Início
Conheça mais
Enviar pesquisa
Carregar
Entrar
Cadastre-se
Check these out next
คำสมาสและคำสนธิ
rasi6932
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
Pinmanas Kotcha
รายงานการไปราชการ อบรมวิทฐานะ
มาณวิกา นาคนอก
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
somdetpittayakom school
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
สำเร็จ นางสีคุณ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ตัวอย่าง)
Chuchai Sornchumni
API Training (03 Piping Components)
wichayaa
API Training (02 Type of Weld)
wichayaa
1
de
99
Top clipped slide
4. Safety in the operation of hazardous chemicals
17 de Aug de 2019
•
0 gostou
1 gostaram
×
Seja o primeiro a gostar disto
mostrar mais
•
166 visualizações
visualizações
×
Vistos totais
0
No Slideshare
0
De incorporações
0
Número de incorporações
0
Baixar agora
Baixar para ler offline
Denunciar
Educação
4. Safety in the operation of hazardous chemicals
wichayaa
Seguir
Recomendados
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
Preeyapat Lengrabam
8.6K visualizações
•
29 slides
Pdf essential vocabulary a z-k_itaya20142014
Kruthai Kidsdee
26.5K visualizações
•
53 slides
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
Somporn Laothongsarn
25K visualizações
•
9 slides
Luận văn: Phát triển logistics vùng kinh tế trọng điểm phía nam, HOT
Dịch vụ viết bài trọn gói ZALO: 0917.193.864
657 visualizações
•
119 slides
การจัดการข้อร้องเรียน
Suradet Sriangkoon
9.6K visualizações
•
43 slides
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
mahaoath พระมหาโอ๊ท
33.8K visualizações
•
1 slide
Mais conteúdo relacionado
Apresentações para você
(6)
คำสมาสและคำสนธิ
rasi6932
•
7.1K visualizações
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
Pinmanas Kotcha
•
11.9K visualizações
รายงานการไปราชการ อบรมวิทฐานะ
มาณวิกา นาคนอก
•
7.3K visualizações
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
somdetpittayakom school
•
3.7K visualizações
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
สำเร็จ นางสีคุณ
•
7K visualizações
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ตัวอย่าง)
Chuchai Sornchumni
•
34.2K visualizações
Mais de wichayaa
(20)
API Training (03 Piping Components)
wichayaa
•
260 visualizações
API Training (02 Type of Weld)
wichayaa
•
51 visualizações
API Training (01 Introduction)
wichayaa
•
62 visualizações
API Training (04 Valves)
wichayaa
•
82 visualizações
UT for QLTM (Session 1)
wichayaa
•
81 visualizações
UT for QLTM (Session 3)
wichayaa
•
41 visualizações
UT for QLTM (Session 5)
wichayaa
•
44 visualizações
UT for QLTM (Session 2)
wichayaa
•
61 visualizações
UT for QLTM (Session 4)
wichayaa
•
60 visualizações
Tank Cleaning Training
wichayaa
•
75 visualizações
Company introduction for training
wichayaa
•
183 visualizações
MT-PT Chem tech comparison for training
wichayaa
•
67 visualizações
QLT Orientaion
wichayaa
•
334 visualizações
[PT II] PT EX WE-NDT-948 rev.01
wichayaa
•
133 visualizações
[PT II] ASEME B31.3
wichayaa
•
32 visualizações
[MT II] MT EX WE-NDT-824 Rev. 01
wichayaa
•
54 visualizações
[MT II] ASME B31.3
wichayaa
•
30 visualizações
[MT II] ASME Section V Article 7
wichayaa
•
62 visualizações
MT Level II training
wichayaa
•
414 visualizações
PT Level II Training (General)
wichayaa
•
337 visualizações
Último
(20)
Math1 Calculus1 เซตSet (Basic) #1
TeerawutSavangboon
•
15 visualizações
การทำวิทยฐานะ.ppt
send2temp1
•
13 visualizações
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 3.pdf
PhanumatPH
•
14 visualizações
Lat Lum Kaeo Mapping.pdf
Bangkok University
•
4 visualizações
การให้บริการศูนย์สัตว์ทดลอง ม ขอนแก่น.pdf
PitakthaiChamtim3
•
1 visão
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 5.pdf
PhanumatPH
•
12 visualizações
รายละเอียดการสอบคัดเลือก 2566 (รอบ3).pdf
Siraphop Ratanasuban
•
3 visualizações
Colorful STEM Poster.pdf
ssuser3873f6
•
7 visualizações
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 6.pdf
PhanumatPH
•
7 visualizações
คู่มือmanual.pptx
rdbkk02
•
2 visualizações
if-clause.ppt
Nicole Robin
•
6 visualizações
Work trial presentation July-Sep2022.pptx
PitakthaiChamtim3
•
1 visão
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
Bangkok University
•
5 visualizações
หลักการและเหตุผลงานพัสดุ 2560.pdf
Naruechon Khwanpremruethai
•
1 visão
Luận văn thạc sĩ toán học.
