั้งแต่ 5 ปีลงมามีพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการต่ากว่าผู้บริหารโรงเรียนที่
มีประสบการณ์ในการดารงตาแหน่ง ตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป (3) รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบ
ผสมผสานสาหรับผู้บริหารโรงเรียน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา ระบบการจัดการ
เรียนรู้แบบผสมผสาน และการวัดและประเมินผล รูปแบบดังกล่าวมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ในการนาไปใช้
องค์ประกอบของระบบการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด กลุ่มตัวอย่างผู้เข้ารับการทดลองตาม
รูปแบบเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น
วิธีการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ พัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับ
ผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยใช้วิธีวิจัยทั้งเชิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพ การดาเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 ศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสาม
จังหวัดชายแดนภาคใต้
ขั้นที่ 1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นาทางวิชาการ ดังนี้
1. คัดเลือกและรวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นาทางวิชาการ
2. วิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยวิธีการ วิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)
3. นาเสนอผลการวิเคราะห์และนาผลการวิเคราะห์ไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน การศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทาง
วิชาการของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และจัดทาเป็น
หลักสูตรในการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ
ขั้นที่ 2 ศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยการสารวจระดับพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนสังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่งมีรายละเอียดในการดาเนินการดังนี้
1. ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น มีจานวนทั้งสิ้น 1,917 คนโดยจาแนกเป็น
1.1 ผู้อานวยการสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
จานวน 892 คน
1.2 รองผู้อานวยการสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้จานวน 133 คน
1.3 หัวหน้างานวิชาการที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จานวน 892 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง
2.1 การกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้จานวนกลุ่มตัวอย่าง 333 คน จากประชากร 1,917 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่าง
การได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จานวน 333 คนใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน(Multistage random
sampling) ซึ่งมีวิธีการดังนี้
ขั้นแรก ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling)
สุ่มสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาโดยสุ่ม จังหวัดละ 1 เขตพื้นที่ ของจังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลาและ
จังหวัดนราธิวาส ได้จานวน 3 เขตพื้นที่ ได้แก่
1. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1
2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3
3. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3
ขั้นที่สอง จาแนกโรงเรียน โดยใช้ขนาดของโรงเรียนแบ่งโรงเรียนตาม เกณฑ์ของสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา สามารถแบ่งโรงเรียนออกเป็น 3 ขนาด คือ โรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลางและ
โรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งแบ่งโดยยึดจานวนนักเรียนเป็นเกณฑ์นั่นคือ
1. โรงเรียนขนาดใหญ่มีจานวนนักเรียน 1,500 – 2,499 คน
2. โรงเรียนขนาดกลางมีจานวนนักเรียน 501 – 1,499 คน
3. โรงเรียนขนาดเล็กมีนักเรียนน้อยกว่า 500 คน
ขั้นที่สาม สุ่มโรงเรียนแต่ละขนาดโดยสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) ตามขนาดของโรงเรียน
ขั้นที่สี่ สุ่มผู้อานวยการสถานศึกษา รองผู้อานวยการสถานศึกษาและ หัวหน้างานวิชาการ โดยเทียบสัดส่วน
กลุ่มตัวอย่างจากประชากรในแต่ละจังหวัด และแต่ละโรงเรียนอีกขั้นหนึ่งเพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนที่
ต้องการ ซึ่งได้จานวนกลุ่มตัวอย่าง
3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น แบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นแบบ ตรวจสอบรายการ (Checklist) แบบ
ปลายเปิด แบบมาตราประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
4.1 หาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของพฤติกรรม ภาวะผู้นาทางวิชาการของ
ผู้บริหารโรงเรียนเป็นรายข้อ รายด้านและรวมทุกด้าน
4.2 เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการ ตามเพศ ตาแหน่ง ประสบการณ์ในการ
ดารงตาแหน่งและขนาดโรงเรียน โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบหลายตัวแปร (Multivariate Analysis of
Variance: MANOVA)
ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนสังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้
ขั้นที่ 1 ยกร่างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบและการเรียนรู้ แบบผสมผสาน
2. ศึกษาเอกสาร งานวิจัยและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาภาวะผู้นาสาหรับ ผู้บริหาร
3. ยกร่างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน ให้สอดคล้องกับข้อมูลในข้อ 1 และ
2 รวมทั้งนาผลจากการวิจัยในระยะที่ 1 คือการศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นาทางวิชาการและตัวบ่งชี้ ไปเป็นพื้นฐานใน
การกาหนดเนื้อหาของหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ และนาผลการศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการ
ไปกาหนดเป็นหลักการ และกระบวนพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ (ขั้นการจัดกระบวนการพัฒนา) ของรูปแบบ ซึ่ง
เป็นผลจากการวิจัยในระยะที่ 1
4. นาเสนออาจารย์ที่ปรึกษาพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะรูปแบบการพัฒนา ภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบ
