Anúncio
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Anúncio

Último(20)

MT Level II training

  1. 1 Magnetic Particle Testing Level 2
  2. 2 1. วัตถุประสงค์ 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร 3. การทดสอบด้วยสนามแม่เหล็ก 4. หลักการเกิดสนามแม่เหล็ก 5. Magnetic Hysteresis Loop 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก 7. ชนิดของกระแสไฟฟ้า 8. การนาสนามแม่เหล็กคงค้างออก 9. อนุภาคแม่เหล็ก สารบัญ 10. เทคนิคการทดสอบ 11. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ 12. ขั้นตอนการทดสอบ 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ ต่อเนื่อง
  3. 3 1. วัตถุประสงค์  สามารถทาการทดสอบโดยไม่ทาลายโดยวิธี อนุภาคแม่เหล็กได้  สามารถระบุความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นบน ชิ้นงานได้  สามารถนาสิ่งบ่งชี้ที่เกิดขึ้นจากการทาสอบ เปรียบเทียบกับมาตรฐานต่างๆที่ถูกกาหนดได้
  4. 4 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร ASNT (American Society for Nondestructive Testing) มีเอกสารชื่อ “Recommended Practice No. SNT-TC-1A” เป็นเอกสารที่ให้แนวทางที่จาเป็นแก่ “ผู้ว่าจ้าง” (Employer )ในการกาหนดคุณสมบัติและออก ใบรับรองให้กับพนักงานที่ทางานด้านการ ทดสอบโดยไม่ทาลาย
  5. 5 “ผู้ว่าจ้าง” (Employer) ต้องมี เอกสารที่เป็น Written Practice ที่ มีรายละเอียดเกี่ยวกับการกาหนด คุณสมบัติ, อบรม, สอบ, และ รับรอง พนักงานทดสอบ 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
  6. 6 การรับรองบุคลากรด้าน NDT เป็นความรับ ผิดชอบของ “ผู้ว่าจ้าง” (Employer) ตามปกติ จะมี 3 ระดับดังนี้  ระดับ 1 ( Level I )  ระดับ 2 ( Level II )  ระดับ 3 ( Level III ) 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
  7. 7  ทาการสอบเทียบเครื่องมือ, ทดสอบ, และ ประเมินผลตามวิธีการที่กาหนดไว้ใน “คาสั่ง ปฏิบัติงาน” (Working Instruction) ได้  ทางานภายใต้การดูแลของ NDT ระดับ 2 และระดับ 3 ระดับ 1 ( Level I ) 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
  8. 8  ทาการตั้ง (Setup), และ คาลิเบรทเครื่องได้  ตีความและประเมินผล ตาม Code, Standard, และ Specification ได้  สามารถเตรียม “คาสั่งปฏิบัติงาน” และ รายงานผลการทดสอบได้ ระดับ 2 ( Level II ) 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
  9. 9 ระดับ 3 ( Level III )  จัดตั้งเทคนิคการทดสอบ, ตีความ Code และ ออกแบบวิธีการและเทคนิคการทดสอบได้  มีความรู้ในเรื่องเทคโนโลยี NDT และคุ้นเคย กับวิธีการทดสอบของ NDT พื้นฐานอื่นๆ 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
  10. 10 บุคลากรด้าน NDT ระดับ 1 (Level I) และ ระดับ 2 (Level II) ต้องทา การสอบวัดผล ใน 3 ส่วน ต่อไปนี้ General Examination Specific Examination Practice Examination โดยอยู่ภายใต้การดูแลของบุคลากรด้าน NDT ระดับ 3 (Level III) ที่ อาจจะเป็นพนักงานของบริษัทหรือว่าจ้างจากภายนอกก็ได้ 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
  11. 11 บุคลากรที่ได้รับการรับรองเรื่องการทดสอบโดยวิธีอนุภาคแม่เหล็ก ระดับ 2 ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ ต้องผ่านการตรวจสายตาในเรื่องความสามารถในการมองเห็นและตาบอดสี ต้องได้รับการฝึกอบรมตาม Written Practice ของบริษัท เป็นระยะเวลาไม่น้อย กว่า 20 ชั่วโมง และผ่านการทดสอบในหัวข้อดังต่อไปนี้ มีชั่วโมงการทางานในเรื่องการทดสอบโดยวิธีอนุภาคแม่เหล็กไม่น้อยกว่า 280 ชั่วโมง ลาดับ รายละเอียด คะแนนต่าสุด ( % ) คะแนนรวมต่าสุด ( % ) 1 เนื้อหาในเรื่องทฤษฎีทั่วไป 70 802 เนื้อหาเฉพาะด้าน 70 3 ภาคปฏิบัติ 70 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
  12. 12 การตรวจสายตาในเรื่องความแม่นยาของสายตา โดยอ่านตัวหนังสือ Jaeger 2 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
  13. 13 การตรวจตาบอดสีโดยใช้ ISHIHARA CHART 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
  14. 14 การตรวจตาบอดสีโทนขาวและดา 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
  15. 15 ข้อกาหนดการฝึกอบรมและประสบการณ์สาหรับบุคลากรที่ทาการทดสอบโดยไม่ทาลาย 2. คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
  16. 16 3. หลักการการทดสอบด้วยสนามแม่เหล็ก
  17. 17 เหนี่ยวนาให้ชิ้นงานเกิดสนามแม่เหล็กโดยการส่งสนามแม่เหล็กผ่านเข้า ไปที่ชิ้นงาน ถ้ามีความไม่ต่อเนื่องที่ผิวหรือใต้ผิวเล็กน้อยจะเกิด “สนามแม่เหล็กรั่ว” (Magnetic Flux Leakage) ที่บริเวณความไม่ต่อเนื่อง เมื่อให้ผงเหล็กลงไปที่บริเวณที่เกิดสนามแม่เหล็กรั่ว ผงเหล็กจะถูก “สนามแม่เหล็กรั่ว” ดูดผงเหล็กไปรวมกัน ทาให้มองเห็นความไม่ ต่อเนื่องได้ง่ายด้วยตาเปล่า 3. หลักการการทดสอบด้วยสนามแม่เหล็ก