ssuser499fca
•
9 visualizações
SAR-2565-BS.pdf
chartthai
•
18 visualizações
4conic_formula.pdf
SunisaTheswan
•
3 visualizações
คลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdf
Bangkok University
•
5 visualizações
ก่อนเรียนIS-20201.docx
วีระศักดิ์ ไชยขันธุ์
•
7 visualizações
อภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdf
PavitDhammabhalo
•
0 visão
4. Safety in the operation of hazardous chemicals
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย 4.ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
สารเคมีอันตราย สารเคมีอันตรายคือ สารที่มีคุณสมบัติ ทางเคมี หรือทางกายภาพที่สามารถทาให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ ทรัพย์สิน
หรือต่อสภาพแวดล้อมได้ โดยมนุษย์ ทรัพย์สิน หรือสภาพแวดล้อมจะได้รับอันตรายจาก สารเคมี ก็เมื่ออยู่ภายใต้เงื่อนไข หรือสภาวะการณ์ ที่เหมาะสมที่สารเคมีนั้นๆ จะก่อให้เกิดอันตรายได้ อาจเรียกสารเคมีอันตรายสั้นๆ ว่า “สารเคมี” ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
สารเคมีอันตราย ที่ บริษัทฯมีการจัดเก็บ
และใช้งาน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
สารเคมีอันตราย ที่ บริษัทฯมีการจัดเก็บ
และใช้งาน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
สารเคมีอันตราย ที่ บริษัทฯมีการจัดเก็บ
และใช้งาน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ลักษณะการปฏิบัติงาน ที่มีความเสี่ยงในการสัมผัส สารเคมีอันตราย ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ลักษณะการปฏิบัติงาน ที่มีความเสี่ยงในการสัมผัส สารเคมีอันตราย ➢
ห้องปฏิบัติการ ล้างฟิล์ม ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
สภาพแวดล้อมในการทางาน ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง ต่อการรับสัมผัสสารเคมีอันตราย ตลอดระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
หลักพื้นฐานในการทางานกับสารเคมีให้ปลอดภัย • รู้จักสารเคมี • รู้วิธีป้องกัน •
ปฏิบัติตามถูกต้อง • ตรวจสอบ เฝ้าระวัง ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
กฎหมาย และ มาตรฐาน
ที่เกี่ยวข้อง • พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัย ในการทางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย • Globally harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals (GHS) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การปฏิบัติงานกับสารเคมี อย่างปลอดภัยเราต้องรู้อะไรบ้าง? • รู้ชื่อ •
รู้คุณสมบัติ • รู้อันตราย ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
จะรู้จักสารเคมีได้อย่างไร ? • รู้จากฉลากสารเคมี
(Label) ที่ติดบนภาชนะบรรจุสารเคมี • รู้จากข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (SDS : Safety Data Sheet) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ในฉลากสารเคมี • สัญลักษณ์ที่แสดงถึงอันตราย •
ชื่อทางเคมีหรือชื่อทางวิทยาศาสตร์ • ปริมาณและส่วนประกอบของสารเคมี • อันตรายและอาการเกิดพิษจากสารเคมี • คาเตือนเกี่ยวกับวิธีการเก็บ วิธีใช้ วิธีเคลื่อนย้าย และวิธีการกาจัดสารเคมี • วิธีปฐมพยาบาล ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
บางแห่ง อาจเพิ่มเติมข้อมูลบนฉลาก เช่น •
ชื่อทางการค้า • ลักษณะสารเคมี • ชื่อ ที่อยู่ และเบอร์โทรศัพท์ของผู้จาหน่าย • ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย • รหัสบอกสารเคมีที่ผลิตในรุ่นนั้น ๆ • ขนาดความรุนแรงของสารเคมี ข้อมูลสารเคมี ในฉลากสารเคมี(ต่อ) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลความปลอดภัยสารเคมีหรือ SDS คืออะไร? Safety
