Início
Conheça mais
Enviar pesquisa
Carregar
Entrar
Cadastre-se
Anúncio
Check these out next
Risk matrix VS Risk profile
Suradet Sriangkoon
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
Yui Yuyee
Ppt.หูเสื่อม
Prachaya Sriswang
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Vongsakara Angkhakhummoola
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
Bangkok, Thailand
การจัดทำแผนดับเพลิง
9tong30
Ppt+การยศ..
Prachaya Sriswang
1
de
53
Top clipped slide
3.PPE
17 de Aug de 2019
•
0 gostou
3 gostaram
×
Seja o primeiro a gostar disto
mostrar mais
•
4,602 visualizações
visualizações
×
Vistos totais
0
No Slideshare
0
De incorporações
0
Número de incorporações
0
Baixar agora
Baixar para ler offline
Denunciar
Educação
3.PPE
wichayaa
Seguir
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Recomendados
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
Sahatchai
11.1K visualizações
•
84 slides
โรคจากการทำงาน nov2014
Hospital for Health
35.5K visualizações
•
64 slides
โครงการ Safety day 2014
Jiraporn Promsit
25.2K visualizações
•
18 slides
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
techno UCH
82.8K visualizações
•
99 slides
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
Tui Ka
9.8K visualizações
•
27 slides
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
techno UCH
35.1K visualizações
•
99 slides
Mais conteúdo relacionado
Apresentações para você
(20)
Risk matrix VS Risk profile
Suradet Sriangkoon
•
16.6K visualizações
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
•
50.1K visualizações
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
Yui Yuyee
•
16.1K visualizações
Ppt.หูเสื่อม
Prachaya Sriswang
•
5.6K visualizações
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Vongsakara Angkhakhummoola
•
1.9K visualizações
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
Bangkok, Thailand
•
6.9K visualizações
การจัดทำแผนดับเพลิง
9tong30
•
47.1K visualizações
Ppt+การยศ..
Prachaya Sriswang
•
13.8K visualizações
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
โรงพยาบาลสารภี
•
6.5K visualizações
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
Viam Manufacturing
•
36.6K visualizações
สารสังเคราะห์
Biobiome
•
29.1K visualizações
การยศาสตร์ (Ergonomics)
Kridsanapong Lertbumroongchai
•
990 visualizações
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
Suradet Sriangkoon
•
93.1K visualizações
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
•
21.5K visualizações
Light[1]
รุ่งรัตน์ คงใจมั่น
•
16.8K visualizações
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
•
41.8K visualizações
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
Terapong Piriyapan
•
2K visualizações
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
Teetut Tresirichod
•
28.3K visualizações
Presentation gmp
khunrit
•
31.2K visualizações
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
•
121.2K visualizações
Mais de wichayaa
(20)
API Training (03 Piping Components)
wichayaa
•
260 visualizações
API Training (02 Type of Weld)
wichayaa
•
51 visualizações
API Training (01 Introduction)
wichayaa
•
62 visualizações
API Training (04 Valves)
wichayaa
•
82 visualizações
UT for QLTM (Session 1)
wichayaa
•
81 visualizações
UT for QLTM (Session 3)
wichayaa
•
41 visualizações
UT for QLTM (Session 5)
wichayaa
•
44 visualizações
UT for QLTM (Session 2)
wichayaa
•
61 visualizações
UT for QLTM (Session 4)
wichayaa
•
60 visualizações
Tank Cleaning Training
wichayaa
•
75 visualizações
Company introduction for training
wichayaa
•
183 visualizações
MT-PT Chem tech comparison for training
wichayaa
•
67 visualizações
QLT Orientaion
wichayaa
•
334 visualizações
[PT II] PT EX WE-NDT-948 rev.01
wichayaa
•
133 visualizações
[PT II] ASEME B31.3
wichayaa
•
32 visualizações
[MT II] MT EX WE-NDT-824 Rev. 01
wichayaa
•
54 visualizações
[MT II] ASME B31.3
wichayaa
•
30 visualizações
[MT II] ASME Section V Article 7
wichayaa
•
62 visualizações
MT Level II training
wichayaa
•
414 visualizações
PT Level II Training (General)
wichayaa
•
337 visualizações
Anúncio
Último
(20)
การทำวิทยฐานะ.ppt
send2temp1
•
13 visualizações
Luận văn thạc sĩ toán học.
