SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
การศึกษาเป็ นรายบุคคล

               รู ปแบบการเรี ยนการสอนโดยทัวไปแบ่งออกเป็ น 3 ลักษณะใหญ่ ๆ ได้ดงนี้ แบบ
                                          ่                                    ั
กลุ่มใหญ่เป็ นการสอนในห้องเรี ยนซึ่ งลักษณะการสอนแบบสื่ อความหมายด้านเดียว เช่นการ
บรรยายหน้าห้องเรี ยน หรื อการบรรยายในที่ประชุมใหญ่ แบบกลุ่มย่อยเป็ นการเรี ยนแบบกลุ่มที่
ผูเ้ รี ยนสามารถตอบโต้ได้ เป็ นการสอนแบบสื่ อความหมาย 2 ทาง เป็ นการสอนในกลุ่มเล็ก ๆ
หรื อกลุ่มย่อย สอนแบบทบทวนบทเรี ยน ระดมสมอง ส่ วนลักษณะที่สามเป็ นการสอนแบบ
รายบุคคล คือการเรี ยนการสอนเป็ นรายบุคคลตามความสามารถเฉพาะคน

ความหมายของการศึกษารายบุคคล

              การศึกษาลักษณะนี้เป็ นการจัดการเรี ยนการสอนที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่
ละบุคคล โดยผูเ้ รี ยนจะสามารถเรี ยนด้วยตนเองจากสื่ อต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ ชุ ดการสอน
บทเรี ยนสาเร็ จรู ปเป็ นต้น การศึกษารายบุคคลได้มีผให้ความคิดด้านต่าง ๆ ไว้ดงนี้
                                                           ู้                    ั
              เสาวนีย ์ สิ กขาบัณฑิต (2528) ได้ให้ความหมายของการเรี ยนการสอนแบบรายบุคคล
หรื อการเรี ยนด้วยตนเอง เป็ นการจัดการเรี ยนการศึกษาที่ผเู ้ รี ยนสามารถจัดการศึกษาเล่าเรี ยนได้
ด้วยตนเอง และก้าวไปตามความสามาร ความสนใจและความพร้อม โดยจัดสิ่ งแวดล้อมให้ผเู ้ รี ยน
ได้เรี ยนอย่างอิสระ
                                                                                     ่
              พัชรี พลาวงศ์(2526:83) ได้ให้ความหมายของการเรี ยนด้วยตนเอง ไว้วา การเรี ยน
ด้วยตนเองหมายถึง วิชาที่เรี ยนชนิดหนึ่งที่มีโครงสร้าง มีระบบที่สามารถตอบสนองต่อความ
ต้องการของผูเ้ รี ยนได้ การเรี ยนแบบนี้ผเู ้ รี ยนมีอิสระในการเลือกเรี ยนตามเวลา สถานที่ ระยะเวลา
ที่ในการเรี ยนแต่ละบท แต่จะต้องจากัดภายใต้โครงสร้างของบทเรี ยนนั้น ๆ เพราะ แต่ละบทเรี ยน
จะมีวการชี้แนะในคู่มือ (Study Guide)
        ี
              ประกายวรรณ์ มณี แจ่ม (2536:49) กล่าวว่า การจัดการศึกษาแนวใหม่ตองคานึงถึง ้
ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Difference) ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากพันธุกรรม
สิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติ วัฒนธรรมรวมทั้งความสามารถและประสบการณ์ที่แตกต่าง จึงทาให้
เกิดการเรี ยนรู ้ที่แตกต่างกันด้วย เหจุน้ ี จึงมีผคิดวิธีการจัดการศึกษาตามความสามารถของแต่ละ
                                                  ู้
บุคคลขึ้น เพื่อช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนตามความสามารถของตน และเรี ยกว่า การศึกษารายบุคคล