  18. 18 3. หลักการการทดสอบด้วยสนามแม่เหล็ก
  19. 19 ข้อจากัด ต้องทดสอบกับวัสดุที่สามารถเหนี่ยวนาให้เป็นแม่เหล็กได้เท่านั้น เช่น Carbon Steel, Low Alloy ฯลฯ ไม่สามารถตรวจหาความไม่ต่อเนื่องที่อยู่ลึกใต้ผิวไปมาก ๆ ไม่สามารถตรวจหาความไม่ต่อเนื่องที่วางตัวขนานตามแนวเส้น แรงแม่เหล็ก ความไม่ต่อเนื่องที่สามารถตรวจพบได้ต้องมีทิศทางตั้งฉาก หรือ ทามุม 45 องศากับเส้นแรงแม่เหล็ก 3. หลักการการทดสอบด้วยสนามแม่เหล็ก
  20. 20 สามารถแบ่งวัสดุแม่เหล็กออกเป็น 3 กลุ่มคือ Diamagnetic Material - สามารถทาให้เป็นแม่เหล็กได้ถ้าเหนี่ยวนา ด้วยสนามแม่เหล็กที่มีความแรงสูงมากๆ แต่ให้เส้นแรงแม่เหล็กออกมา น้อย (มีแรงผลักอ่อน ๆ) เช่น ปรอท, ทอง, บิสมัส และซิงค์ Paramagnetic Material - สามารถทาให้เป็นแม่เหล็กได้ถ้าเหนี่ยวนา ด้วยสนามแม่เหล็กที่มีความแรงสูงมากๆ แต่ให้เส้นแรงแม่เหล็กออกมา น้อย (มีแรงดึงดูดอ่อน) เช่น อลูมิเนียม, แพลทินัม, ทองแดง และไม้ Ferromagnetic Material - ทาให้เป็นแม่เหล็กได้ง่าย โดยใช้สนาม แม่เหล็กมีความแรงไม่ต้องสูง แต่จะให้เส้นแรงออกมามาก เช่น เหล็ก, โคบอล, นิกเกิล 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  21. 21 โดเมนแม่เหล็ก (magnetic domain) วัสดุที่สามารถเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กได้ ประกอบด้วยอะตอมที่อยู่ รวมกันเป็นกลุ่มซึ่งเรียกว่า “โดเมนแม่เหล็ก” (magnetic domain) โดเมนเหล่านี้จะมีขั้วบวกและลบอยู่ในทิศตรงกันข้าม วัสดุก่อนถูกเหนี่ยวนาให้เป็นแม่เหล็กจะมีการเรียงตัวของโดเมนอย่างไม่เป็น ระเบียบ ทาให้เกิดการหักล้างกันและไม่ส่งผลการเป็นอานาจแม่เหล็ก เมื่อวัสดุนั้นถูกเหนี่ยวนาโดยสนามแม่เหล็กภายนอก ขั้วของโดเมนจะมีการ วางตัวขนานกับสนามแม่เหล็กที่กระทาจากภายนอก Unmagnetized material Magnetized material 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  22. 22 โดเมนแม่เหล็ก (magnetic domain) 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  23. 23 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  24. 24 ขั้วของแม่เหล็ก (Magnetic poles) ความสามารถในการดูดหรือผลักนั้นจะมีความรุนแรงไม่เท่ากัน จะมากตรง บริเวณขั้วทั้งสองขั้วคือ ขั้วเหนือและขั้วใต้ถ้านาแผ่นกระดาษวางไว้บนแท่ง แม่เหล็กและโรยผงแม่เหล็กลงบนกระดาษ จะปรากฏเป็นเส้นแรงแม่เหล็กดัง รูปด้านล่าง เส้นแรงแม่เหล็กรอบแท่งแม่เหล็ก แรงดึงดูดของขั้วแม่เหล็กตรงข้ามกัน แรงผลักของขั้วแม่เหล็กเหมือนกัน 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  25. 25 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  26. 26 คุณสมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก  เส้นแรงแม่เหล็กจะเป็นเส้นต่อเนื่องไม่ขาดช่วง  แนวของเส้นแรงแม่เหล็กในแต่ละแนวจะไม่ตัดกัน  เส้นแรงภายนอกแท่งแม่เหล็กจะมีทิศทางจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ และภายในแท่งแม่เหล็กจะมีทิศทางจากขั้วใต้ไปยังขั้วเหนือ  ความเข้มของเส้นแรงแม่เหล็กจะเข้มข้นที่สุดบริเวณขั้วแม่เหล็กและ จะลดลงที่ระยะห่างจากขั้ว  เส้นแรงแม่เหล็กจะเลือกแนวที่มีความต้านทานแม่เหล็กต่าที่สุดเพื่อ ทาให้แม่เหล็กครบวงจร 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  27. 27 ลักษณะของเส้นแรงแม่เหล็ก แท่งแม่เหล็กถาวรรูป Bar แท่งแม่เหล็กถาวรรูปเกือกม้า ( Horseshoe ) 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  28. 28 ประเภทของแม่เหล็ก ไม่ต้องใช้ไฟฟ้า เพราะมีความเป็นแม่เหล็กในตัวแท่งเหล็กเองอยู่แล้ว 1. แม่เหล็กถาวร 2. แม่เหล็กไฟฟ้า ปกติแท่งเหล็กจะไม่มีความเป็นแม่เหล็กอยู่เลย แต่เมื่อให้กระแสผ่านขดลวด ที่พันรอบแท่งเหล็ก จะทาให้แท่งเหล็กนั้นกลายเป็นแม่เหล็กชั่วคราว เมื่อหยุดให้กระแสไฟฟ้า แท่งเหล็กจะไม่มีสภาพความเป็นแม่เหล็กอีกต่อไป แท่งแม่เหล็กถาวร แท่งแม่เหล็กไฟฟ้า 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  29. 29 แม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อมีกระแสไฟฟ้าวิ่งผ่านเส้นลวดจะเกิดสนามแม่เหล็ก ออกมารอบๆ เส้นลวดนั้น ในทิศทางตั้งฉากกับทิศทาง ของ กระแสไฟฟ้า (แกนเส้นลวด) ทิศทางของสนามแม่เหล็กสามารถหาได้จาก “กฎมือขวา” เอานิ้วหัวแม่มือของมือขวาชี้ไปตามทิศทางของกระแส ไฟฟ้า แล้วทิศทางของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะมีทิศไป ตามปลายนิ้วทั้งสี่ 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  30. 30 กฏมือขวา 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  31. 31 สนามแม่เหล็กรั่ว (Flux Leakage) เกิดจากเส้นแรงแม่เหล็ก ที่วิ่งอยู่ที่ผิวไปเจอ ความไม่ต่อเนื่องที่ผิวหรือใต้ผิวเล็กน้อย จะ หาทางข้ามไปให้ได้ ทั้งมุดลง อ้อม หรือ กระโดดข้าม และที่กระโดดข้ามจนพ้นผิว งานเราเรียกว่า “สนามแม่เหล็กรั่ว (Flux Leakage)” 4. หลักการการเกิดสนามแม่เหล็ก