ผสมผสานที่ยกร่างขึ้น
5. ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้ แบบผสมผสานที่ยกร่างขึ้น ตาม
ข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษา
ขั้นที่ 2 ประเมินรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสานที่ยกร่างขึ้น โดยการสนทนากลุ่ม
(Focus group discussion) โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. กลุ่มตัวอย่าง
1.1. กลุ่มตัวอย่างผู้ทรงคุณวุฒิ ในการสนทนากลุ่มจะคัดเลือกผู้เชี่ยวชาญซึ่ง
ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี ด้านภาวะผู้นา ด้านการจัดการเรียนการสอน ผู้บริหารสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา ผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน และหัวหน้างานวิชาการ จานวนทั้งสิ้น 12
คน
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
2.1 เอกสารประกอบการสนทนากลุ่ม ซึ่งประกอบด้วยประเด็นสาคัญที่ให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินวิพากษ์และให้
ข้อเสนอแนะรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน ที่ยกร่างขึ้น
2.2 เทปบันทึกเสียงสาหรับใช้บันทึกเสียงการสนทนากลุ่ม
3. วิธีการ
3.1 ขั้นเตรียมการ
3.1.1 เตรียมเอกสารประกอบการสนทนากลุ่ม
3.1.2 ทาบทามผู้เชี่ยวชาญตามคุณสมบัติที่กาหนดไว้
3.2 ขั้นดาเนินการ
3.2.1 ผู้วิจัยนาเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการ เรียนรู้แบบผสมผสาน ต่อที่ประชุม
3.2.2 ให้ผู้เชี่ยวชาญประเมิน วิพากษ์ให้ข้อเสนอแนะรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้
แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้
3.2.3 ในระหว่างที่ผู้ทรงคุณวุฒิประเมิน วิพากษ์ให้ข้อเสนอแนะ ผู้ช่วยวิจัย 1 คน ได้ดาเนินการจดบันทึก
ประเด็นต่าง ๆ และมีการบันทึกเทปพร้อมกันด้วย
3.3 ขั้นสรุป
3.3.1 หลังเสร็จสิ้นการสนทนากลุ่มจะนาเสียงที่บันทึกจากเทปมาถอดความรายละเอียดทั้งหมดเป็นตัวอักษร
ตามบทสนทนา เปรียบเทียบกับการจดบันทึก เพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง
3.3.2 ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน ตาม
ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลผลการสนทนากลุ่ม โดยวิธีอุปนัย (Inductive analysis)
ขั้นที่ 3 พัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. กลุ่มตัวอย่าง
1.1 กลุ่มตัวอย่างผู้เชี่ยวชาญ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทาหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพของระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
และเครื่องมือที่สนับสนุน จานวน 11 คน เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี จานวน 4 คน ด้านภาวะผู้นา จานวน 3 คน
ด้านการจัดการเรียนการสอน จานวน 4 คน
1.2 กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานขั้นต้น จานวน 3 คน ประกอบด้วย ผู้อานวยการ
โรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน และหัวหน้างานวิชาการโรงเรียน ตาแหน่งละ 1 คน ที่ได้มาจากการเลือกแบบ
เจาะจง พิจารณาความเหมาะสมของระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานที่พัฒนาขึ้น โดยมีหลักเกณฑ์ในการเลือก
กลุ่มตัวอย่างดังนี้
1.2.1 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน และหัวหน้างานวิชาการโรงเรียน
1.2.2 มีความรู้ความสามารถพื้นฐานในการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้นในด้านต่อไปนี้
1. ทักษะการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
2. การใช้กระดานสนทนา
3. การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
4. ทักษะอื่น ๆ ที่จาเป็นในการเรียนรู้ผ่านออนไลน์
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. หลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ
2. แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
3. คู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน
4. ห้องเรียนออนไลน์
5. แบบประเมินหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ
6. แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
7. แบบประเมินคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน
8. แบบประเมินห้องเรียนออนไลน์
9. แบบสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง สาหรับใช้สังเกตการทดลองใช้
ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานขั้นต้น
10. แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างสาหรับใช้สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างที่
เข้าร่วมในการทดลองใช้ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานขั้นต้น
การพัฒนาเครื่องมือวิจัยซึ่งเป็นเครื่องมือสนับสนุนระบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน ตามรูปแบบที่สร้างขึ้น มีวิธีการและ
ขั้นตอน ดังนี้
1. หลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการจัดการเรียนรู้และคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน มี
ขั้นตอนการสร้าง ดังนี้
1.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการสร้างหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้และคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบ
ผสมผสาน
1.2 สร้างหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการจัดการ เรียนรู้ และคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบ
ผสมผสาน
1.3 ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความเหมาะสมของหลักสูตรการพัฒนา ภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการ
จัดการเรียนรู้ และคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผมผสาน
1.4 ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการ จัดการเรียนรู้ และคู่มือประกอบการ
เรียนรู้แบบผสมผสาน ตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษา
1.5 ให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน ประเมินและให้ข้อเสนอแนะ หลักสูตร การพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ และคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน ตามแบบประเมินที่สร้างขึ้น
1.6 ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการ จัดการเรียนรู้ และคู่มือประกอบการ
เรียนรู้แบบผสมผสาน ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
2 แบบประเมินหลักสูตรแผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียน
ออนไลน์มีขั้นตอนการสร้าง ดังนี้
2.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการสร้างแบบประเมินหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการเรียนรู้
แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียนออนไลน์
2.2 สร้างแบบประเมินหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการ จัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการ
เรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียนออนไลน์
2.3 ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความเหมาะสมของแบบประเมินหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทาง
วิชาการ แผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียนออนไลน์
2.4 ปรับปรุงแก้ไขแบบประเมินหลักสูตรภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการ จัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการ
เรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียนออนไลน์ตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษา
2.5 ให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 คน ประเมินและให้ข้อเสนอแนะของแบบ ประเมินหลักสูตรการพัฒนาภาวะ
ผู้นาทางวิชาการ แผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียน
ออนไลน์
2.6 ปรับปรุงแก้ไขแบบประเมินหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการแผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือ
ประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียนออนไลน์ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
3. ห้องเรียนออนไลน์
3.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับระบบการจัดการเรียนรู้บนเว็บ (Learning Management System: LMS) เพื่อเป็น
ข้อมูลพื้นฐานในการสร้างห้องเรียนออนไลน์
3.2 สร้างห้องเรียนออนไลน์ตามรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดย ใช้ระบบการจัดการเรียนรู้บนเว็บ
(Learning Management System: LMS)
3.3ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความเหมาะสมของห้องเรียนออนไลน์ ที่สร้างขึ้นตามรูปแบบการเรียนรู้
แบบผสมผสาน
3.4 ปรับปรุงแก้ไขห้องเรียนออนไลน์ที่สร้างขึ้นตามรูปแบบการเรียนรู้ แบบผสมผสาน ตามข้อเสนอแนะ
ของอาจารย์ที่ปรึกษา
3.5 ให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 คน ประเมินและให้ข้อเสนอแนะของ ห้องเรียนออนไลน์ ตามแบบประเมินที่
สร้างขึ้น
3.6 ปรับปรุงแก้ไขห้องเรียนออนไลน์ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
3. วิธีการพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ผู้วิจัยได้ศึกษากระบวนการออกแบบสาหรับการเรียนรู้แบบ
ผสมผสานของ Curtis J. Bonk และ Charles R. Graham (2006) ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนแบบผสมผสานของ
Alvarez (2005) ปัจจัยที่ควรคานึงในการออกแบบระบบการเรียนการสอนแบผสมผสานให้ประสบความสาเร็จของ
Singh และ Reed (2001) การออกแบบระบบการเรียนการสอนตาม ADDIE Model (วิชชุดา รัตนเพียร, 2548) และ
นามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยมีขั้นตอนและวิธีการ ดังนี้
3.1 ขั้นการวิเคราะห์และการวางแผน (Analysis and planning) เป็นการวิเคราะห์เนื้อหา กิจกรรม ขั้นตอน วิธีการ
กระบวนการ เพื่อกาหนดรายละเอียดต่าง ๆ สาหรับสร้างระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือที่
สนับสนุน ตามรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนที่
กาหนดขึ้น
3.2 ขั้นการออกแบบ (Design) เป็นการออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือที่สนับสนุน
โดยการการออกแบบเนื้อหา กิจกรรม ขั้นตอน วิธีการ กระบวนการ ตามรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่าน
การเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนที่กาหนดขึ้น
3.3 ขั้นการพัฒนา (Development) เป็นการพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือสนับสนุน
ตามรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนที่กาหนดขึ้น โดย
มีขั้นตอน ดังนี้
1) นาระบบการจัดการเรียนรู้แบบแบบผสมผสานและเครื่องมือสนับสนุนที่พัฒนาขึ้น ตามรูปแบบการพัฒนา
ภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียน เสนอผู้เชี่ยวชาญ จานวน 11 คน เพื่อ
พิจารณาตรวจสอบคุณภาพความเหมาะสมและให้ข้อเสนอแนะ
2) ปรับปรุงแก้ไขระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือ สนับสนุน ตามผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
3.4 ขั้นการนาไปใช้(Implementation) เป็นการนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือ
สนับสนุนที่ปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญไปทดลองใช้ขั้นต้นกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 6 คน
3.5 ขั้นประเมินผล (Evaluation) เป็นการวัดและประเมินผลระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและ
เครื่องมือสนับสนุน โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1) ขณะดาเนินการทดลองใช้ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือสนับสนุนกับ
กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยทาการสังเกต สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ได้ข้อมูลสาหรับการปรับปรุงระบบการ
จัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือสนับสนุนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
2) ปรับปรุงระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือสนับสนุนตามผลการทดลองใช้
ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานขั้นต้น
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
4.1 การวิเคราะห์ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ
ข้อมูลเชิงปริมาณ วิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและแปลผลการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิง
คุณภาพ วิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)
4.2 การวิเคราะห์ผลการทดลองใช้ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
ข้อมูลจากการสังเกตและการสัมภาษณ์ในการทดลองใช้ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานขั้นต้น