ssuser499fca
•
7 visualizações
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 3.pdf
PhanumatPH
•
14 visualizações
4conic_formula.pdf
SunisaTheswan
•
3 visualizações
Work trial presentation July-Sep2022.pptx
PitakthaiChamtim3
•
1 visão
pdf2.pdf
Sanzero1
•
6 visualizações
ที่พักแนะนำใกล้เคียงสถานที่จัดงาน
Postharvest Technology Innovation Center
•
123 visualizações
นิ่วในไต.pdf
ssuser49a477
•
8 visualizações
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
Bangkok University
•
5 visualizações
กิจกรรมชุมนุม ม.ต้น.pdf
ssusera453671
•
1 visão
เผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptx
ssuser819c0c
•
0 visão
ส30108 ประวัติศาสตร์ไทย 1 ปี 58.pdf
aholicmyaholic
•
2 visualizações
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
PhanumatPH
•
13 visualizações
label stoi exercise.pptx
ssuseref5b61
•
5 visualizações
คู่มือmanual.pptx
rdbkk02
•
2 visualizações
if-clause.ppt
Nicole Robin
•
6 visualizações
โครงงานวิทย์(แพ ฟอร์มาลีน).ppt
Supat Buddee
•
8 visualizações
Colorful STEM Poster.pdf
ssuser3873f6
•
7 visualizações
รายละเอียดการสอบคัดเลือก 2566 (รอบ3).pdf
Siraphop Ratanasuban
•
3 visualizações
06.pdf
NewyearNatthapong1
•
2 visualizações
3.PPE
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล 3.อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
1. เพื่อให้พนักงานสามารถใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้พนักงานสามารถบารุงรักษาอุปกรณ์คุ้มครอง
ความปลอดภัยส่วนบุคคล ที่ตนเองใช้งานอยู่ได้ 3. เพื่อให้พนักงานสามารถเลือกใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้ เหมาะสมกับงานได้ วัตถุประสงค์ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ข้อกาหนดเรื่อง PPE ของกฎหมายไทย 1.พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 หมวด 8 2. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน ( 17 ฉบับ ) แต่ฉบับได้ แบ่งแยกประเภทลักษณะของงาน และชนิดของอุปกรณ์ PPE 3. กาหนดมาตรฐานของอุปกรณ์ PPE ที่จาเป็นต้องใช้ในแต่ละงาน 4. ลูกจ้างจะมาต้องสวมใส่อุปกรณ์ PPE ที่นายจ้างจัดให้หากไม่สวมใส่ นายจ้างมีอานาจ สั่งให้หยุดการทางานได้ทันที อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
สาระสาคัญ ในกรณีที่สถานประกอบการไม่สามารถปรับปรุงสภาพพื้นที่ทางานให้มีมาตรฐาน ตามกฎหมายได้ หรือ มีค่าเกินมาตรฐานของกฎหมาย
จะต้องจัดให้ลูกจ้างสวมใส่ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตลอดเวลาที่ลูกจ้างทางานในพื้นที่นั้น ข้อกาหนดเรื่อง PPE ของกฎหมายไทย อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ข้อกาหนดเรื่อง PPE ของ