  32. 32 คุณสมบัติทางแม่เหล็กส่วนใหญ่สามารถอธิบายได้โดยใช้เส้นโค้ง ฮีสเทอรีซีสแม่เหล็ก ซึ่งสามารถหาได้โดยการวางแท่งเฟอโรแมก เนติก (Ferromagnetic) ไว้ในขดลวด และปล่อยไฟฟ้ากระแสสลับ ลงในขดลวด เมื่อทาการเพิ่มสนามแม่เหล็ก (Magnetic field strength: H) ขึ้นทีละน้อย และทาการวัดความหนาแน่นของฟลักซ์ (Flux density: B) ก็จะสามารถสร้างกราฟความสัมพันธ์ ระหว่าง ปริมาณของสนามแม่เหล็กกับความหนาแน่นของฟลักซ์ได้ 5. Magnetic Hysteresis
  33. 33 Hysteresis Loop 5. Magnetic Hysteresis
  34. 34 เมื่อเพิ่มแรงที่ใช้ในการเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็ก “H” แล้วค่าความหนาแน่น ของเส้นแรงแม่เหล็ก “B” ก็จะเพิ่มขึ้นตามไปเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงจุดอิ่มตัว โดยที่เส้นประจาก o – a แสดงค่าหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กสูงสุดจากจุดเริ่มต้น เส้นแรงแม่เหล็กในวัสดุจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงแรก หลังจากนั้นอัตราการ เพิ่มขึ้นของเส้นแรงแม่เหล็กในวัสดุจะค่อยๆ ช้าลง จนกระทั่งถึงจุดอิ่มตัว 0 5. Magnetic Hysteresis
  35. 35 เมื่อลดแรงที่ใช้ในการเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็ก “H” ลงจนเท่ากับศูนย์(จาก จุด a ไปจุด b) ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กจะค่อยๆลดลง แต่ไม่เท่ากับ ศูนย์แต่จะมีปริมาณสนามแม่เหล็กคงค้าง (Residual magnetism) คุณสมบัติของเหล็กคาร์บอนที่สามารถเก็บสนามแม่เหล็กคงค้างไว้ได้เรียกว่า “ Retentivity ” ดังรูป ( o – b ) saturation point 5. Magnetic Hysteresis
  36. 36 เมื่อกลับทิศทางในการให้แรงที่ใช้ในการเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็ก “H” ทา ให้ค่าความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก“B” ค่อยๆลดลงตาม จนกระทั่งเป็นศูนย์ ที่จุด C ดังรูป แรงที่ใช้ในการเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็ก “H” ในทิศทางตรงกันข้ามเพื่อเอา สนามแม่เหล็กคงค้างออกจากวัสดุ เรียกว่า “ Coercive Force ” 5. Magnetic Hysteresis
  37. 37 เมื่อแรงที่ใช้ในการเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กในทิศทางตรงกันข้ามเพิ่มขึ้นจนกระทั่งถึง จุด d ค่าความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กก็จะเพิ่มขึ้นจนถึงจุดอิ่มตัวในทิศทางตรงกันข้าม ดังรูป ดังนั้นที่จุด e ในรูปจะแสดงสนามแม่เหล็กค้งค้างในทิศทางตรงกันข้ามนั่นเอง 5. Magnetic Hysteresis
  38. 38 แรงที่ต้องการในการล้างสนามแม่เหล็กคงค้างออกไประหว่างจุด o และ f เรียกว่า “ Coercive force ” เส้นที่ลากต่อระหว่างจุด a, b, c, d, d, e, f เรียกว่าวงจร Hysteresis 5. Magnetic Hysteresis
  39. 39 วัสดุที่มี Hysteresisloop ที่กว้างบ่งบอกถึง การเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กได้ยาก (Low permeability) เก็บสนามแม่เหล็กคงค้างมาก (High Retentivity) วัสดุที่มี Hysteresis loop ลักษณะนี้คือ Hard steel วัสดุที่มี Hysteresisloop ที่แคบบ่งบอกถึง การเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กได้ง่าย (High permeability) เก็บสนามแม่เหล็กคงค้างน้อย (Low Retentivity) วัสดุที่มี Hysteresis loop ลักษณะนี้คือ Soft steel 5. Magnetic Hysteresis
  40. 40 Hard steel มีรูปกราฟ Hysteresis loop ที่กว้างทาให้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ Permeability ต่า - เหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กได้ยาก Retentivity สูง - เก็บสนามแม่เหล็กคงค้างได้มาก Coercive force สูง – ต้องการแรงในการเหนี่ยวเพื่อเอาสนามแม่เหล็กคงค้างออกสูง Reluctance สูง – ค่าความต้านทานแรงที่ใช้ในการเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กสูง Residual magnetism สูง – สนามแม่เหล็กคงค้างที่เก็บได้มีความแรงสูง 5. Magnetic Hysteresis
  41. 41 Soft steel มีรูปกราฟ Hysteresis loop ที่แคบทาให้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ Permeability สูง - เหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กได้ง่าย Retentivity ต่า - เก็บสนามแม่เหล็กคงค้างได้น้อย Coercive force ต่า – ต้องการแรงในการเหนี่ยวเพื่อเอาสนามแม่เหล็กคงค้างออกต่า Reluctance ต่า – ค่าความต้านทานแรงที่ใช้ในการเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กต่า Residual magnetism ต่า – สนามแม่เหล็กคงค้างที่เก็บได้ที่มีความแรงต่า 5. Magnetic Hysteresis