วิเคราะห์โดยวิธีอุปนัย (Inductive analysis)
ขั้นที่ 4 นาเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสานสาหรับผู้บริหารโรงเรียน สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ชื่อวิจัย การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้เป็นทีม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
ผู้วิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิวรรธน์ จันทร์เทพย์ มรภ.หมู่บ้านจอมบึง
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและนาเสนอรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็น
ทีม เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ 2) ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อ
การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ 3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้
ร่วมกันเป็นทีม เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์
วิธีดาเนินการวิจัยมี 5 ขั้นคือ (1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการ (2) การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือในการ
วิจัย (3) การทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (4) การประเมินการใช้รูปแบบการเรียนรู้
แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (5) การรับรองรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้น ค.บ. ปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา จานวน 30 คน ซึ่งศึกษา
รายวิชาการสร้างสื่อการเรียนการสอน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 โดยใช้รูปแบบและเครื่องมือในการวิจัยที่ผู้วิจัยได้
พัฒนาขึ้น
ผลการวิจัยมีดังนี้
1. รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ มี 2 ส่วนคือ 1)
องค์ประกอบโครงสร้างของรูปแบบ ได้แก่ การวิเคราะห์ การเรียนการสอน และการประเมินผล 2) กระบวนการเรียนการสอน
ดาเนินกิจกรรมในห้องเรียนปกติ 5 ครั้ง 15 ชั่วโมง บนเว็บ 5 ครั้ง ไม่จากัดเวลา รวมทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นก่อนการเรียนการสอน ได้แก่ การลงทะเบียน การทดสอบก่อนเรียน การปฐมนิเทศ การทดลองใช้เครื่องมือ การแบ่งกลุ่ม
ผู้เรียน กิจกรรมกระบวนการกลุ่ม การสมัครใช้โปรแกรม การสนทนาและการอภิปราย ขั้นการเรียนการสอน ได้แก่ การเข้าสู่การ
เรียนโดยใช้สื่อมัลติมีเดีย การศึกษาเอกสาร การค้นหาบนเครือข่ายและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล การทาแบบฝึกหัด การสรุปเนื้อหา
การออกแบบสื่อ และการวางแผนนาเสนอขั้นสรุปการเรียนการสอน ได้แก่ การสนทนาและอภิปรายการปฏิบัติการสร้างสื่อ การ
นาเสนอผลงาน และการทดสอบหลังเรียน
2. ผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการสร้างสื่อการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์สูงขึ้นกว่าก่อน
การทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ค่าประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้อยู่ในเกณฑ์80 / 80 กลุ่มตัวอย่างมีการ
แสดงออกในการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมในระดับมาก และมีความเห็นว่ารูปแบบการเรียนรู้มีความเหมาะสมในระดับมาก
3. ผลการประเมินรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
โดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า องค์ประกอบและกิจกรรมของรูปแบบการเรียนรู้มีความเหมาะสมในระดับมาก
ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้แบ่งการดาเนินงานออกเป็น 5 ตอน ดังนี้
ตอนที่1 วิจัย (Research 1 : R1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐานสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการ
ขั้นที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน เอกสาร แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบผสมผสาน การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการ
คิดวิเคราะห์
ขั้นที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ โดยการสัมภาษณ์ผู้บริหารและการใช้แบบสอบถามอาจารย์
ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อสร้างเครื่องมือในการวิจัย
ตอนที่2 พัฒนา (Development 1 : D1) การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือในการวิจัย
ขั้นที่ 1 การสร้างโครงร่างรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานและรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 2 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามตามแบบทดสอบและแบบประเมินที่ใช้ในการวิจัย
ตอนที่3 วิจัย (Research 2 : R2) การทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน
การใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์กับกลุ่ม
ตัวอย่างในการทดลองได้แก่นักศึกษาชั้น ค.บ. 2 วิชาเอกคอมพิวเตอร์ศึกษา ซึ่งได้มาด้วยวิธีการเจาะจง (purposive sampling)โดย
จัดการเรียนรู้เป็น 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 ขั้นก่อนการเรียนรู้ การเตรียม การลงทะเบียน การปฐมนิเทศ การทดสอบก่อนเรียน
ขั้นที่ 2 ขั้นการเรียนรู้บทเรียน เรียนรู้บทเรียนวิชาการสร้างสื่อการเรียนการสอน เรื่องที่ 1-5 การทดสอบระหว่างเรียน
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป แต่ละทีมสรุปเนื้อหาบทเรียนและนาเสนอ, การทดสอบหลังเรียน
ตอนที่4 พัฒนา(Development 2 : D2) การประเมินการใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน
ขั้นที่ 1 เปรียบเทียบผลการเรียนรู้แบบผสมผสานก่อนเรียนและหลังการเรียน ใช้t-test
ขั้นที่ 2 นาเสนอผู้เชี่ยวชาญพิจารณาและผู้วิจัยปรับปรุงแก้ไขตามข้อแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ
ตอนที่5 การรับรองรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน
ผู้วิจัยนาผลงานเสนอผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมเพื่อ
พัฒนาการคิดวิเคราะห์ และการเผยแพร่รูปแบบพร้อมเงื่อนไขการใช้งาน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดrisa021040
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555jammaree samanchat
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์JeeraJaree Srithai
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีSunisa199444
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์Anusara Sensai
 