Data Sheet (SDS) คือ เอกสารแสดงข้อมูล สารเคมี ซึ่ง SDS จะแสดงคุณสมบัติของสาร ทั้งทาง เคมี กายภาพ และชีวภาพ รวมถึงมาตรการความ ปลอดภัยต่างๆ เพื่อให้สามารถใช้สารเคมีได้อย่างปลอดภัย โดย สถานประกอบการต้องจัดทาเอกสารดังกล่าวตามที่ กฎหมายกาหนด และแจ้งให้พนักงานที่เกี่ยวข้อง รับทราบ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลความปลอดภัยสารเคมีหรือ SDS คืออะไร? รูปแบบ
(Format) ของ SDS มี 16 หัวข้อ ตามลาดับ ดังนี้ 1.การระบุชื่อสารเคมีและชื่อผู้ผลิต 2.การระบุความเป็นอันตราย 3.ส่วนประกอบของข้อสนเทศของส่วนผสม 4.การปฐมพยาบาล 5.มาตรการในการดับเพลิง 6.มาตรการการจัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหล 7.การใช้และการจัดเก็บรักษา 8.การควบคุมการรับสัมผัส/ การป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 9.คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลความปลอดภัยสารเคมีหรือ SDS คืออะไร? รูปแบบ
(Format) ของ SDS มี 16 หัวข้อ ตามลาดับ ดังนี้ (ต่อ) 10.ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา 11.ข้อสนเทศด้านพิษวิทยา 12.ข้อสนเทศด้านนิเวศวิทยา 13.ข้อพิจารณาในการกาจัดหรือทาลาย 14.ข้อสนเทศเกี่ยวกับการขนส่ง 15.ข้อสนเทศด้านกฎระเบียบ 16.ข้อสนเทศอื่น ๆ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ข้อมูลสารเคมี ใน SDS ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การจาแนกสารเคมี GHS หรือ การจาแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก รวมถึงเนื้อหาของเอกสารความปลอดภัยของแต่ละประเทศเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การ Classification หรือการจาแนกประเภทสารเคมีของ
GHS จะ พิจารณาตามความเป็นอันตราย 3 กลุ่ม และในแต่ละกลุ่มก็จะมีลักษณะ ความเป็นอันตรายกาหนดเอาไว้ชัดเจน ดังนี้ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การจาแนกประเภทสารเคมีของ GHS กลุ่มที่ 1.
ความเป็นอันตรายทางกายภาพ แบ่งเป็น 16 ประเภท (Classes) ดังนี้ 1.วัตถุระเบิด (Explosives) 2.ก๊าซไวไฟ (Flammable gases) 3.ละอองลอยไวไฟ (Flammable aerosols) 4.ก๊าซออกซิไดส์ (Oxidizinggases) 5.ก๊าซภายใต้ความดัน (Gases under pressure) 6.ของเหลวไวไฟ (Flammable liquids) 7.ของแข็งไวไฟ (Flammable solids) 8.สารที่ทาปฏิกิริยาได้เอง (Self-reactivesubstancesand mixtures) 9.ของเหลวที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ (Pyrophoric liquids) 10.ของแข็งที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ (Pyrophorics solids) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การจาแนกประเภทสารเคมีของ GHS (ต่อ) กลุ่มที่
1. ความเป็นอันตรายทางกายภาพ แบ่งเป็น 16 ประเภท (Classes) ดังนี้ 11.สารที่เกิดความร้อนได้เอง (Self-heating substances and mixtures) 12.สารที่สัมผัสน้าแล้วให้ก๊าซไวไฟ (Substancesand mixtures which, in contact with water, emit flammable gases) 13.ของเหลวออกซิไดส์ (Oxidizing liquids) 14.ของแข็งออกซิไดส์ (Oxidizing solids) 15.สารเปอร์ออกไซด์อินทรีย์(Organic peroxides) 16.สารกัดกร่อนโลหะ (Corrosive to metals) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การจาแนกประเภทสารเคมีของ GHS (ต่อ) กลุ่มที่
2. ความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ แบ่งเป็น 10 ประเภท (Classes) ดังนี้ 1.ความเป็นพิษเฉียบพลัน (Acute toxicity) 2.การกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิวหนัง (Skin corrosion/Irritation) 3.การทาลายดวงตาอย่างรุนแรงและการระคายเคืองต่อดวงตา (Serious eye damage/ eye irritation) 4.การทาให้ไวต่อการกระตุ้นอาการแพ้ต่อระบบทางเดินหายใจหรือผิวหนัง (Respiratory or skin sensitization) 5.การก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ของเซลสืบพันธุ์ (Germ cell mutagenicity) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การจาแนกประเภทสารเคมีของ GHS (ต่อ) กลุ่มที่
2. ความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ (ต่อ) แบ่งเป็น 10 ประเภท (Classes) ดังนี้ 6.การก่อมะเร็ง (Carcinogenicity) 7.ความเป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ (Reproductive toxicity) 8.ความ เป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการสัมผัสครั้งเดียว (Specific target organ systematic toxicity –Single exposure) 9.ความเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการสัมผัสซ้า (Specific target organ systematic toxicity - Repeated exposure) 10.ความเป็นอันตรายจากการสาลัก (Aspirationhazard) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การจาแนกประเภทสารเคมีของ GHS (ต่อ) กลุ่มที่
3. ความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม แบ่งเป็น 1 ประเภท (Classes) ดังนี้ 1. ความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมในน้า (Hazardous to the aquaticenvironment) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) GHS
แบ่งการสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) เป็น 2 แบบคือ ➢ การติดฉลาก (Labeling) ➢ เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet, SDS) ซึ่งถือเป็นผลลัพธ์ปลายทางที่ทาให้ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมี รู้จักคุณสมบัติที่ควรระวัง ของสารเคมีอันตรายตัวนั้น ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard communications) ➢การติดฉลาก
(Labeling) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
การเข้าสู่ร่างกายของสารเคมี ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย • ทางการกิน (Ingestion)
เกิดขึ้น เมื่อคนงานกินหรือสูบบุหรี่ด้วยมือที่เปื้อน สารเคมี หรือทานอาหารในที่ทางาน • ทางการหายใจ (Inhalation) สารจะปนกับอากาศเข้าสู่ปอด เมื่อมีการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอด สารจะตกค้าง อยู่ที่ปอด หรือละลายเข้าสู่กระแสเลือดแล้วไปสู่สมอง • ทางผิวหนัง (Skin) จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อผิวหนังมีบาดแผล
การเข้าสู่ร่างกายของสารเคมี ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
อาการแสดง เมื่อร่างกายได้รับสัมผัสสารเคมี ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ➢ อาการเฉียบพลัน
(Acute Toxicity) แสดงอาการพิษภายใน 24 ชั่วโมง ซึ่งอาการจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับปริมาณสารเคมีที่ได้รับ
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย อาการแสดง เมื่อร่างกายได้รับสัมผัสสารเคมี ➢ อาการเรื้อรัง
(Chronic Toxicity) แสดงอาการพิษหลังจากได้รับสารเคมี ติดต่อกันเป็นเวลานานกว่า 3 เดือนขึ้นไป ➢ อาการกึ่งเรื้อรัง (Subchornic Toxicity) แสดงอาการพิษหลังจากได้รับ สารเคมีติดต่อกันเป็นเวลานานประมาณ 1-3 เดือน
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย องค์ประกอบในการเกิดพิษของสารเคมี • คุณสมบัติทางเคมีของสารเคมี • คุณสมบัติทางกายภาพของสารเคมี •
ขนาดหรือปริมาณของสารเคมีที่ร่างกายได้รับ • ระยะเวลาที่ได้รับสารเคมี • อายุของผู้ที่ได้รับสารเคมี • เพศของผู้ที่ได้รับสารเคมี • ความต้านทานของแต่ละบุคคล