  42. 42 Hysteresis loop บางครั้งใช้ในการอธิบายถึงการเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็ก หรือการล้างสนามแม่เหล็กคงค้างออกด้วยกระแสสลับ (AC) เมื่อกระแสที่ใช้มี การกลับขั้วบวกและขั้วลบแบบปรับได้หรืออัตโนมัติ Demagnetization Flux-Curve Projected from Hysteresis Curve 5. Magnetic Hysteresis
  43. 43 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก เราสามารถแบ่งสนามแม่เหล็กตามลักษณะของทิศทางสนามแม่เหล็กได้ 2 อย่างดังนี้ สนามแม่เหล็กแบบวงกลม (Circular Magnetization) สร้างได้จากอุปกรณ์ 3 อย่างดังนี้ 1. Head Shot 2. Prod 3. Central Conductor สนามแม่เหล็กแบบตามยาว (Longitudinal Magnetization) สร้างได้จาก อุปกรณ์ 2 อย่างดังนี้ 1. Coil (Solenoid) 2. Yoke
  44. 44 1. Head Shot (Circular Magnetization) เราผ่านกระแสไฟฟ้าไปในชิ้นงานโดยตรงและเกิดสนามแม่เหล็กตามเส้น รอบวงดังรูป 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  45. 45 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  46. 46 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  47. 47 2. Prod (Circular Magnetization) ผ่านกระแสไฟฟ้าไปในชิ้นงานโดยตรงและเกิดสนามแม่เหล็กตาม เส้นรอบวงดังรูป 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  48. 48 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  49. 49 3. Central Conductor (Circular Magnetization) ผ่านกระแสไฟฟ้าผ่านตัวนาไฟฟ้าและทาให้เกิดสนามแม่เหล็กตาม เส้นรอบวงที่ชิ้นงานดังรูป 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  50. 50 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  51. 51 1. Coil (Longitudinal Magnetization) ปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวด และทาให้เกิดสนามแม่เหล็กตามยาว ที่ชิ้นงานดังรูป 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  52. 52 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  53. 53 2. Yoke (Longitudinal Magnetization) ปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวด และทาให้เกิดสนามแม่เหล็กตามยาว ที่ชิ้นงานดังรูป 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  54. 54 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  55. 55 11. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ (Yoke Technique)
  56. 56  AC Yoke  DC Yoke  Permanent Yoke ชนิดของ Yoke แบ่งออกเป็น 3 แบบดังนี้ 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  57. 57 ทิศทางระหว่างสนามแม่เหล็กและความไม่ต่อเนื่อง สนามแม่เหล็กตามเส้นรอบวง (Circular magnetization) 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  58. 58 ทิศทางระหว่างสนามแม่เหล็กและความไม่ต่อเนื่อง สนามแม่เหล็กตามยาว (Longitudinal magnetization) 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  59. 59 สรุป สนามแม่เหล็กตามเส้นรอบวง (Circular Magnetization) Head Shot Prod Central Conductor สนามแม่เหล็กตามยาว (Longitudinal Magnetization) Coil Yoke 6. ชนิดของสนามแม่เหล็ก
  60. 60 1. ไฟฟ้ากระแสสลับ ( Alternating Current , AC ) 2. ไฟฟ้ากระแสตรง ( Direct Current , DC ) 3. กระแสไฟฟ้าแบบ Half Wave Direct Current ( HWDC ) กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการทดสอบด้วยอนุภาคแม่เหล็กมีดังนี้ 7. ชนิดของกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการทดสอบ
  61. 61 ไฟฟ้ากระแสสลับ ( Alternating Current , AC ) นิยมใช้ในการทดสอบอย่างแพร่หลายในการตรวจหาความไม่ต่อเนื่องที่ผิว สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นมีพลังงานในการซึมลึกใต้ผิวชิ้นงานต่า ดังนั้นจึงไม่ สามารถตรวจหาความไม่ต่อเนื่องใต้ผิวได้ จากการที่กระแสไฟฟ้าสลับมีการกลับทิศทางตลอดเวลา ทาให้ผงแม่เหล็กเกิด การสั่นขณะที่ทดสอบ ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ผงแม่เหล็กสามารถเคลื่อนที่ไปยัง ความไม่ต่อเนื่องได้ง่าย “Skin Effect” 7. ชนิดของกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการทดสอบ
  62. 62 ไฟฟ้ากระแสตรง ( Diret Current , DC ) ใช้แบตเตอรี่แบบเปียกเป็นตัวจ่ายกระแสตรงที่สม่าเสมอในการ เหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็ก ข้อดีของการเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กแบบนี้คือความสามารถ ในการตรวจหาความไม่ต่อเนื่องที่อยู่ใต้ผิวได้ดี (Sub-surface) เนื่องจากความสามารถในการซึมลึกของสนามแม่เหล็กสูง ขณะทาการทดสอบโดยใช้กระแสตรงนี้ผงแม่เหล็กผงแม่เหล็กจะ ไม่มีการเคลื่อนที่เหมือนกระแสสลับ ดังนั้นเทคนิคนี้จึงเหมาะใช้กับ การทดสอบโดยใช้ผงแม่เหล็กแบบเปียก 7. ชนิดของกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการทดสอบ
  63. 63 กระแสไฟฟ้าแบบ Half Wave Direct Current ( HWDC ) ใช้กระแสไฟ AC เฟสเดียวผ่านเข้าไปใน Rectifier ทาให้เกิด Half Wave Direct Current ( HWDC ) ดังรูปด้านล่าง HWDC มีคุณสมบัติในการซึมลึกของการเหนี่ยวนาให้สนามแม่เหล็กได้ดีและทาให้ผง แม่เหล็กเกิดการสั่น ( Pulsing ) และเคลื่อนที่ได้ดีในขณะทาการทดสอบ ในการทดสอบโดยใช้ HWDC เพื่อหารอยแตกที่ผิว (Surface Crack) จะใช้ผงแม่เหล็ก แบบเปียกในการทดสอบ ในการทดสอบโดยใช้ HWDC เพื่อหารอยแตกใต้ผิว (Sub-surface Crack) จะใช้ผง แม่เหล็กแบบแห้งในการทดสอบ เป็นวิธีการที่หารอยแตกใต้ผิวได้ดีที่สุด 7. ชนิดของกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการทดสอบ
  64. 64 Ketos Ring 7. ชนิดของกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการทดสอบ
  65. 65 สาเหตุที่ต้องเอาสนามแม่เหล็กออกหลังจากที่ทดสอบมีดังนี้ สนามแม่เหล็กคงค้างมีผลต่อการทางานของอุปกรณ์อิเลคโทรนิคส์หรือมิเตอร์ ต่างๆ ชิ้นส่วนของอุปกรณ์ Rotation อาจเกิดการสึกหรอขณะทางานอันเนื่องจาก การเกาะของผงแม่เหล็ก ชิ้นงานที่จะต้องไปผ่านกระบวนการขึ้นรูป เช่น การกลึงและการไส เศษของ ชิ้นงานจะติดอยู่บนชิ้นงานซึ่งจะทาให้ชิ้นงานมีผิวไม่เรียบ สนามแม่เหล็กตกค้างมีผลต่อการเชื่อมไฟฟ้า คือมีการดูดติดของชิ้นงานกับไส้ ลวดเชื่อม อาจทาให้การเดินลวดไม่เป็นไปตามต้องการ 8. การนาสนามแม่เหล็กคงค้างออก (Demagnetization)
  66. 66 การพิจารณาสนามแม่เหล็กคงค้าง สนามแม่เหล็กคงค้างมีทิศทางเดียวกันกับสนามแม่เหล็กที่ใช้ในการเหนี่ยวนา สนามแม่เหล็กคงค้างจะมีความแรงน้อยกว่าสนามแม่เหล็กที่ใช้ในการเหนี่ยวนา เมื่อชิ้นงานมีการเหนี่ยวนาสนามแม่เหล็กมากกว่าหนึ่งทิศทาง สนามแม่เหล็กที่ ใช้ในการเหนี่ยวนาในครั้งที่สองต้องให้มากกว่าในครั้งแรก “ นั่นคือความแรงของสนามแม่เหล็กในครั้งที่สองต้องมากกว่าครั้งที่หนึ่ง” ในกรณีที่ความแรงของสนามแม่เหล็กในครั้งที่สองน้อยกว่าครั้งที่หนึ่ง ทิศทาง ของสนามแม่เหล็กคงค้างจะเป็นแบบผสมระหว่างสนามแม่เหล็กตามยาวและ ตามเส้นรอบวง 8. การนาสนามแม่เหล็กคงค้างออก (Demagnetization)
  67. เป็นการยากที่จะบอกว่าสนามแม่เหล็กคงค้างแบบเส้นรอบวงถูกเอาออกไปแล้ว เนื่องจากเส้นแรงแม่เหล็กไม่ออกจากชิ้นงาน ในทางตรงข้ามกัน เป็นการง่ายที่จะบอกว่าสนามแม่เหล็กคงค้างที่มีทิศทางตามยาว ยังคงอยู่หรือถูกนาออกไปแล้ว ดังนั้นในทางปฏิบัติ จะเลือกเหนี่ยวนาสนามแม่เหล็กตามยาว หลังจากเหนี่ยวนา สนามแม่เหล็กแบบวงกลม ทั้งนี้เพราะสนามแม่เหล็กตามยาวสามารถวัด สนามแม่เหล็กคงค้างได้นั่นเอง 8. การนาสนามแม่เหล็กคงค้างออก (Demagnetization)
  68. การกลับทิศทางสนามแม่เหล็กทาโดย วิธีการเหนี่ยวนาเพื่อเอาสนามแม่เหล็กคงค้างที่มีทิศทางตามยาวออก การกลับชิ้นงานในสนามแม่เหล็ก การกลับกระแสในขดลวด ( Coil ) การกลับทิศทางของขดลวด ( Coil ) เป็น 180 องศา การลดลงของสนามแม่เหล็กทาโดย ลดกระแสที่ใช้ในการเหนี่ยวนาสนามแม่เหล็กลง นาชิ้นงานเลื่อนที่ออกจากขดลวด ( Coil ) อย่างช้าๆ ขดลวด ( Coil ) เลื่อนที่ออกจาดชิ้นงานอย่างช้าๆ วิธีการเอาสนามแม่เหล็กคงค้างออกสามารถทาร่วมกันได้ระหว่างการกลับ ทิศทางสนามแม่เหล็กละการลดลงของสนามแม่เหล็ก 8. การนาสนามแม่เหล็กคงค้างออก (Demagnetization)
  69. 8. การนาสนามแม่เหล็กคงค้างออก (Demagnetization)
  70. 70 9. อนุภาคแม่เหล็ก (Magnetic Particle Medium) อนุภาคแม่เหล็กต้องมีคุณสมบัติที่สาคัญสองประการคือ 1. ค่า Permeability สูง - เพื่อตอบสนองต่อสนามแม่เหล็กที่รั่วออกมาเป็น อย่างดีที่สุด 2. ค่า Retentivity ต่า – สนามแม่เหล็กไม่คงค้างหลังจากที่เอาสนามแม่เหล็ก ออกไปแล้ว อนุภาคแม่เหล็กแบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ 1. แบบแห้ง (Dry) ปราศจากตัวพา 2. แบบเปียก (Wet) ต้องการตัวแขวนลอย เช่น น้า หรือในน้ามัน
  71. 71 9. อนุภาคแม่เหล็ก (Magnetic Particle Medium)
  72. 72 การเคลื่อนที่ของอนุภาคแม่เหล็กเพื่อรวมตัวกันให้เกิดสิ่งบ่งชี้ อนุภาคแม่เหล็กแบบแห้งเคลื่อนที่โดยใช้ลมเป่าเบาๆ ที่ผิวชิ้นงาน ทาให้ชิ้นงานสั่นขณะทดสอบเพื่อให้อนุภาคแม่เหล็กแบบแห้งเคลื่อนที่ ได้ง่ายขึ้น การตรวจสอบโดยใช้กระแสไฟสลับ (AC) จะช่วยให้อนุภาคแม่เหล็ก แบบแห้งและแบบเปียกเคลื่อนที่ได้ดี อนุภาคแม่เหล็กแบบเปียกจะเคลื่อนที่ได้ดีที่สุดเนื่องจากแขวนลอยอยู่ ในของเหลว 9. อนุภาคแม่เหล็ก (Magnetic Particle Medium)