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีวิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีMuhammadrusdee Almaarify
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557Anusara Sensai
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
งานเทคโนโลยี Chapter7
งานเทคโนโลยี Chapter7งานเทคโนโลยี Chapter7
งานเทคโนโลยี Chapter7Poppy'z Namkham
 

Mais procurados (20)

ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณี
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
 
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีวิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากรงานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
งานเทคโนโลยี Chapter7
งานเทคโนโลยี Chapter7งานเทคโนโลยี Chapter7
งานเทคโนโลยี Chapter7
 

Semelhante a Reading list (wichien 58032447) week 2

Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.Kaisorn Sripuwong
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนSweetsak Samnakwong
 
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาWorrachet Boonyong
 
เผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงานเผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงานNunnaphat Chadajit
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันNU
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Semelhante a Reading list (wichien 58032447) week 2 (20)

Abstract
AbstractAbstract
Abstract
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
 
R nattapong
R nattapongR nattapong
R nattapong
 
เผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงานเผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงาน
 
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียน.Docx
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ  สำหรับนักเรียน.Docxบทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ  สำหรับนักเรียน.Docx
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียน.Docx
 
Learning
LearningLearning
Learning
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
Koy
KoyKoy
Koy
 

Reading list (wichien 58032447) week 2

  • 1. Reading List สัปดาห์ที่ 2 นายวิเชียร วงค์วัน 58032447 ชื่อเรื่อง รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ Academic Leadership Development Model via Blended Learning for School Administrators under the Jurisdiction of Office of Educational Service Area of Primary Education in Three Southern Border Provinces ระดับ ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผู้นาและนวัตกรรมทางการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชื่อผู้วิจัย ศรุติพงศ์ภูวัชร์วรานนท์ บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการ และพัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทาง วิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต้การดาเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการของ ผู้บริหารโรงเรียน ระยะที่ 2 เป็นการพัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับ ผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ประกอบภาวะผู้นาทางวิชาการมี 4 องค์ประกอบ 70 ตัวบ่งชี้ (2) พฤติกรรมภาวะผู้นาทาง วิชาการของผู้บริหารโรงเรียน เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีในการบริหารและการสร้างสภาพแวดล้อมใหม่ในการเรียนรู้ อยู่ใน ระดับปานกลาง ส่วนเรื่องอื่นๆ อยู่ในระดับมาก และพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนที่ดารงตาแหน่ง หัวหน้างานวิชาการ มีพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการต่ากว่าผู้บริหารโรงเรียนที่ดารงตาแหน่งผู้อานวยการและรองผู้อานวยการ และผู้บริหารที่มีประสบการณ์ในการดารงตาแหน่ง ตั้งแต่ 5 ปีลงมามีพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการต่ากว่าผู้บริหารโรงเรียนที่ มีประสบการณ์ในการดารงตาแหน่ง ตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป (3) รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบ ผสมผสานสาหรับผู้บริหารโรงเรียน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา ระบบการจัดการ เรียนรู้แบบผสมผสาน และการวัดและประเมินผล รูปแบบดังกล่าวมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ในการนาไปใช้ องค์ประกอบของระบบการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด กลุ่มตัวอย่างผู้เข้ารับการทดลองตาม รูปแบบเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น วิธีการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ พัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับ ผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยใช้วิธีวิจัยทั้งเชิงปริมาณ
  • 2. และเชิงคุณภาพ การดาเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ ขั้นที่ 1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นาทางวิชาการ ดังนี้ 1. คัดเลือกและรวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นาทางวิชาการ 2. วิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยวิธีการ วิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) 3. นาเสนอผลการวิเคราะห์และนาผลการวิเคราะห์ไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน การศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทาง วิชาการของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และจัดทาเป็น หลักสูตรในการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ ขั้นที่ 2 ศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยการสารวจระดับพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่งมีรายละเอียดในการดาเนินการดังนี้ 1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น มีจานวนทั้งสิ้น 1,917 คนโดยจาแนกเป็น 1.1 ผู้อานวยการสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จานวน 892 คน 1.2 รองผู้อานวยการสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้จานวน 133 คน 1.3 หัวหน้างานวิชาการที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จานวน 892 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง 2.1 การกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้จานวนกลุ่มตัวอย่าง 333 คน จากประชากร 1,917 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่าง การได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จานวน 333 คนใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน(Multistage random sampling) ซึ่งมีวิธีการดังนี้ ขั้นแรก ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) สุ่มสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาโดยสุ่ม จังหวัดละ 1 เขตพื้นที่ ของจังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลาและ
  • 3. จังหวัดนราธิวาส ได้จานวน 3 เขตพื้นที่ ได้แก่ 1. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 3. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 ขั้นที่สอง จาแนกโรงเรียน โดยใช้ขนาดของโรงเรียนแบ่งโรงเรียนตาม เกณฑ์ของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา สามารถแบ่งโรงเรียนออกเป็น 3 ขนาด คือ โรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลางและ โรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งแบ่งโดยยึดจานวนนักเรียนเป็นเกณฑ์นั่นคือ 1. โรงเรียนขนาดใหญ่มีจานวนนักเรียน 1,500 – 2,499 คน 2. โรงเรียนขนาดกลางมีจานวนนักเรียน 501 – 1,499 คน 3. โรงเรียนขนาดเล็กมีนักเรียนน้อยกว่า 500 คน ขั้นที่สาม สุ่มโรงเรียนแต่ละขนาดโดยสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) ตามขนาดของโรงเรียน ขั้นที่สี่ สุ่มผู้อานวยการสถานศึกษา รองผู้อานวยการสถานศึกษาและ หัวหน้างานวิชาการ โดยเทียบสัดส่วน กลุ่มตัวอย่างจากประชากรในแต่ละจังหวัด และแต่ละโรงเรียนอีกขั้นหนึ่งเพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนที่ ต้องการ ซึ่งได้จานวนกลุ่มตัวอย่าง 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น แบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นแบบ ตรวจสอบรายการ (Checklist) แบบ ปลายเปิด แบบมาตราประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 4.1 หาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของพฤติกรรม ภาวะผู้นาทางวิชาการของ ผู้บริหารโรงเรียนเป็นรายข้อ รายด้านและรวมทุกด้าน 4.2 เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการ ตามเพศ ตาแหน่ง ประสบการณ์ในการ ดารงตาแหน่งและขนาดโรงเรียน โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบหลายตัวแปร (Multivariate Analysis of Variance: MANOVA)
  • 4. ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ขั้นที่ 1 ยกร่างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบและการเรียนรู้ แบบผสมผสาน 2. ศึกษาเอกสาร งานวิจัยและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาภาวะผู้นาสาหรับ ผู้บริหาร 3. ยกร่างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน ให้สอดคล้องกับข้อมูลในข้อ 1 และ 2 รวมทั้งนาผลจากการวิจัยในระยะที่ 1 คือการศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นาทางวิชาการและตัวบ่งชี้ ไปเป็นพื้นฐานใน การกาหนดเนื้อหาของหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ และนาผลการศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการ ไปกาหนดเป็นหลักการ และกระบวนพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ (ขั้นการจัดกระบวนการพัฒนา) ของรูปแบบ ซึ่ง เป็นผลจากการวิจัยในระยะที่ 1 4. นาเสนออาจารย์ที่ปรึกษาพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะรูปแบบการพัฒนา ภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบ ผสมผสานที่ยกร่างขึ้น 5. ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้ แบบผสมผสานที่ยกร่างขึ้น ตาม ข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษา ขั้นที่ 2 ประเมินรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสานที่ยกร่างขึ้น โดยการสนทนากลุ่ม (Focus group discussion) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่าง 1.1. กลุ่มตัวอย่างผู้ทรงคุณวุฒิ ในการสนทนากลุ่มจะคัดเลือกผู้เชี่ยวชาญซึ่ง ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี ด้านภาวะผู้นา ด้านการจัดการเรียนการสอน ผู้บริหารสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา ผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน และหัวหน้างานวิชาการ จานวนทั้งสิ้น 12 คน 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 2.1 เอกสารประกอบการสนทนากลุ่ม ซึ่งประกอบด้วยประเด็นสาคัญที่ให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินวิพากษ์และให้ ข้อเสนอแนะรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน ที่ยกร่างขึ้น 2.2 เทปบันทึกเสียงสาหรับใช้บันทึกเสียงการสนทนากลุ่ม 3. วิธีการ 3.1 ขั้นเตรียมการ
  • 5. 3.1.1 เตรียมเอกสารประกอบการสนทนากลุ่ม 3.1.2 ทาบทามผู้เชี่ยวชาญตามคุณสมบัติที่กาหนดไว้ 3.2 ขั้นดาเนินการ 3.2.1 ผู้วิจัยนาเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการ เรียนรู้แบบผสมผสาน ต่อที่ประชุม 3.2.2 ให้ผู้เชี่ยวชาญประเมิน วิพากษ์ให้ข้อเสนอแนะรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้ แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ 3.2.3 ในระหว่างที่ผู้ทรงคุณวุฒิประเมิน วิพากษ์ให้ข้อเสนอแนะ ผู้ช่วยวิจัย 1 คน ได้ดาเนินการจดบันทึก ประเด็นต่าง ๆ และมีการบันทึกเทปพร้อมกันด้วย 3.3 ขั้นสรุป 3.3.1 หลังเสร็จสิ้นการสนทนากลุ่มจะนาเสียงที่บันทึกจากเทปมาถอดความรายละเอียดทั้งหมดเป็นตัวอักษร ตามบทสนทนา เปรียบเทียบกับการจดบันทึก เพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง 3.3.2 ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน ตาม ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลผลการสนทนากลุ่ม โดยวิธีอุปนัย (Inductive analysis) ขั้นที่ 3 พัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่าง 1.1 กลุ่มตัวอย่างผู้เชี่ยวชาญ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทาหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพของระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน และเครื่องมือที่สนับสนุน จานวน 11 คน เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี จานวน 4 คน ด้านภาวะผู้นา จานวน 3 คน ด้านการจัดการเรียนการสอน จานวน 4 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานขั้นต้น จานวน 3 คน ประกอบด้วย ผู้อานวยการ โรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน และหัวหน้างานวิชาการโรงเรียน ตาแหน่งละ 1 คน ที่ได้มาจากการเลือกแบบ เจาะจง พิจารณาความเหมาะสมของระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานที่พัฒนาขึ้น โดยมีหลักเกณฑ์ในการเลือก กลุ่มตัวอย่างดังนี้ 1.2.1 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน และหัวหน้างานวิชาการโรงเรียน 1.2.2 มีความรู้ความสามารถพื้นฐานในการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้นในด้านต่อไปนี้ 1. ทักษะการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ 2. การใช้กระดานสนทนา 3. การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 4. ทักษะอื่น ๆ ที่จาเป็นในการเรียนรู้ผ่านออนไลน์