หรื อการศึกษาเอกัตภาพ
สุ รางค์ โค้วตระกูล (2533:227) กล่าวว่า เป็ นการสอนนักเรี ยนตัวต่อตัวทีละคน
หรื อการสอนนักเรี ยนกลุ่มหนึ่งมีลกษณะคล้ายคลึงกันทางระดับสติปัญญา ความสามารถ ความ
                                        ั
ต้องการและแรงจูงใจ โดยครู จดวัตถุประสงค์เฉพาะหน่วยการเรี ยนหรทอบทเรี ยนพร้อมทั้งเนื้ อหา
                                   ั
และอุปกรณ์ เมื่อนักเรี ยนเรี ยนจบหน่วยการเรี ยนจะได้รับบททดสอบเพื่อจะทราบว่าได้เรี ยนรู ้ตาม
วัตถุประสงค์ที่ต้ งไว้หรื อไม่
                    ั
                                                                        ่
                จริ ยา เหนียวเฉลย (2535:5) ได้ให้ความหมายไว้วา การเรี ยนรู ้เป็ นรายบุคคลตาม
ความสามารถเฉพาะคนโดยผูเ้ รี ยนจะสามารถประเมินผลการเรี ยนรู้ดวยตนเองจากสื่ อนานาประเภท
                                                                          ้
เช่น บทเรี ยนสาเร็ จรู ป เครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องวีดิทศน์ สไลด์ รู ปภาพ ฟิ ล์ม สคริ ป เทปเสี ยง
                                                                ั
และจากชุดการสอน เป็ นต้น
                กิดานันท์ มะลิทอง (2540:116 ) ได้ให้ความหมายของการสอนรายบุคคลไว้วา            ่
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งเร้ากับการตอบสนองและการเรี ยนเสริ มแรงเป็ นสิ่ งสาคัญ โดยมีจุดมุ่งก
มายเพื่อนาผูเ้ รี ยนไปสู่ การเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพซึ่ งอาศัยการสอนที่มีการวางโปรแกรมไว้
ล่วงหน้า เป็ นการให้ผเู ้ รี ยนมีโอกาสเรี ยนรู ้ดวยตนเอง และได้รับผลป้ อนกลับทันทีและให้ผเู้ รี ยน
                                                 ้
ได้เรี ยนไปทีละขั้นตอนความอย่างเหมาะสมตามความต้องการและความสามารถของตนเอง
                          ่
                สรุ ปได้วา การเรี ยนการสอนรายบุคคลหรื อการเรี ยนด้วยตนเอง หรื อการเรี ยน
รายบุคคลเป็ นรู ปแบบหนึ่งของการเรี ยนการสอน โดยเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนสามารถเลือกเรี ยนตาม
ความสามารถ ความสนใจของตนเอง โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่ งได้แก่ความ
แตกต่างด้านความสามารถ สติปัญญา ความต้องการ ความสนใจ ด้านร่ างกาย อารมณ์ และสังคม
โดยการเรี ยนด้วยตนเองเป็ นการประยุกต์ร่วมกันระหว่างเทคนิคและสื่ อการสอนให้สอดคล้องกับ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล ได้แก่ การเรี ยนการสอนแบบโปรแกรม ชุดการเรี ยนการสอน การ
                             ่
จัดตารางเรี ยนแบบยืดหยุน การสอนแบบโมดูล การสอนแบบ PSI ซึ่ งวิธีการเรี ยนเหล่านี้จะช่วย
เสริ มประสิ ทธิ ภาพของการดาเนินการจัดการเรี ยนการสอนได้อย่างเต็มที่