  73. 73 9. อนุภาคแม่เหล็ก (Magnetic Particle Medium)
  74. 74 9. อนุภาคแม่เหล็ก (Magnetic Particle Medium)
  75. 75 ลักษณะของสีที่เคลือบอนุภาคแม่เหล็ก อนุภาคแม่เหล็กที่เคลือบด้วยสีเทา แดง และดา เพื่อให้สีตัดกับสีของ ผิวชิ้นงานให้มากที่สุดโดยดูได้จากแสงธรรมดา (Visible technique) อนุภาคแม่เหล็กที่เคลือบด้วยสารเรืองแสง (Fluorescent) เพื่อช่วยใน การมองเห็น แต่ต้องอาศัยไฟจาก Black light ในการดูและต้องทาใน ห้องมืด การตรวจสอบโดยใช้อนุภาคแม่เหล็กที่เคลือบด้วยสารเรืองแสง (Fluorescent) จะให้ความไว (Sensitivity) ในการตรวจสอบดีที่สุด 9. อนุภาคแม่เหล็ก (Magnetic Particle Medium)
  76. 76 แบบต่อเนื่อง (Continuous) คือการเติมอนุภาคแม่เหล็กในขณะที่ กาลังเหนี่ยวนาสนามแม่เหล็กให้กับชิ้นงาน แบบตกค้าง (Residual) คือการเติมอนุภาคแม่เหล็กในขณะที่หยุด ป้อนสนามแม่เหล็กกับชิ้นงานแล้ว จะใช้กับกรณีที่ชิ้นงานเป็นวัสดุที่ มีสนามแม่เหล็กตกค้างสูง เทคนิคในการทดสอบกับการเหนี่ยวนาให้เป็นแม่เหล็ก สามารถแบ่งได้ 2 แบบ คือ 10. เทคนิคการทดสอบ
  77. 77 11. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ (Yoke Technique) AC Yoke DC Yoke Permanent Yoke 1. Magnetic Yoke
  78. 78 2. Magnetic Ink , White Contrast Magnetic Ink (Visible Technique) Magnetic Ink (Fluorescent Technique) White Contrast (Visible Technique) 11. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ (Yoke Technique)
  79. 79 3. Lifting Weight Calibration Block 4. Pie-shaped Indicator  ใช้วัดความแรงของสนามแม่เหล็กในการดึงดูด วัตถุ  AC Yoke - 4.5 กก. หรือ 10 ปอนด์  DC Yoke และ Permanent Yoke - 18 กก. หรือ 40 ปอนด์  ใช้ตรวจวัดทิศทางและความแรงของสนามแม่เหล็ก 11. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ (Yoke Technique)
  80. 80 5. Black Light  จะเป็นเครื่องคล้ายโคมไฟที่ให้แสง “อุลตร้าไวโอเลต” ออกมา  ความยาวคลื่นที่ใช้ทดสอบชิ้นงานประมาณ 365 นาโนเมตร  ต้องมีกระจกกรองแสงไม่ให้มีแสงในช่วงความยาวคลื่นอื่นที่เป็น อันตรายต่อตาออกมาจากเครื่อง 11. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ (Yoke Technique)
  81. 81 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic spectrum) 11. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ (Yoke Technique)
  82. 82 6. เครื่องวัดแสง  เครื่องวัดแสงธรรมดา  เครื่องวัดแสงอุลตร้าไวโอเลต 11. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ (Yoke Technique)
  83. 83 1. เตรียมผิวงาน  ที่ผิวงานต้องมีอุณหภูมิไม่สูงเกิน ตามที่ผู้ผลิตกาหนด  ผิวงานต้องสะอาด ไม่มีสนิม , ฝุ่ น, ทราย และสีติดอยู่  ผิวงานต้องไม่ขรุขระ หรือมีซอกอับ จนทาให้เกิดความสับสนในการ ตีความ 12. ขั้นตอนการทดสอบ
  84. 84 2. เช็คความสามารถในการยกแท่งน้าหนัก  กางขาโยคออกให้ห่างกันมากที่สุด ที่จะ ไปใช้ทดสอบจริง  ทดสอบความสามารถในการสร้าง สนามแม่เหล็กด้วยแท่นน้าหนักตาม มาตรฐานที่ใช้ทดสอบกาหนด และทดสอบความเพียงพอและความครอบคลุม พื้นที่ของอานาจแม่เหล็ก โดยใช้ Pie-Shaped Magnetic Particle Field Indicator 12. ขั้นตอนการทดสอบ
  85. 85 11. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ (Yoke Technique)
  86. 86 11. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ (Yoke Technique)
  87. 87 3. การวัดแสงสว่างในขณะทาการทดสอบ  ความเข้มแสงที่ผิวงานในขณะที่ทดสอบต้องไม่น้อยกว่า 1,076 Lux การทดสอบโดยใช้แสงปกติ ( Visible Technique ) 12. ขั้นตอนการทดสอบ
  88. 88 11. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ (Yoke Technique)
  89. 89 3. การวัดแสงสว่างในขณะทาการทดสอบ  ต้องทาการทดสอบในห้องมืด  ในกรณีที่ใช้ผงเหล็กแบบเรืองแสง ซึ่งต้องใช้แบล็คไลท์ด้วยนั้น จาเป็นต้องอุ่นแบล็คไลท์ก่อนจะใช้งาน โดยต้องเปิดเครื่องทิ้งไว้อย่าง น้อย 5 นาที เพื่ออุ่นไส้หลอดให้ปล่อยแสงได้เต็มที่  ความเข้มแสงที่ระยะห่างจากแบล็คไลท์ถึงผิวงานต้องไม่น้อยกว่า 1,000 uW/cm2  ผู้ทดสอบต้องเข้าไปอยู่ในบริเวณทดสอบ ไม่น้อยกว่า 5 นาที และถ้าใส่ แว่น เลนซ์ต้องไม่เป็นแบบปรับแสงอัตโนมัติ การทดสอบโดยใช้แสงจากแบล็คไลท์( Fluorescent Technique ) 12. ขั้นตอนการทดสอบ
  90. 90 4. การลงสีพื้นหลัง ( White Contrast )  ถ้าใช้ผงเหล็กแบบมองด้วยแสงปกติ ต้องทาการพ่นสีขาวบางๆ ลงบนบริเวณที่ จะทดสอบ เพื่อให้เป็นฉากหลังตัดกับสีของผงเหล็กที่เป็นสีดา  ในกรณีที่ใช้ผงเหล็กแบบเรืองแสง ไม่ต้องพ่นสีขาวลงบนชิ้นงาน 12. ขั้นตอนการทดสอบ
