Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Apresentações para você(20)

Anúncio

Último(20)

6. Fire prevention and extinguishing

  1. การป้องกันและระงับอัคคีภัย 6. การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  2. หัวข้อการบรรยาย – ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอัคคีภัย – ทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม้ – การแบ่งประเภทของเพลิง – วิธีการดับเพลิงประเภทต่าง ๆ – การตรวจสอบถังดับเพลิงและเทคนิคการใช้ถังดับเพลิง การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  3. กลุ่มบุคคลในเหตุการณ์เพลิงไหม้ ผู้ประสบเหตุ * ผู้บาดเจ็บ * ผู้เสียชีวิต ผู้เข้าช่วยเหลือ * ช่วยเหลือคนบาดเจ็บ * ช่วยเหลือระงับเหตุ คนดูทั่วไป * กลุ่มอยากรู้ อยากเห็น * กลุ่มมิจฉาชีพ
  4. จุดตาย....อัคคีภัย !!! ความร้อน ขาดออกซิเจนและ ได้รับก๊าซพิษ ความตื่นตระหนกสุดขีด
  5. 300 องศาฟาเรนไฮด์ เสียชีวิต 24- 48 ชั่วโมง 1,000 องศาฟาเรนไฮด์ หายใจเข้าไป เสียชีวิตทันที!! 148.8 537.7
  6. 6-7% หมดสติ อาจเสียชีวิต
  7. เชื้อเพลิง ไฟ สามเหลี่ยมของไฟ องค์ประกอบของไฟ 1. เชื้อเพลิง 2. ความร้อน 3. ออกซิเจน การสันดาป หรือ การเผาไหม้ (Combustion) คือ ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของเชื้อเพลิงกับออกซิเจน ซึ่งเป็นผล ให้เกิด ความร้อนและแสงสว่าง และสภาพการเปลี่ยนแปลง การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  8. ลุกไหม้ต่อเนื่อง ปฏิกิริยา ลูกโซ่ เชื้อเพลิงความร้อน ออกซิเจน ปิรามิดของไฟ ทฤษฎีรามิดของไฟ 1. เชื้อเพลิง 2 ความร้อน 3. ออกซิเจน 4. ปฏิกิริยาลูกโซ่ เชื้อเพลิง ไฟ สามเหลี่ยมของไฟ ทฤษฎีสามเหลี่ยมของไฟ 1. เชื้อเพลิง 2 ความร้อน 3. ออกซิเจน การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  9. เชื้อเพลิง 1. สารอินทรีย์เคมี เป็นสารที่มาจากสิ่งที่มีชีวิต และมีส่วนประกอบของธาตุ คาร์บอน ได้แก่ ไม้ หญ้า กระดาษ เสื้อผ้า 2. สารอนินทรีย์เคมี เป็นสารที่ไม่ได้เกิดจากสิ่งมีชีวิต และไม่มีส่วนประกอบ ของธาตุคาร์บอน ได้แก่ สารเคมีต่าง ๆ สถานะของเชื้อเพลิง  ของแข็ง  ของเหลว  ก๊าซ เชื้อเพลิงเหลว การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  10. เชื้อเพลิงเหลว
  11. ความร้อน เป็นสิ่งที่ทาให้อุณหภูมิของเชื้อเพลิงสูงขึ้น ถึงจุดติดไฟ (Ignition point) ของเชื้อเพลิงนั้น ๆ ความร้อนถึงจุดไฟติด จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีอย่าง รวดเร็ว เกิดเป็นไฟและการเผาไหม้ขึ้น จุดวาบไฟ (Flash Point) คือ จุดที่มีปริมาณความร้อนเพียงพอทาให้เชื้อเพลิงคายไอ และผสมเข้ากับอากาศ อย่างได้สัดส่วน จะลุกไหม้วาบขึ้นชั่วขณะแล้วดับลง การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  12. จุดลุกติดไฟ (Fire Point) คือ จุดที่มีปริมาณความร้อนเพียงพอทาให้เชื้อเพลิงคายไอ และผสมเข้า กับอากาศอย่างได้สัดส่วน จะลุกไหม้อย่างต่อเนื่อง จุดลุกติดไฟได้เอง(Autoignition temperature , AIT) คือ จุดอุณหภูมิที่ทาให้สารเชื้อเพลิงเกิดการลุกไหม้ขึ้นได้เอง โดย ปราศจากประกายไฟ
  13. ออกซิเจน ในบรรยากาศทั่วไปมีออกซิเจน ประมาณ 21 % ในการเผาไหม้ต้อง การออกซิเจน ตั้งแต่ 16 % ขึ้นไป ปฏิกิริยาลูกโซ่ เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากการลุกติดไฟอย่างต่อเนื่อง ขององค์ประกอบ ทั้ง 3 อย่าง ที่หนุนเนื่องกันอยู่ ส่งผลให้ขนาดและความรุนแรงของ เพลิงเพิ่มมากขึ้น การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  14. ประเภทของไฟ สัญลักษณ์รูปภาพสัญลักษณ์อักษร ได้แก่เพลิงที่เกิดจาก น้ามันเชื้อเพลิง และแก๊สหุงต้ม ได้แก่เพลิงที่เกิดจาก ผ้า ไม้ กระดาษ หญ้า ได้แก่เพลิงที่เกิดจาก ไฟฟ้า และอุปกรณ์อีเลคโทรนิคส์ ได้แก่เพลิงที่เกิดจาก โลหะติดไฟ หรือโลหะผสม