วัตถุประสงค์ ของการจัดการเรียนการสอนรายบุคคล

              ในการจัดการเรี ยนการสอนรายบุคคล จะต้องยึดหลักปรัชญาทางการศึกษา และ
จิตวิทยาการเรี ยนรู ้ เพื่อหาวิธีการจัดการเรี ยนการสอนให้เหมาะกับผูเ้ รี ยน วัตถุประสงค์ในการ
จัดการเรี ยนการสอนรายบุคคลจึงมุ่งไปสู่ ผเู ้ รี ยนเป็ นหลัก เสาวนีย ์ สิ กขาบัณฑิต (2536:23-25)
กล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการจัดการเรี ยนการสอนรายบุคคลสรุ ปได้ดงนี้       ั
1. การเรี ยนการสอนรายบุคคล มุ่งสนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกรับผิดชอบการเรี ยนรู ้
                                                                                   ั
รู้จกแก้ปัญหาและตัดสิ นใจเอง
      ั
                       2. การเรี ยนการสอนรายบุคคล สนองความแตกต่างของผูเ้ รี ยน นันคือผูเ้ รี ยนทุกคน
                                                                                           ่
                                      ่
ย่อมมีความแตกต่างกัน ไม่วาในด้านบุคลิกภาพ สติปัญญา หรื อความสนใจ โดยเฉพาะความ
แตกต่างที่มีผลต่อการเรี ยนรู ้ 4 ประการคือ
                               2.1 ความแตกต่างในด้านอัตราเร็ วของการเรี ยนรู ้ (Rate of Learning)
ผูเ้ รี ยนแต่ละคนจะใช่เวลาในการเรี ยนรู ้ทาความเข้าใจในสิ่ งเดียวกันในเวลาที่ต่างกัน
                               2.2 ความแตกต่างในเรื่ องความหมาย (Ability) เช่น ความฉลาด
ความสามารถพิเศษต่าง ๆ
                               2.3 ความแตกต่างในเรื่ องวิธีการสอน (Style of Learning) ผูเ้ รี ยนเกิดการ
เรี ยนรู้ในวิธีที่แตกต่างกัน
                               2.4 ความแตกต่างในเรื่ องความสนใจและความชอบ (Interests and
Preference)
                       3. การเรี ยนการสอนรายบุคคล เน้นเสรี การเรี ยนรู้ ถ้าผูเ้ รี ยนเรี ยนด้วยความ
อยากเรี ยน เรี ยนด้วยความกระตือรื อร้นที่เกิดขึ้น ผูเ้ รี ยนจะเกิดแรงจูงใจและการกระตุนในเกิดการ ้
พัฒนาการเรี ยนรู ้โดนครู ไม่จาเป็ นต้องทาโทษ หรื อให้รางวัล ผูเ้ รี ยนจะรู ้จกตนเอง มีความมันใน
                                                                                     ั                ่
การที่จะก้าวไปข้างหน้าตามความพร้อมและความสามารถของตนเอง
                                                             ่ ั
                       4. การเรี ยนการสอนรายบุคคล ขึ้นอยูกบกระบวนการและวิธีการที่เสนอความรู ้
ให้แก่นกเรี ยน การเรี ยนการสอนแบบนี้ เชื่อว่าการเรี ยนรู ้เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละบุคคล
             ั
การเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นเร็ วหรื อช้าจะเกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยนนานหรื อไม่
                      นอกจากจะขึ้นกับความสามารถและความสนใจของผูเ้ รี ยน ดังนั้นการกาหนดให้
ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ในเรื่ องหนึ่ง ๆ ในระยะเวลาหนึ่งและเรี ยนรู ้ดวยวิธีการเดียวจะเป็ นการไม่ยติธรรม
                                                                     ้                              ุ
แก่ผเู ้ รี ยนผูเ้ รี ยนควรจะได้เป็ นผูกาหนดเวลาด้วยตนเอง
                                        ้
                       5. การเรี ยนการสอนรายบุคคล มุ่งแก้ปัญหายกง่ายของบทเรี ยนเป็ นการสนองตอบ
ที่วาการศึกษาควรมีระดับแตกต่างกันไปตามความยากง่าย การจัดการเรี ยนการสอนรายบุคคลมุ่ง
        ่
สอนผูเ้ รี ยนตามความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยคานึงถึงความสามารถ ความสนใจ ความพร้อม
ความถนัด ในการจัดการเรี ยนการสอนให้บรรลุเป้ าหมายที่วางไว้ควรวางขั้นตอนในการดาเนินงาน
กาหนดการเรี ยนการสอนให้เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
ประเภทของการศึกษารายบุคคล

             กาเย่ และบริ กส์ (Gagne and Briggs 1974:185-187) ได้กล่าวถึงการเรี ยนด้วย
ตนเองว่า เป็ นหนทางที่ทาให้การสอนบรรลุจุดมุ่งหมายตามความต้องการ (Need) และให้ความ
สอดคล้องกับบุคลิก (Characteristics) ของผูเ้ รี ยนแต่ละคน โดยมีจุดมุ่งหมายสาคัญ 5 ปราการคือ
             1. เพื่อเป็ นแนวทางในการประเมินทักษะเบื้องต้นของผูเ้ รี ยน
             2. เพื่อช่วยในการค้นหาจุดเริ่ มต้นของผูเ้ รี ยนแต่ละคนในการจัดลาดับการเรี ยนตาม
                 จุดมุ่งหมาย
             3. ช่วยในการจัดวัสดุและสื่ อให้เหมาะกับการเรี ยน
             4. เพื่อสะดวกต่อการประเมินผลและส่ งเสริ มความก้าวหน้าของนักเรี ยนแต่ละคน
             5. เพื่อให้ผเู้ รี ยนเรี ยนตามอัตราความสามารถของตนเอง