  91. 91 5. การทดสอบและการประเมินผล  วางโยคคร่อมบริเวณที่จะทดสอบ แล้วกดสวิทช์  เขย่าขวดหรือกระป๋ องใส่น้ายาผงเหล็ก แล้วฉีดลง บริเวณทดสอบ  ทาซ้าที่บริเวณเดิมโดยให้ทิศทางของขาโยคในครั้ง ที่ 2 ตั้งฉากกับครั้งที่ 1 ถ้าใช้ผงเหล็กแบบเรืองแสง ต้องส่องบริเวณทดสอบด้วยแบล็คไลท์ตลอดเวลา  สังเกตผล จากการรวมตัวของผงเหล็ก (สิ่งบ่งชี้)  ถ้าทดสอบเสร็จแล้วให้ขยับไปทดสอบบริเวณถัดไป 12. ขั้นตอนการทดสอบ
  92. 92 6. การทาความสะอาดหลังการทดสอบ  หลังจากทาการทดสอบเสร็จแล้วให้ทาความสะอาดชิ้นงานให้ สะอาด โดยให้อยู่ในสภาพเหมือนก่อนที่จะทาการทดสอบ 12. ขั้นตอนการทดสอบ
  93. 93 ลักษณะของสิ่งบ่งชี้จากการทาMT บริเวณตาแหน่งของความไม่ต่อเนื่อง สิ่งบ่งชี้ที่พบจะเห็นเป็นรูปร่างที่คมและชัดเจน ผงแม่เหล็กจะไปเกาะอย่าง หนาแน่น ความไม่ต่อเนื่องที่ผิว (Surface discontinuity) ความไม่ต่อเนื่องใต้ผิว (Sub-Surface discontinuity) สิ่งบ่งชี้ที่พบจะเห็นเป็นรูปร่างที่ไม่ชัดเจน การเกาะตัวของผงแม่เหล็กอยู่ อย่างกระจายตัว ทาให้เห็นเป็นลางๆ 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  94. 94 ชนิดของสิ่งบ่งชี้ False Indication Non-relevant Indication Relevant Indication 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  95. 95 False Indication  ไม่ได้เกิดจากผลของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นการการเหนี่ยวนา  ตัวอย่างเช่น เกิดจากผงเหล็กเกาะที่บริเวณชิ้นงานที่มี rust หรือ scale 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  96. 96 การให้สนามแม่เหล็กกับชิ้นงานที่ทดสอบมากเกินไป (Excessive magnetizing current ) เกิดจากลักษณะและรูปร่างของชิ้นงาน ( Structural design of the article ) ค่า Permeability ที่แตกต่างกันในชิ้นงาน (Variances of permeability within the article ) Non-relevant Indication หรือสิ่งบ่งชี้เทียม สิ่งบ่งชี้เทียมสามารถเกิดได้เนื่องจากสาเหตุดังต่อไปนี้ 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  97. 97 การให้สนามแม่เหล็กกับชิ้นงานที่ทดสอบมากเกินไป ( Excessive magnetizing current ) Non-relevant Indication หรือสิ่งบ่งชี้เทียม 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  98. 98 เกิดจากลักษณะและรูปร่างของชิ้นงาน (Structural design of the article) Non-relevant Indication หรือสิ่งบ่งชี้เทียม 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  99. 99  เกิดจากค่า Permeability ที่แตกต่างกันในชิ้นงาน ( Variances of permeability within the article ) Non-relevant Indication หรือสิ่งบ่งชี้เทียม 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  100. 100 Relevant Indication  คือความไม่ต่อเนื่องที่ต้องนามาพิจารณาและประเมินผลการตัดสินต่อไป 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  101. 101 ความไม่ต่อเนื่อง (Discontinuity) สามารถแบ่งประเภทตามขั้นตอนการเกิดได้ดังต่อไปนี้ 1. ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตตั้งต้น (Inherent Discontinuities) 2. ความไม่ต่อเนื่องจากการขึ้นรูป (Processing Discontinuities) 3. ความไม่ต่อเนื่องจากการใช้งาน (Service Discontinuities) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  102. 102 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตตั้งต้น ( Inherent Discontinuities) Inclusion เกิดจากสิ่งมลทิน เช่น Slag หรือ Oxide ที่อยู่ใน Ingot Blow holes เกิดจากการรวมตัวกันของก๊าซที่อยู่ในน้าเหล็ก หรือจากภายนอกเข้าไปในน้าเหล็ก Pipe เกิดที่ด้านบนของ Ingot อันเนื่องมาจากการหดตัวของน้าเหล็ก Segregations ( การแยกตัว ) เกิดขึ้นจากการที่ธาตุหรือส่วนผสมในเหล็กไม่สามารถรวามตัว เป็นเนื้อเดียวกันได้ ความไม่ต่อเนื่องใน Ingot ที่พบคือ 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  103. 103 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตตั้งต้น ( Inherent Discontinuities) Could Shut Blowholes Porosity Hot tear shrinkage cavities ความไม่ต่อเนื่องในงานหล่อ ( Casting ) ที่พบคือ 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  104. 104 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตตั้งต้น (Inherent Discontinuities) Cold Shut เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากน้าเหล็กที่เทลงไปแข็งตัวก่อนหรือเร็วเกินไป ความไม่ต่อเนื่องในงานหล่อ ( Casting ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  105. 