บริษัท ควอลลีเทค จากัด(มหาชน) กาหนดให้พนักงาน สวมใส่อุปกรณ์ดังต่อไปนี้ในการปฏิบัติงานทุกครั้ง 1. หมวกนิรภัย 2. แว่นตานิรภัย 3. ชุดปฏิบัติงาน QLT 4. รองเท้านิรภัย 5. PPE ตามมาตรฐาน หรือข้อกาหนด โดยเจ้าของพื้นที่ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
หากตรวจพบว่าพนักงาน ไม่ปฏิบัติตาม จะถูกลงโทษดังนี้ 1.ถูกสั่งระงับการปฏิบัติงาน
โดยทันที จนกว่าจะมีการแก้ไขให้เป็นไปตามข้อกาหนด 2.หากไม่มีการแก้ไข พนักงานจะถูกระงับการปฏิบัติงาน และ SAF จะจัดส่ง NCR ต่อแผนกต้นสังกัดของท่าน 3. แผนกต้นสังกัด พิจารณาบทลงโทษที่เหมาะสมต่อไป เช่น 3.1 การกระทาผิดข้อกาหนดครั้งแรก ตักเตือนด้วยวาจา พร้อมบันทึกเป็นลาย ลักษณ์อักษร 3.2 มีการกระทาผิดข้อกาหนดซ้า พิจารณาไม่จ่ายค่าแรง/หนังสือตักเตือน ข้อกาหนดเรื่อง PPE ของ บริษัท ควอลลีเทค จากัด(มหาชน) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล หมายถึง อุปกรณ์หรือสิ่งหนึ่งสิ่งใด ที่จะนามาสวมใส่บนส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือหลายส่วนของบุคคลนั้น
ๆ เพื่อป้องกันไม่ไห้ได้รับอันตรายจากการทางาน หรือลดความรุนแรงของการประสบอันตราย ความหมาย อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ประเภทของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 1. ป้องกันศีรษะ 6. ป้องกันเสียง 3.
ป้องกันระบ ทางเดิน หายใจ 4. ป้องกันดวงตา 2. ป้องกันใบหน้า 8. ป้องกันลาตัว 5. ป้องกันมือ 7. ป้องเท้า
ประโยชน์ของอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (PPE) 1. ป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงาน
เช่น แว่นตา 2. ลดความรุนแรงของการประสบอันตราย เช่น รองเท้าเซฟตี้ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ หมวกแข็ง ( Safety
Helmet ) ใช้สาหรับป้องกันวัตถุฟาดหรือตกใส่ศีรษะ ซึ่งบาง ประเภทสามารถ ต้านทานไฟฟ้าได้ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นกับศีรษะ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
วิธีการบารุงรักษาหมวกแข็ง 1.ตรวจหารอยแตกร้าว 2.ทาความสะอาดเป็นประจาด้วยน้าหรือน้าสบู่ 3.ห้ามเจาะรูเพิ่ม 4.อย่าทาตก ไม่ขว้าง หรือนั่งทับ 5.ห้ามนาหมวกไปตากแดดหรือทาสีเพิ่ม อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันตา (Eye Protection) อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและ ดวงตาอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
การบาดเจ็บที่ดวงตาเกิดจากอะไรได้บ้าง ฝุ่ นละอองที่มีขนาดใหญ่ การสัมผัสกับสารเคมี การไม่ป้องกันดูแลตนเองจากการทางานที่เสี่ยง การใช้อุปกรณ์ที่ผิดประเภท อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นกับดวงตา
แว่นตานิรภัย ( Safety
Glasses or Spectacle) สามารถทนทานต่อแรงกระแทก แรงเจาะ ความร้อน และสารเคมีได้ดีเป็น พิเศษ นอกจากนี้ยังมีกระบังข้าง ( Side Shield ) เพื่อป้องกันเศษวัสดุปลิว กระเด็นเข้าข้างแว่น อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นกับดวงตา