ขั้นตอนการดาเนินงานการจัดการเรียนการสอนเป็ นราบุคคล

              เอให้กรเรี ยนการสอนรายบุคคลบรรลุเป้ าหมาย ครู ควรวางขั้นตอนในการดาเนิ นงาน
การจัดการเรี ยนการสอน ดังที่ เสาวนีย ์ สิ กขาบัณฑิต (2536:26-27) กลว่าสรุ ปไว้ดงนี้
                                                                                 ั
              1. ศึกษาปัญหาและความต้องการของผูเ้ รี ยน
              2. กาหนดหลักสู ตร โดยถือหลักการจัดประสบการณ์ที่มีผเู ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง
              3. กาหนดจุดมุ่งหมายโดยยึดหลักความแตกต่างระหว่างบุคคลและมุ่งให้ผเู ้ รี ยนก้าว
ตามความสามารถ ความสนใจ และความพร้อมของตนเอง
              4. กาหนดเนื้ อหาและประสบการณ์ โดยการนาหลักสู ตรมาแบ่งเนื้อหาเป็ น ตอน
บทหน่วย และกาหนดความคิดรวบยอดให้เด่นชัด
              5. กาหนดแผนการเรี ยนการสอนเพื่อให้ผใช้ดาเนิ นการได้ถูกต้อง
                                                     ู้
              6. กาหนดวิธีการเรี ยนการสอนรวมทั้งสื่ อและกิจกรรม
              7. การประเมินความก้าวหน้ากาหนดแนวการประเมินผลไว้ให้เรี ยบร้อยทั้งก่อน
เรี ยนและหลังเรี ยนตลอดจนการรายงานความก้าวหน้าในการเรี ยนไว้อย่างชัดเจน
ข้ อดีและข้ อเสี ยของการศึกษารายบุคคล

              นักการศึกษาหลายท่านได้กล่าวข้อดีและข้อจากัดของการศึกษารายบุคคล สรุ ปได้
ดังนี้ (วีระ ไทยพานิช 2529: กิดานันท์ มะลิทอง 2540)

             ข้ อดีของการศึกษารายบุคคล
                  1. เป็ นการศึกษาที่ให้ความสาคัญและคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
                                                                  ่ ั
                  2. ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนได้เร็ วหรื อช้าขึ้นอยูกบความสามรถและความสนใจของ
แต่ละคน
                   3. ผูเ้ รี ยนมีอิสระในการเรี ยนมากกว่าการเรี ยนการสอนตามปกติ
                   4. สามารถจูงใจให้ผเู ้ รี ยนชอบบรรยากาศในการเรี ยนและดรงาเรี ยนมากขึ้น
                   5. ครู ผสอนมีเวลาทางานและให้ความสนใจกับผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคลได้มากขึ้น
                               ู้
                   6. สื่ อที่ใช้ในการศึกษาได้รับการทดสอบและการทดลองมาก่อนแล้วว่าสามารถ
จะใช้เรี ยนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
                   7. สื่ อที่ใช้ในการศึกษามีหลายชนิดให้เลือกและมักใช้ในรู ปสื่ อประสม ซึ่งสื่ อ
บางรู ปแบบสามารถมีปฏิสมพันธ์กบผูเ้ รี ยนได้ดวย เช่น บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เป็ นต้น
                                  ั   ั           ้