105 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตตั้งต้น ( Inherent Discontinuities) Hot tears เกิดการฉีกขาดของเนื้อเหล็กอันเนื่องมาจากอัตราการเย็นตัวที่ไม่เท่ากัน ของชิ้นส่วนที่หนาและบางต่างกันมาก ความไม่ต่อเนื่องในงานหล่อ ( Casting ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  106. 106 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตตั้งต้น ( Inherent Discontinuities) Shrinkage cavities โดยปกติเกิดจากการเติมน้าเหล็กลงไปในแบบไม่พอ ทาให้เกิดช่องว่างใน ระหว่างการเย็นตัวของน้าเหล็ก ความไม่ต่อเนื่องในงานหล่อ ( Casting ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  107. 107 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) Lamination เกิดจากการแยกชั้นในระหว่างการรีดอันเนื่องมาจาก Billet ที่นามารีดมี Pipe, Porosity หรือ Non metallic inclusion Stringers เกิดจาก Non metallic inclusion ที่อยู่ใน Billet ถูกบีบอัดจากการรีดจนเป็นเส้นหรือแผ่น บางยาว ความไม่ต่อเนื่องในการรีดขึ้นรูป ( Rolling ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  108. 108 Root Crack Toe Crack Transverse Crack Under bead Crack Lamellar Tear ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) ความไม่ต่อเนื่องในงานเชื่อม รอยแตกร้าว ( Crack ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  109. 109 Toe Crack Crater Crack Longitudinal Crack Transverse Crack ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) ความไม่ต่อเนื่องในงานเชื่อม รอยแตกร้าว ( Crack ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  110. 110 Crater Crack Longitudinal Crack ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) ความไม่ต่อเนื่องในงานเชื่อม รอยแตกร้าว ( Crack ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  111. 111 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) ความไม่ต่อเนื่องในงานเชื่อม ฟองอากาศ ( Porosity ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  112. 112 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) ความไม่ต่อเนื่องในงานเชื่อม แสลกฝังใน ( Slag Inclusion ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  113. 113 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) ความไม่ต่อเนื่องในงานเชื่อม การหลอมละลายไม่สมบูรณ์ ( Lack of fusion ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  114. 114 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) ความไม่ต่อเนื่องในงานเชื่อม การซึมลึกไม่สมบูรณ์ ( Lack of penetration ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  115. 115 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) ความไม่ต่อเนื่องในงานเชื่อม รอยกัดขอบ ( Undercut ) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  116. 116 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) ความไม่ต่อเนื่องในงานตีขึ้นรูป ( Forging ) Forging Laps เกิดจากแท่นตีขึ้นรูปเยื้องศูนย์ ทาให้เกิดเหล็กที่ถูกตีเป็นลักษณะดังรูป 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  117. 117 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) ความไม่ต่อเนื่องในงานตีขึ้นรูป ( Forging ) Forging Burst เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากอุณหภูมิในระหว่างตีขึ้นรูปไม่เหมาะสม เกิดขึ้นได้ ทั้งด้านนอกและด้านใน 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  118. 118 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขึ้นรูป ( Processing Discontinuities) ความไม่ต่อเนื่องในงานเจียร์ ( Grinding ) Grinding Crack เกิดจากความเค้นอันเนื่องมาจากความร้อนระหว่างหินเจียร์และโลหะ 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  119. 119 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน ( Service Discontinuities) Fatigue Crack เกิดจากการที่วัสดุมีการใช้งานในลักษณะเป็น Cycle ทาให้เกิดความเค้น สะสม จนเกิดการแตก โดยจะเริ่มจากที่ผิวเสมอ 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  120. 120 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน ( Service Discontinuities) Stress Corrosion Crack (SCC) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
  121. 121 ความไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน ( Service Discontinuities) Stress Corrosion Crack (SCC) 13. ชนิดของสิ่งบ่งชี้และความไม่ต่อเนื่อง
Anúncio