เหมาะจะใช้งานประเภทกลึงแต่งโลหะ หรืองานอื่น ๆที่เสี่ยงต่อวัสดุ กระเด็นมากระแทกดวงตา ลักษณะการใช้งาน อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
แว่นครอบตาป้องกันสารเคมี ป้องกันการกระเด็น หรือ ไอของสารเคมีและฝุ่นชนิดพิเศษ อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นกับดวงตา
แว่นครอบตาสาหรับงานเชื่อมหรือตัด มีเลนส์ลักษณะพิเศษ สาหรับป้องกันแสงจ้า จากการเชื่อมและตัด อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
หน้ากากป้องกันใบหน้า ( Face
Shield) * จะมีแผงใสโค้งครอบใบหน้าเพื่อป้องกันการกระเด็น กระแทกของ ของแข็งหรือแม้กระทั่งสารเคมีและวัสดุที่มีความร้อน จึงเหมาะ สาหรับที่จะใช้งานเจียร สกัด และงานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
วิธีดูแลรักษาหน้ากากป้องกันใบหน้า 1.ทาความสะอาดหลังใช้งานทุกวัน 2.ล้างด้วยน้าสบู่อ่อนๆ 3.ล้างด้วยน้าสะอาด 4.นาขึ้นมาแขวนไว้ปล่อยให้แห้งเอง 5.นาไปเก็บไว้ในที่ๆสะอาดปราศจากฝุ่น 6.ควรใช้เป็นของส่วนตัว อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันหู (Ear Protection) ได้แก่
ปลั๊กอุดหูลดเสียง (Ear Plugs) ครอบหูลดเสียง (Ear Muffs) ใช้ในกรณีที่ต้องทางานในสภาพแวดล้อมที่มีเสียงดังเป็นประจา การ ใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียงดังเพื่อช่วยลดระดับเสียงที่ดังเกินมาตรฐาน ลงให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัย อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
เครื่องป้องกันหู เป็นอุปกรณ์ป้องกันหูจากการได้ยินเสียงดังเป็นเวลานาน ๆ และป้องกันเศษวัสดุกระเด็นเข้าหู มาตรฐานของเสียง
สูตรคานวน T=8/2(L-90)/5 ระยะเวลาการทางาน (ชม./วัน) ระดับเสียงที่สัมผัสได้ ( เดซิเบลเอ) ไม่เกิน 7 91 8 90 เกินกว่า 8 80*มาตรฐานตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยการทางานเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม อุปกรณ์ป้องกันหู อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
การเลือกอุปกรณ์ป้องกันหู ควรคานึงถึง * เหมาะสมกับสถานที่ทางาน * สามารถลดความถี่เสียงได้ (ตรวจสอบจากเอกสารของผู้ผลิต) *
สะดวกสบายที่จะสามารถสวมใส่ ได้ ตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงานกับเสียงดัง อุปกรณ์ป้องกันหู อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
1.ปลั๊กลดเสียง (ear plugs)
อุปกรณ์ที่ทาด้วยพลาสติก ยาง หรือวัตถุอื่น ใช้ใส่ช่องหูทั้ง 2 ข้าง และจะต้องสามารถ ลดระดับเสียงได้ไม่ น้อยกว่า 15 เดซิเบล (เอ) 2.ครอบหูลดเสียง (ear muffs) เป็นอุปกรณ์ที่ทาด้วยพลาสติก ยาง หรือ วัตถุอื่นใช้ครอบหูทั้ง 2 ข้าง ต้องสามารถ ลดระดับเสียงลงได้ไม่ น้อยกว่า 25 เดซิเบล (เอ) อุปกรณ์ป้องกันหู อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
วิธีการใช้ ปลั๊กลดเสียง - มั่นใจว่าเครื่องป้องกันหูสามารถใส่เข้าไปในช่องหูได้สนิทหรือแนบกับใบหูอย่าง พอดี
