Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Apresentações para você(20)

Similar a 5. Safety in electrical operations(20)

Anúncio

Último(20)

Anúncio

5. Safety in electrical operations

  1. 5. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  2. ไฟฟ้ากระแสตรง (D.C) หมายถึง ไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าคงที่และมีทิศทางการไหลของกระแสฟ้า ทางเดียว จากแรงดันสูง (ขั้วบวก)ไปยังแรงดันต่า (ขั้วลบ) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  3. ไฟฟ้ากระแสสลับ (A.C.) หมายถึง กระแสไฟฟ้าที่มีการสลับสับเปลี่ยนขั้วอยู่ตลอดเวลาอย่าง สม่าเสมอ ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าก็จะเปลี่ยนสลับ ไปมา จากบวก-ลบ และจากลบ-บวก อยู่ตลอดเวลา ซึ่งไฟฟ้ากระแสสลับ เป็นไฟฟ้าที่ใช้กันตามบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรม ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  4. รูปแสดงลักษณะของหม้อแปลงไฟฟ้ากาลัง 3 เฟส แรงสูง 22,000 V เป็นแรงดันต่า 380 V. 3 เฟส 4 สาย รูปแสดงลักษณะสายจ่ายไฟฟ้ากาลัง 3 เฟส ไฟฟ้ากระแสสลับ (A.C.) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  5. ไฟฟ้าแรงสูง คือ ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าระหว่าง สายไฟฟ้าสูงเกินกว่า 1,000 โวลต์ขึ้นไป ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าสูงจะ สามารถส่งกระแสไฟฟ้าไปได้ใน ระยะทางที่ไกล และมีการสูญเสียทาง ไฟฟ้าต่ากว่าระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าต่า ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  6. มาตรฐานมาตรฐานระยะห่างที่ปลอดภัยจากสายไฟฟ้าแรงสูง ระยะห่างระหว่างสายกับ อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง/ป้ายโฆษณา มาตรฐานระยะห่างในแนวนอนที่ปลอดภัยระหว่าง อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง หรือป้ายโฆษณากับสายไฟฟ้าแรงสูงมีการกาหนดไว้ดังนี้ ขนาดแรงดันไฟฟ้า (โวลต์) ระยะห่างจากสายไฟฟ้าในแนวนอนไม่น้อยกว่า (เมตร) อาคาร/ระเบียง ป้ายโฆษณา 12,000 –24,000 1.80 1.80 69,000 2.13 1.80 115,000 2.30 2.30 230,000 3.00 3.00 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  7. ระยะห่างระหว่างสายกับผู้ปฏิบัติงาน/เครื่องมือกล มาตรฐานระยะห่างที่ปลอดภัยของการทางานใกล้สายไฟฟ้าแรงสูง สาหรับบุคคลหรือผู้ที่ปฏิบัติงานรวมถึงอุปกรณ์หรือเครื่องมือกลทุกชนิด เช่น ปั้นจั่นรถเครน หรือวัตถุที่ถืออยู่ในมือ จะต้องอยู่ห่างจากส่วนที่มี ไฟฟ้าแรงสูงไม่น้อยกว่าระยะดังต่อไปนี้ ขนาดแรงดันไฟฟ้า (โวลต์) ระยะห่างที่ปลอดภัย (เมตร) 12,000 - 69,000 3.05 115,000 3.20 230,000 3.90 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า มาตรฐานมาตรฐานระยะห่างที่ปลอดภัยจากสายไฟฟ้าแรงสูง
  8. ลักษณะของสายไฟฟ้าแรงสูง สังเกตจากความสูงของสายไฟฟ้า เทียบกับอาคาร ระดับความสูงของสายไฟ แรงดันไฟฟ้า (โวลต์) อาคารชั้นที่ 2 - 3 12,000-24,000 อาคารชั้นที่ 4 - 5 69,000 - 115,000 อาคารชั้นที่ 6 ขึ้นไป 230,000 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  9. ● เกิดจากการที่กระแสไฟฟ้าใช้ร่างกายเป็นทางเดินผ่านลงดิน ● เกิดจากการที่ร่างกายต่อเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า ● เกิดจากการที่กระแสไฟฟ้าลัดวงจร ● อันตรายจากแสงจ้า ● อันตรายจากความร้อน ● อันตรายจากไอควันโลหะ ลักษณะอันตรายจากไฟฟ้าที่มีต่อชีวิตและร่างกาย ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  10. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  11. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  12. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  13. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความรุนแรง 1. ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านร่างกาย 2. ระยะเวลาที่สัมผัส 3. ความต้านทานของร่างกายต่อไฟฟ้า 4. แรงดันไฟฟ้า 5. ความถี่ของแรงดันไฟฟ้า 6. อวัยวะภายในร่างกายที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  14. กว่าร้อยละ 90 ประสบอันตรายจากการที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายลงดิน หรือที่เรียกว่า “ ไฟดูด ” ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า อุบัติเหตุจากไฟฟ้า
  15. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  16. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  17. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  18. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  19. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  20. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  21. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  22. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  23. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  24. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  25. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  26. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  27. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ผลของกระแสไฟฟ้าที่มีต่อร่างกาย
  28. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  29. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  30. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า การปฏิบัติงาน หลักการป้องกันอันตราย ในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  31. อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ไฟฟ้า 1. เต้ารับและเต้าเสียบไฟฟ้าควรเป็นชนิด 3 ตา ที่มีการต่อสายดิน และต้องมี ขนาดพิกัดกระแสมากกว่ากระแสใช้งานกับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มาต่อ และต้องอยู่ในสภาพใช้งานได้ดี 2. สวิตช์ ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าจะต้องมีฉนวนห่อหุ้มไม่ ให้สัมผัสกับส่วนที่มีไฟฟ้า และต้องอยู่ในสภาพพร้อมใช้ งานได้ดี หลักการป้องกันอันตราย ในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า (ต่อ) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  32. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  33. 3. สวิตช์, เต้ารับและเต้าเสียบ หากติดตั้งในที่ที่มีความชื้นหรือในสถานที่ที่อาจถูกน้าได้ จะต้องเป็นชนิดที่มีระบบป้องกันน้าและความชื้นเข้า 4. อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เครื่องห่อหุ้มส่วนที่มีไฟฟ้าจะต้องอยู่ในสภาพดี สามารถ ป้องกันไม่ให้ไปสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้าได้ และหากอุปกรณ์นั้นมีการชารุดจะต้องมีป้ายบอก เตือนให้ทราบอย่างชัดเจน 5. อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีการสั่นสะเทือน การเดินสายร้อยในท่อจะต้องเป็นท่อที่มีการ ยืดหยุ่นตามการสั่นสะเทือนได้ อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ไฟฟ้า(ต่อ) หลักการป้องกันอันตราย ในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า (ต่อ) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  34. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  35. 6. มอเตอร์ไฟฟ้าจะต้องต่อสายดิน และต้องมีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินและลัดวงจร ขนาดเหมาะสม 7. ตู้ควบคุมมอเตอร์จะต้องปราศจากฝุ่ นและความชื้น และต้องต่อสายดิน 8. อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีการเคลื่อนย้ายขณะใช้งาน สายไฟฟ้าจะต้องเป็นสายที่มีการ อ่อนตัว และจุดต่อสายไฟฟ้าที่ออกจากเครื่องจะต้องแน่นหนา อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ไฟฟ้า(ต่อ) หลักการป้องกันอันตราย ในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า (ต่อ) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  36. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
  37. ตอบคาถาม ข้อสงสัย ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
Anúncio