  • 6. 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. หลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ 2. แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน 3. คู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน 4. ห้องเรียนออนไลน์ 5. แบบประเมินหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ 6. แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ 7. แบบประเมินคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน 8. แบบประเมินห้องเรียนออนไลน์ 9. แบบสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง สาหรับใช้สังเกตการทดลองใช้ ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานขั้นต้น 10. แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างสาหรับใช้สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างที่ เข้าร่วมในการทดลองใช้ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานขั้นต้น การพัฒนาเครื่องมือวิจัยซึ่งเป็นเครื่องมือสนับสนุนระบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน ตามรูปแบบที่สร้างขึ้น มีวิธีการและ ขั้นตอน ดังนี้ 1. หลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการจัดการเรียนรู้และคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน มี ขั้นตอนการสร้าง ดังนี้ 1.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการสร้างหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้และคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน 1.2 สร้างหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการจัดการ เรียนรู้ และคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน 1.3 ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความเหมาะสมของหลักสูตรการพัฒนา ภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการ จัดการเรียนรู้ และคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผมผสาน 1.4 ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการ จัดการเรียนรู้ และคู่มือประกอบการ เรียนรู้แบบผสมผสาน ตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษา 1.5 ให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน ประเมินและให้ข้อเสนอแนะ หลักสูตร การพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการจัดการเรียนรู้ และคู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน ตามแบบประเมินที่สร้างขึ้น 1.6 ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการ จัดการเรียนรู้ และคู่มือประกอบการ เรียนรู้แบบผสมผสาน ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
  • 7. 2 แบบประเมินหลักสูตรแผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียน ออนไลน์มีขั้นตอนการสร้าง ดังนี้ 2.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการสร้างแบบประเมินหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการเรียนรู้ แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียนออนไลน์ 2.2 สร้างแบบประเมินหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการ จัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการ เรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียนออนไลน์ 2.3 ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความเหมาะสมของแบบประเมินหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทาง วิชาการ แผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียนออนไลน์ 2.4 ปรับปรุงแก้ไขแบบประเมินหลักสูตรภาวะผู้นาทางวิชาการ แผนการ จัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการ เรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียนออนไลน์ตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษา 2.5 ให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 คน ประเมินและให้ข้อเสนอแนะของแบบ ประเมินหลักสูตรการพัฒนาภาวะ ผู้นาทางวิชาการ แผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียน ออนไลน์ 2.6 ปรับปรุงแก้ไขแบบประเมินหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการแผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือ ประกอบการเรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบประเมินห้องเรียนออนไลน์ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ 3. ห้องเรียนออนไลน์ 3.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับระบบการจัดการเรียนรู้บนเว็บ (Learning Management System: LMS) เพื่อเป็น ข้อมูลพื้นฐานในการสร้างห้องเรียนออนไลน์ 3.2 สร้างห้องเรียนออนไลน์ตามรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดย ใช้ระบบการจัดการเรียนรู้บนเว็บ (Learning Management System: LMS) 3.3ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความเหมาะสมของห้องเรียนออนไลน์ ที่สร้างขึ้นตามรูปแบบการเรียนรู้ แบบผสมผสาน 3.4 ปรับปรุงแก้ไขห้องเรียนออนไลน์ที่สร้างขึ้นตามรูปแบบการเรียนรู้ แบบผสมผสาน ตามข้อเสนอแนะ ของอาจารย์ที่ปรึกษา 3.5 ให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 คน ประเมินและให้ข้อเสนอแนะของ ห้องเรียนออนไลน์ ตามแบบประเมินที่ สร้างขึ้น 3.6 ปรับปรุงแก้ไขห้องเรียนออนไลน์ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ 3. วิธีการพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ผู้วิจัยได้ศึกษากระบวนการออกแบบสาหรับการเรียนรู้แบบ ผสมผสานของ Curtis J. Bonk และ Charles R. Graham (2006) ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนแบบผสมผสานของ Alvarez (2005) ปัจจัยที่ควรคานึงในการออกแบบระบบการเรียนการสอนแบผสมผสานให้ประสบความสาเร็จของ Singh และ Reed (2001) การออกแบบระบบการเรียนการสอนตาม ADDIE Model (วิชชุดา รัตนเพียร, 2548) และ
  • 8. นามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยมีขั้นตอนและวิธีการ ดังนี้ 3.1 ขั้นการวิเคราะห์และการวางแผน (Analysis and planning) เป็นการวิเคราะห์เนื้อหา กิจกรรม ขั้นตอน วิธีการ กระบวนการ เพื่อกาหนดรายละเอียดต่าง ๆ สาหรับสร้างระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือที่ สนับสนุน ตามรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนที่ กาหนดขึ้น 3.2 ขั้นการออกแบบ (Design) เป็นการออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือที่สนับสนุน โดยการการออกแบบเนื้อหา กิจกรรม ขั้นตอน วิธีการ กระบวนการ ตามรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่าน การเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนที่กาหนดขึ้น 3.3 ขั้นการพัฒนา (Development) เป็นการพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือสนับสนุน ตามรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียนที่กาหนดขึ้น โดย มีขั้นตอน ดังนี้ 1) นาระบบการจัดการเรียนรู้แบบแบบผสมผสานและเครื่องมือสนับสนุนที่พัฒนาขึ้น ตามรูปแบบการพัฒนา ภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน สาหรับผู้บริหารโรงเรียน เสนอผู้เชี่ยวชาญ จานวน 11 คน เพื่อ พิจารณาตรวจสอบคุณภาพความเหมาะสมและให้ข้อเสนอแนะ 2) ปรับปรุงแก้ไขระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือ สนับสนุน ตามผลการประเมินและ ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ 3.4 ขั้นการนาไปใช้(Implementation) เป็นการนาระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือ สนับสนุนที่ปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญไปทดลองใช้ขั้นต้นกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 6 คน 3.5 ขั้นประเมินผล (Evaluation) เป็นการวัดและประเมินผลระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและ เครื่องมือสนับสนุน โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1) ขณะดาเนินการทดลองใช้ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือสนับสนุนกับ กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยทาการสังเกต สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ได้ข้อมูลสาหรับการปรับปรุงระบบการ จัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือสนับสนุนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 2) ปรับปรุงระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและเครื่องมือสนับสนุนตามผลการทดลองใช้ ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานขั้นต้น 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 การวิเคราะห์ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลเชิงปริมาณ วิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและแปลผลการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิง คุณภาพ วิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) 4.2 การวิเคราะห์ผลการทดลองใช้ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ข้อมูลจากการสังเกตและการสัมภาษณ์ในการทดลองใช้ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานขั้นต้น วิเคราะห์โดยวิธีอุปนัย (Inductive analysis)
  • 9. ขั้นที่ 4 นาเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสานสาหรับผู้บริหารโรงเรียน สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ชื่อวิจัย การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้เป็นทีม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ผู้วิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิวรรธน์ จันทร์เทพย์ มรภ.หมู่บ้านจอมบึง บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและนาเสนอรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็น ทีม เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ 2) ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อ การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ 3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ ร่วมกันเป็นทีม เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ วิธีดาเนินการวิจัยมี 5 ขั้นคือ (1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการ (2) การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือในการ วิจัย (3) การทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (4) การประเมินการใช้รูปแบบการเรียนรู้ แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (5) การรับรองรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้น ค.บ. ปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา จานวน 30 คน ซึ่งศึกษา รายวิชาการสร้างสื่อการเรียนการสอน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 โดยใช้รูปแบบและเครื่องมือในการวิจัยที่ผู้วิจัยได้ พัฒนาขึ้น ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ มี 2 ส่วนคือ 1) องค์ประกอบโครงสร้างของรูปแบบ ได้แก่ การวิเคราะห์ การเรียนการสอน และการประเมินผล 2) กระบวนการเรียนการสอน ดาเนินกิจกรรมในห้องเรียนปกติ 5 ครั้ง 15 ชั่วโมง บนเว็บ 5 ครั้ง ไม่จากัดเวลา รวมทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นก่อนการเรียนการสอน ได้แก่ การลงทะเบียน การทดสอบก่อนเรียน การปฐมนิเทศ การทดลองใช้เครื่องมือ การแบ่งกลุ่ม ผู้เรียน กิจกรรมกระบวนการกลุ่ม การสมัครใช้โปรแกรม การสนทนาและการอภิปราย ขั้นการเรียนการสอน ได้แก่ การเข้าสู่การ เรียนโดยใช้สื่อมัลติมีเดีย การศึกษาเอกสาร การค้นหาบนเครือข่ายและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล การทาแบบฝึกหัด การสรุปเนื้อหา การออกแบบสื่อ และการวางแผนนาเสนอขั้นสรุปการเรียนการสอน ได้แก่ การสนทนาและอภิปรายการปฏิบัติการสร้างสื่อ การ นาเสนอผลงาน และการทดสอบหลังเรียน 2. ผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการสร้างสื่อการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์สูงขึ้นกว่าก่อน การทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ค่าประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้อยู่ในเกณฑ์80 / 80 กลุ่มตัวอย่างมีการ แสดงออกในการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมในระดับมาก และมีความเห็นว่ารูปแบบการเรียนรู้มีความเหมาะสมในระดับมาก 3. ผลการประเมินรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ โดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า องค์ประกอบและกิจกรรมของรูปแบบการเรียนรู้มีความเหมาะสมในระดับมาก
  • 10. ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้แบ่งการดาเนินงานออกเป็น 5 ตอน ดังนี้ ตอนที่1 วิจัย (Research 1 : R1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐานสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการ ขั้นที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน เอกสาร แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบผสมผสาน การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการ คิดวิเคราะห์ ขั้นที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ โดยการสัมภาษณ์ผู้บริหารและการใช้แบบสอบถามอาจารย์ ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อสร้างเครื่องมือในการวิจัย ตอนที่2 พัฒนา (Development 1 : D1) การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือในการวิจัย ขั้นที่ 1 การสร้างโครงร่างรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานและรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 2 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามตามแบบทดสอบและแบบประเมินที่ใช้ในการวิจัย ตอนที่3 วิจัย (Research 2 : R2) การทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน การใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์กับกลุ่ม ตัวอย่างในการทดลองได้แก่นักศึกษาชั้น ค.บ. 2 วิชาเอกคอมพิวเตอร์ศึกษา ซึ่งได้มาด้วยวิธีการเจาะจง (purposive sampling)โดย จัดการเรียนรู้เป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ขั้นก่อนการเรียนรู้ การเตรียม การลงทะเบียน การปฐมนิเทศ การทดสอบก่อนเรียน ขั้นที่ 2 ขั้นการเรียนรู้บทเรียน เรียนรู้บทเรียนวิชาการสร้างสื่อการเรียนการสอน เรื่องที่ 1-5 การทดสอบระหว่างเรียน ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป แต่ละทีมสรุปเนื้อหาบทเรียนและนาเสนอ, การทดสอบหลังเรียน ตอนที่4 พัฒนา(Development 2 : D2) การประเมินการใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน ขั้นที่ 1 เปรียบเทียบผลการเรียนรู้แบบผสมผสานก่อนเรียนและหลังการเรียน ใช้t-test ขั้นที่ 2 นาเสนอผู้เชี่ยวชาญพิจารณาและผู้วิจัยปรับปรุงแก้ไขตามข้อแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ ตอนที่5 การรับรองรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน ผู้วิจัยนาผลงานเสนอผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมเพื่อ พัฒนาการคิดวิเคราะห์ และการเผยแพร่รูปแบบพร้อมเงื่อนไขการใช้งาน