  15. 1. ไฟฟ้าลัดวงจร 28 % 2. การสูบบุหรี่หรือการจุดไฟ 18 % 3. การเสียดสีหรือเสียดทาน 10 % 4. อุปกรณ์ได้รับความร้อน 8 % 5. ผิวโลหะที่ร้อนจัด 7 % 6. เปลวไฟไม่มีสิ่งปกคลุม 7 % 7. การเชื่อมและการตัดโลหะ 4 % 8. การลุกไหม้ด้วยตนเอง 4 % 9. การวางเพลิง 3 % 10. ประกายไฟจากเครื่องจักร 3 % 11. โลหะหรือวัตถุหลอมเหลว 2 % 12. ไฟฟ้าสถิตย์ 2 % 13. ปฏิกิริยาของสารเคมี 1 % 14. บรรยากาศที่มีสิ่งปนเปื้อน 1 % สาเหตุการเกิดเพลิงไหม้ การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  16. ➢ความเสี่ยงในการเกิดอัคคีภัย ของการไม่ทิ้งก้นบุหรี่ ในภาชนะที่จัดเตรียมไว้ให้ ➢ ความเสี่ยงของการเกิดอัคคีภัย ในการจัดทิ้งเศษ วัสดุที่เป็นเชื้อเพลิงลงในภาชนะรองรับก้นบุหรี่ การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  17. หลักการดับเพลิงขั้นต้น การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  18. การกาจัดเชื้อเพลิง การกาจัดออกซิเจน การลดอุณหภูมิ การตัดปฏิกิริยาลูกโซ่ ปฏิกิริยา ลูกโซ่ เชื้อเพลิง ความร้อน ออกซิเจน การป้องกันและระงับอัคคีภัย หลักการดับเพลิงขั้นต้น
  19. การกาจัดเชื้อเพลิง หลักการ : การนาเชื้อเพลิงออกไปจากบริเวณ เกิดอัคคีภัย วิธีการ : การเคลื่อนย้ายเชื้อเพลิงที่ติดไฟ ออก จากกองไฟ การตัดการหนุนเนื่องเชื้อเพลิง (เช่น การปิดวาล์วน้ามัน / วาล์วแก๊ส) การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  20. การกาจัดออกซิเจน หลักการ : การปิดกั้นออกซิเจน ไม่ให้ ไปรวมตัวกับไอของเชื้อเพลิง วิธีการ : การใช้ก๊าซเฉื่อย ไปลดจานวนออกซิเจน การใช้สิ่งที่ผนึกอากาศ คลุมเชื้อเพลิงไว้ การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  21. การลดอุณหภูมิ (ลดความร้อน) หลักการ :การทาให้อุณหภูมิของเชื้อเพลิงต่า ลงไปกว่าจุดวาบไฟ วิธีการ : การใช้น้า ลดความร้อนที่เชื้อเพลิง การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  22. การตัดปฏิกิริยาลูกโซ่ หลักการ : การใช้สารเคมี เข้าแทนที่ออกซิเจน วิธีการ : การใช้สารฮาลอน สกัดกั้นไอของเชื้อ เพลิงไม่ให้ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน ในอากาศ การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  23. การดับเพลิงประเภท A การดับเพลิงประเภท B การดับเพลิงประเภท C การดับเพลิงประเภท D การดับเพลิงประเภทต่าง ๆ การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  24. การดับเพลิงประเภท A - ใช้วิธีการลดอุณหภูมิ (ความร้อน) - น้า เป็นสารดับเพลิงที่เหมาะสม การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  25. การดับเพลิงประเภท B - ใช้วิธีการกาจัดออกซิเจน หรือการปิดกั้นออกซิเจน - ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ และน้ายาเหลวระเหย เป็นสารดับเพลิงที่ เหมาะสมกับเพลิงที่อยู่ในภาชนะปิด - โฟม เป็นสารดับเพลิงที่เหมาะกับเชื้อเพลิงเหลว การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  26. การดับเพลิงประเภท C - ใช้วิธีการกาจัดออกซิเจน หรือการตัดปฏิกิริยาลูกโซ่ (กรณีที่มีกระแสไฟฟ้าอยู่) - ใช้วิธีลดอุณหภูมิ (กรณีสามารถตัดกระแสไฟฟ้าได้แล้ว) - ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ายาเหลวระเหย เป็นสารดับเพลิง