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย อวัยวะเป้าหมาย ความเป็นพิษของสารเคมี
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส
ภายในบริษัทฯ ▪ น้ายาล้างฟิล์ม XF-25/X-RAY FIXING ▪ น้ายาล้างฟิล์ม XF-25/X-RAY DEVELOPER ความเป็นอันตรายของสารเคมี ลักษณะงาน : ปฏิบัติงานล้างฟิล์ม ทางการหายใจ (Inhalation) : ก่อให้เกิดการระคายเคือง ระบบทางเดินหายใจส่วนต้น การรับประทาน (Ingestion): คลื่นไส้ และ อาเจียน สัมผัสทางผิวหนัง (Skin contact): ระคายเคืองผิวหนัง (มีความเป็นกรด) สัมผัสทางตา (Eye contact): ระคายเคืองดวงตา (มีความเป็นกรด)
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส
ภายในบริษัทฯ ข้อมูลการติดไฟและการระเบิด จุดวาบไฟ (Flash point) :ไม่ติดไฟ สารที่ใช้ในการดับเพลิง (Fire Extinguishing media): ผงเคมีแห้ง,น้า เมื่อเกิดเหตุเพลิง ไหม้ในพื้นที่จัดเก็บ คาแนะนาในการดับเพลิง : สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจส่วนต้น รวมถึง สวม ใส่อุปกรณ์ป้องกันดวงตา
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส
ภายในบริษัทฯ การปฐมพยาบาล กรณีการหายใจ (Inhalation) : เคลื่อนย้ายผู้ป่วย ออกจากพื้นที่ปฏิบัติงานโดยเร่งด่วน โดยเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปยังพื้นที่ที่มีอากาศไหลเวียน/นา ตัวส่งโรงพยาบาล กรณีการรับประทาน (Ingestion) :นาตัวส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด พร้อมเอกสาร SDS กรณีสัมผัสผิวหนัง (Skin contact) :ชาละล้างผิวหนังบริเวณที่มีการรับสัมผัส โดยการใช้น้า ไหลผ่าน 10-15 นาที กรณีเข้าตา (Eye contact) :ชาละล้างดวงตา โดยการใช้น้าสะอาดไหลผ่าน 10-15 นาที พร้อมนาตังผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส
ภายในบริษัทฯ อุปกรณ์คุ้มครองอันตรายส่วนบุคคล อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment) : หน้ากาก N95, แว่นป้องกันสารเคมี (chemical safety goggles) ถุงมือชนิด Neoprene
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส
ภายในบริษัทฯ ▪ น้ายา MT ( MAGNETIC WHITE PAINT _MWP-1) ▪ น้ายา PT ( DUBL-CHEK PENETRANT _DP-51) ความเป็นอันตรายของสารเคมี ทางการหายใจ (Inhalation) : มีอาการไอ คลื้นใส้วิงเวียนศรีษะ การรับประทาน (Ingestion): ในปริมาณเล็กน้อย ไม่พบอาการผิดปรกติ สัมผัสทางผิวหนัง (Skin contact): ระคายเคืองผิวหนัง (มีความเป็นกรด) สัมผัสทางตา (Eye contact): ระคายเคืองดวงตา (มีความเป็นกรด) ลักษณะงาน : การทดสอบโดยไม่ทาลายขั้นพื้นฐาน
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส
ภายในบริษัทฯ ข้อมูลการติดไฟและการระเบิด จุดวาบไฟ (Flash point) : เป็นสารไวไฟ สารที่ใช้ในการดับเพลิง (Fire Extinguishing media): ผงเคมีแห้ง คาแนะนาในการดับเพลิง : หากเกิดเพลิงไหม้ให้หล่อเย็นภาชะบรรจุด้วยการสเปร์ยละอองน้า
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส
ภายในบริษัทฯ การปฐมพยาบาล กรณีการหายใจ (Inhalation) : เคลื่อนย้ายผู้ป่วย ออกจากพื้นที่ปฏิบัติงานโดยเร่งด่วน โดยเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปยังพื้นที่ที่มีอากาศไหลเวียน/นา ตัวส่งโรงพยาบาล กรณีการรับประทาน (Ingestion) :นาตัวส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด พร้อมเอกสาร SDS กรณีสัมผัสผิวหนัง (Skin contact) :ชาละล้างผิวหนังบริเวณที่มีการรับสัมผัส โดยการใช้น้า ไหลผ่าน 10-15 นาที กรณีเข้าตา (Eye contact) :ชาละล้างดวงตา โดยการใช้น้าสะอาดไหลผ่าน 10-15 นาที พร้อมนาตังผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส
ภายในบริษัทฯ อุปกรณ์คุ้มครองอันตรายส่วนบุคคล อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment) : หน้ากากครึ่งหน้า ตัวกรองเดี่ยว,คู่ แว่นป้องกันสารเคมี (chemical safety goggles) ถุงมือชนิด Neoprene ไอระเหยสารตัวทาลาย
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส ในการปฏิบัติงานภายในพื้นที่ลูกค้า สารปรอท
(Mercury) ▪ ปรอทจะพบในอุตสาหกรรม น้ามัน และก๊าซทั่วโลก ปรอทสามารถคลายไอออกมาได้ ตลอดเวลาไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และเป็นพิษ ▪ ไอปรอทหนักกว่าอากาศ 7 เท่า จะสะสมในบริเวณที่ต่ามีการระบายอากาศไม่ดี ▪ เมื่อขบวนการผลิตเย็นลง หรือ ความดันลดลง สารปรอทจะแยกออกมาและเป็นโลหะ รวมตัวอยู่อุปกรณ์ พื้นผิวท่อ ถังในขบวนการผลิต ▪ บริเวณที่มีความเสี่ยงสูง ได้แก่ ที่อับอากาศ หรือ บริเวณต่าที่มีการไหลเวียน ของอากาศน้อย
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส ในการปฏิบัติงานภายในพื้นที่ลูกค้า สารปรอท
(Mercury) (ต่อ) ▪ การสัมผัสโดยการหายใจเอาไอปรอทเข้าไปในปริมาณสูงระยะเวลาสั้น(1-3mg/m3) เป็นเหตุให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร (คลื่นเหียน อาเจียน และท้องร่วง) ▪ หากสัมผัสเป็นระยะเวลานาน เป็นเหตุให้เกิดอาการเรื้อรัง เช่น ตัวสั่น บุคลิกภาพ เปลี่ยนหงุดหงิด ขี้อายประหม่า ซึมเศร้า ชักกระตุก ▪ การกลืนกินเป็นผลมาจากการสูบบุรี่ หรือรับประทานอาหารขณะที่มือปนเปื้อน ประมาณ 0.1% ของการกลืนกินปรอทจะถูกดูดซึมและเป็นเหตุให้เกิดพิษต่อร่างกายได้
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส ในการปฏิบัติงานภายในพื้นที่ลูกค้า สารปรอท
(Mercury) (ต่อ) พิษเฉียบพลัน มักเกิดจากการหายใจ หรือ กลืนกินปรอทอนินทรีย์เข้าไป สัญญลักษณ์ และอาการ มีไข้หนาวสั่น หายใจถี่สั้นๆ รับรสเหมือนมีโลหะในปาก เยื้อหุ้มปอดอักเสบ เจ็บหน้าอก อาจทาให้สับสนกับอาการของไข้ที่เกิดจากฟูมโลหะได้ อาการอื่นๆที่เกิดขึ้นปวดท้อง เซื่องซึม สับสน อาเจียน
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส ในการปฏิบัติงานภายในพื้นที่ลูกค้า สารปรอท
(Mercury) (ต่อ) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (PPE) หน้ากากป้องกันสารเคมี ▪ใช้ในการป้องไอสารปรอทที่หายใจเข้า ▪ผู้สวมใส่ต้องปรับหน้ากากให้เหมาะกับหน้าไม่รั่ว ▪ผู้สวมใส่จะไม่ได้รับไอปรอท ▪ตลับกรองปรอทมีอายุการใช้งานต้องตรวจสอบก่อน ใช้งานเสมอ Mercury Vapor
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส ในการปฏิบัติงานภายในพื้นที่ลูกค้า สารปรอท
(Mercury) (ต่อ) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (PPE) ▪ ชุดป้องกันสารเคมี ▪ แว่นตาป้องกันสารเคมี ▪ ถุงมือป้องกันสารเคมี
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สารเคมีอันตราย ที่พนักงาน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส ในการปฏิบัติงานภายในพื้นที่ลูกค้า สารปรอท
(Mercury) (ต่อ) “ศึกษา/ปฏิบัติตามข้อกาหนดภายใน เอกสารการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย( JSA ) ซึ่งกาหนด และ บังคับใช้โดยเจ้าของพื้นที่ ว่าลักษณะหรือขั้นตอนในการปฏิบัติงานของ ท่าน มีความเสี่ยงในการรับสัมผัส ปรอท หรือ ไอปรอท หรือไม่ รวมถึงมาตรฐานในการ ควบคุมและป้องกันอันตราย ”
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ข้อควรปฏิบัติเมื่อสัมผัสถูกสารเคมี • เมื่อสารเคมีเข้าตา • เมื่อสารเคมีถูกผิวหนัง •
เมื่อสูดดมสารเคมี • เมื่อกลืน-กินสารเคมี ต้องพิจารณาในข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (SDS) ร่วมด้วย
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ตอบคาถาม ข้อสงสัย