โดย อุปกรณ์ป้องกันหู 1.สวมหูข้างขวา ก็ให้เอื้อมมือซ้ายผ่านหลัง ศีรษะไปดึงใบหูไปด้านหลัง 2.ใช้มือขวาจับปลั๊กลดเสียง ค่อยๆหมุนเข้าไป จนกระชับพอดี (ถ้าจะสวมหูข้างซ้าย กระทา ด้วยวิธีเดียวกัน) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
• ทาความสะอาดทุกวันหลังใช้งาน โดยใช้สบู่อ่อนละลายในน้าอุ่น
แล้วใช้ผ้าหรือ ทิชชูที่สะอาดเช็ดให้แห้ง • ถ้าเป็นชนิดฟองน้าหรือโฟม ให้ล้างด้วยน้าสะอาด, บีบน้าออก แล้วตากให้แห้ง • ถ้าเป็นชนิดสาลี หรือเส้นใยสังเคราะห์ ให้ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง • เมื่อทาความสะอาดแล้ว ควรเก็บในกล่องเฉพาะที่สะอาด ไม่ควรเก็บไว้ในที่มี อุณหภูมิสูง • ควรใช้เป็นของเฉพาะตัวแต่ละบุคคล วิธีดูแลรักษาปลั๊กลดเสียง อุปกรณ์ป้องกันหู อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Protective Device
) ได้แก่ หน้ากากป้องกันฝุ่น หน้ากากป้องกันไอระเหย ฯลฯ ใช้ในกรณีที่ต้องทางานในสถานที่อับอากาศและสารที่มีฝุ่นละออง ฟูมโลหะ ไอระเหย ของแก๊ส เพื่อป้องกันฝุ่นผงและสารเคมีที่เป็นพิษต่อระบบหายใจ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ผ้าปิดจมูกแบบบาง ประโยชน์ ใช้สาหรับป้องกันฝุ่ นละออง อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ผ้าปิดจมูกแบบตัวกรองคาร์บอน ประโยชน์ ใช้สำหรับป้องกันกลิ่น หรือ ไอสำรเคมี
ที่มีระดับไม่เกินมำตรฐำนที่กฎหมำยกำหนด อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจแบบมีใส้กรอง (Respiratory Protective Device
) ประโยชน์ ป้องกันฝุ่ นละอองหรือสารเคมี อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ตัวอย่าง วัสดุกรองอากาศ ตัวหน้ากาก ลิ้นหายใจออก สายรัดศีรษะ องค์ประอบของหน้ากากแบบมีใส้กรอง อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ปกป้องระบบหายใจแบบที่ใช้สายรัด 1.ครอบอุปกรณ์ลงบนจมูกและปากโดยยังไม่ต้องรัดสายด้านล่าง 2.ดึงสายรัดด้านบนขึ้นเหนือศีรษะแล้วรัดให้รั้งบริเวณจุดสูงสุดศีรษะ 3.เกี่ยวตะขอด้านล่างบริเวณหลังคอ 4.ปรับสายรัดเพื่อความกระชับ วิธีการสวมใส่ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ทดสอบแบบแรงดันอากาศ Positive ทดสอบแบบแรงดันอากาศ Negative 1.วางฝ่ามือลงบนตัวครอบวาล์วปล่อย อากาศออกแล้ว หายใจออก เบาๆ 2. (สังเกต)อุปกรณ์ป้องกันควร
พอง ออกเล็กน้อย 3.หากมีการรั่วของอากาศระหว่าง อุปกรณ์กับใบหน้าให้ ปรับตาแน่งอุปกรณ์และปรับสายรัด 4. หากอุปกรณ์ยังไม่แนบสนิท ห้าม เข้าไปในบริเวณที่มี อากาศปนเปื้อน 1.เอาหัวแม่มือหรือฝ่ามือทั้งสองข้าง กดลงจุดกึ่งกลาง ของตัวกรองอากาศแล้ว หายใจเข้า เบาๆ 2.(สังเกต)อุปกรณ์ป้องกันควร ยุบ ตัวเล็กน้อย 3.หากมีการรั่วของอากาศระหว่าง อุปกรณ์กับใบหน้า ให้ปรับตาแน่งอุปกรณ์และปรับสาย รัดอีก 4.หากอุปกรณ์ยังไม่แนบสนิท ห้าม เข้าไปในบริเวณ ที่มีอากาศปนเปื้อน
วิธีการบารุงรักษา 1. ทาความสะอาดทุกชิ้นหลังการใช้งานด้วยน้าหรือน้าสบู่ 2. หมั่นตรวจดูรอยชารุดฉีกขาดและความยึดหยุ่นของสายรัด 3.