ที่เหมาะสม การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  27. การดับเพลิงประเภท D - ใช้วิธีการกาจัดออกซิเจน - ใช้ก๊าซเฉื่อย ทาปฏิกิริยากับโลหะที่ลุกไหม้ - ใช้ผงแห้ง หรือทรายแห้ง เป็นสารดับเพลิงที่เหมาะสม การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  28. เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ (Portable Fire Extinguisher) อุปกรณ์ดับเพลิง การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  29. น้า ฮาลอนซีโอทู เคมีเหลวฮาโลตรอนเคมีแห้ง 1 2 3 4 5 6 7 8 โฟม ผงแห้ง เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ (Portable Fire Extinguisher)
  30. เครื่องดับเพลิงชนิดบรรจุน้า/โฟม * ตรวจสอบแรงดันภายในถัง ทุก ๆ 6 เดือน แรงดันสะสม 100 Psi เครื่องดับเพลิงชนิดบรรจุน้ายาเหลวระเหย * ตรวจสอบแรงดันภายในถัง ทุก ๆ 6 เดือน แรงดันสะสม 195 Psi การตรวจสอบเครื่องดับเพลิง การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  31. เครื่องดับเพลิงชนิดบรรจุก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ * ตรวจสอบด้วยวิธีชั่งน้าหนัก ทุก ๆ 6 เดือน หากน้าหนักสูญหาย เกิน 10 % ให้เติมก๊าซใหม่ การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  32. เครื่องดับเพลิงชนิดบรรจุผงเคมีแห้ง * ตรวจสอบแรงดันภายในถัง ทุก ๆ 6 เดือน แรงดันสะสม 195 Psi / ตรวจการจับตัวของผงเคมี การรั่วไหลของก๊าซ การอุดตันของปลายหัวฉีด การผุกร่อนของถัง การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  33. 1.ดึงสลักนิรภัย เทคนิคการใช้งานเครื่องดับเพลิง
  34. 2.จับปลายสายดึงออก จากที่เก็บสาย
  35. 3.ยกถังขึ้นในระดับเอวกดคัน บีบฉีดตรงไปที่ฐานของไฟ
  36. ทำกำรดึงสำยฉีดออกจำกที่เก็บ ทำกำรปลดล๊อกวำล์ว ทำกำรกดก้ำนบีบชิ้นบนลงหำชิ้นล่ำง ขณะฉีดสำรดับเพลิง ต้องส่ายสำยฉีดไปมำ เทคนิคการใช้งานเครื่องดับเพลิง
  37. - ขนาดของไฟ - ชนิดของถังดับเพลิง - สภาพพื้นที่เกิดเพลิงไหม้ ความมั่นใจ สภาพความปลอดภัยของตัวเอง การดับเพลิงอย่างปลอดภัย
  38. ระยะห่าง 3-5 เมตร โดยประมาณ..... การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  39. เครื่องดับเพลิง ประเภทของเพลิง น้า โฟม ผงเคมีแห้ง Co2 ฮาลอน ฮาโลตรอน เคมีเหลว ทรายแห้ง/ผงถ่าน/เกลือ A B C D X X X X X X X X X X X X XXX X
  40. การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  41. การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  42. การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  43. การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  44. (038)691408-10 ต่อ 1201,1202 QRY QBB(038)297302- 4 ต่อ 261 การแจ้งเหตุเพลิงไหม้ การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  45. การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  46. เสียงสัญญาณ Fire Alarm System เพื่อเตือนให้ทราบว่ามีเหตุเพลิงไหม้เกิดขึ้น โดยพนักงานทาการอพยพ ไปยังจุด รวมพลของบริษัท การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  47. การป้องกันและระงับอัคคีภัย บันได- ทาง หนีไฟ สานักงานระยอง (อาคาร 2) ห้องโถง/ห้องครัว
  48. การป้องกันและระงับอัคคีภัย บันได- ทาง หนีไฟ สานักงานระยอง (อาคาร 2) แผนกบัญชีและการเงิน
  49. การป้องกันและระงับอัคคีภัย จุดรวมพลสานักงานระยอง
  50. จุดรวมพลสานักงานบ้านบึง การป้องกันและระงับอัคคีภัย
  51. การป้องกันและระงับอัคคีภัย ตอบคาถาม ข้อสงสัย
Anúncio