เก็บไว้ในที่สะอาด อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันมือและแขน (Hand Protection) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันมือและแขน (Hand Protection) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
การเลือกถุงมือป้องกันอันตรายจากสารเคมี ขึ้นกับประเภทของอันตรายที่จะเกิดขึ้น ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นจาก MSDS ในการเลือกชนิดของถุงมือ -ตรวจสอบเรื่องวัสดุที่นามาใช้ทาถุงมือต้องไม่เกิดการรวมตัว
หรือทาปฏิกิริยากับ สารเคมีที่จะใช้งาน -เลือกประเภทของวัสดุที่ทาถุงมือให้เหมาะกับสารเคมีแต่ละประเภท อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันลาตัวและขา (Body and
Leg Protection) ได้แก่ เอี้ยม ชุดกันสารเคมี ชุดกันความร้อน และสะเก็ดไฟ ใช้สำหรับป้องกันลำตัวในกำรสัมผัสกับสำรเคมี หรือควำมร้อน จำกกำรทำงำน อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันลาตัวและขา (Body and
Leg Protection) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันเท้า (Foot Protection) ได้แก่
รองเท้าหัวเหล็ก รองเท้ายาง การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันขาและเท้าควรมีความเหมาะสมกับลักษณะงาน มีประสิทธิภาพในการป้องกันอันตราย มีขนาดและน้าหนักที่เหมาะสม อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับเท้า การกระแทก การกระฉอกและกระเด็น การกดทับ ไฟฟ้ารั่ว
ลื่น ความร้อน
อุปกรณ์ป้องกันขาและเท้า แบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้
2 ประเภทดังนี้ 1.ใช้สาหรับป้องกันสารเคมี ได้แก่รองเท้ายาง เป็นต้น 2.ใช้สาหรับป้องกันวัตถุตกใส่ ซึ่งรองเท้า ประเภทนี้จะมีแผ่นเหล็กรองไว้ทางส่วน หน้าของรองเท้า
ตัวอย่างอุปกรณ์ป้องกันเท้า (Foot Protection) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุบัติเหตุที่ขึ้นกับเท้า อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันการตกที่สูง การทางานบนที่สูงหรือทางานต่างระดับที่ต้องเสี่ยงกับการตกจากที่สูง อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
เข็มขัดนิรภัย • อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
อุปกรณ์ป้องกันลาตัวและอุปกรณ์อื่น ๆ 1. เข็มขัดรัดป้องกันหลัง
(Back Support Belt) ใช้สาหรับ ป้องกันกระดูกสันหลังเคลื่อน หรือบาดเจ็บจากการยกของหนัก
ป้ายบังคับการใช้อุปกรณ์ PPE คือ ป้ายสัญลักษณ์ที่แสดงให้เห็นว่าจุดปฏิบัติงานนั้น
ๆ ผู้ปฏิบัติงานต้องใช้อุปกรณ์ PPE ประเภทใด เพื่อให้เหมาะสมในการปฏิบัติงาน และพนักงานต้องปฏิบัติตามอย่าง เคร่งครัด มาตรฐานสากล ป้ายจะเป็นสี น้าเงิน - ขาว อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ตัวอย่างป้ายบังคับใช้อุปกรณ์ PPE
การเบิก – จ่าย
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยของพนักงาน รายการอุปกรณ์ฯ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ติดต่อได้ที่ Supervisor หรือ หัวหน้าส่วนงานของท่าน ▪ ร้องเท้านิรภัย ▪ แว่นตานิรภัย ▪ หมวกนิรภัย (สีขาว)
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ตอบคาถาม ข้อสงสัย
Anúncio