             ข้ อเสี ยของการศึกษารายบุคคล
                    1. กรณี ที่ผเู ้ รี ยนมีอายุนอยและยังไม่มีประสบการณ์เพียงพอที่จะควบคุม
                                                  ้
การเรี ยนของตนเองได้ อาจทาให้การเรี ยนไม่ประสบผลสาเร็ จได้
                    2. ผูสอนต้องมีความรู ้ในการจัดเตรี ยมสื่ อการเรี ยนการสอนในแต่ละวิชาให้
                           ้
เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน โดยคานึ งถึงบุคลิกภาพและความแตกต่างของบุคคลของผูเ้ รี ยนแต่ละคนด้วย
                    3. วิชาที่เรี ยน โดยการเรี ยนรายบุคคลมีจานวนจากัด เนื่ องจากบางวิชาไม่
สามารถให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนได้อย่างลึกซึ้ งได้ดวยตนเอง
                                                ้
                    4. ในกรณี ผสอนไม่มีเวลาให้แก่ผเู ้ รี ยนได้มากพอ จะทาให้ผเู้ รี ยนรู้สึกเหมือน
                                      ู้
       ่
ให้อยูโดดเดี่ยว อาจส่ งผลให้การเรี ยนล้มเหลวได้
                                                                            ่
                    สาหรับการศึกษารายบุคคลที่กล่าวมาข้างต้นพอสรุ ปได้วา บุคคลแต่ละคนมี
ความสามารถแตกต่างกัน ทั้งทางด้านร่ างกาย ความคิดและสติปัญญา ความสามารถด้านต่าง ๆ
ของแต่ละบุคคลจึงต่างกันไปด้วย ด้านการศึกษาก็เช่นกัน ผูเ้ รี ยนมีความสามารถของผูเ้ รี ยนที่
แตกต่างกันออกไปจึงส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนตามความสามารถโดยไม่มีความกังวลใจ การศึกษา
รายบุคคลเป็ นการประยุกต์ร่วมกันระหว่างเทคนิคและสื่ อการสอน จึงช่วยเสริ มประสอทธิ ภาพของ
ผูเ้ รี ยนที่ตองการศึกษาด้วยตนเองเป็ นอย่างดี
              ้



แหล่งที่มา :

กมลรัตน์ หล้าสุ วงษ์. จิตวิทยาการศึกษา. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามงกุฎราชวิทยาลัย,
        2533.
ชม ภูมิภาค. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุ งเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2516.
พรรณี ช.เจนจิต. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุ งเทพฯ : บริ ษท ต้นอ้อแกรมมี่ จากัด, 2538.
                                                          ั

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51Weerachat Martluplao
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าวโครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าวi_drm
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfKatewaree Yosyingyong
 
Power point งานสุขศึกษา 2
Power point งานสุขศึกษา 2Power point งานสุขศึกษา 2
Power point งานสุขศึกษา 2natnicha rurkrat
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนKanlayaratKotaboot
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 

Mais procurados (20)

7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าวโครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
 
Power point งานสุขศึกษา 2
Power point งานสุขศึกษา 2Power point งานสุขศึกษา 2
Power point งานสุขศึกษา 2
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 

Destaque

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
หลักสูตรเอกัตบุคคล
หลักสูตรเอกัตบุคคลหลักสูตรเอกัตบุคคล
หลักสูตรเอกัตบุคคลChada Sinp
 
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21krupornpana55
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]CMRU
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShareSlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Destaque (16)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
Ahmad CV 2015
Ahmad CV 2015Ahmad CV 2015
Ahmad CV 2015
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
หลักสูตรเอกัตบุคคล
หลักสูตรเอกัตบุคคลหลักสูตรเอกัตบุคคล
หลักสูตรเอกัตบุคคล
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Semelhante a บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล

ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149gam030
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3wanneemayss
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3benty2443
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nattawad147
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 

Semelhante a บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล (20)

ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 

บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล

  • 1. การศึกษาเป็ นรายบุคคล รู ปแบบการเรี ยนการสอนโดยทัวไปแบ่งออกเป็ น 3 ลักษณะใหญ่ ๆ ได้ดงนี้ แบบ ่ ั กลุ่มใหญ่เป็ นการสอนในห้องเรี ยนซึ่ งลักษณะการสอนแบบสื่ อความหมายด้านเดียว เช่นการ บรรยายหน้าห้องเรี ยน หรื อการบรรยายในที่ประชุมใหญ่ แบบกลุ่มย่อยเป็ นการเรี ยนแบบกลุ่มที่ ผูเ้ รี ยนสามารถตอบโต้ได้ เป็ นการสอนแบบสื่ อความหมาย 2 ทาง เป็ นการสอนในกลุ่มเล็ก ๆ หรื อกลุ่มย่อย สอนแบบทบทวนบทเรี ยน ระดมสมอง ส่ วนลักษณะที่สามเป็ นการสอนแบบ รายบุคคล คือการเรี ยนการสอนเป็ นรายบุคคลตามความสามารถเฉพาะคน ความหมายของการศึกษารายบุคคล การศึกษาลักษณะนี้เป็ นการจัดการเรี ยนการสอนที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ ละบุคคล โดยผูเ้ รี ยนจะสามารถเรี ยนด้วยตนเองจากสื่ อต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ ชุ ดการสอน บทเรี ยนสาเร็ จรู ปเป็ นต้น การศึกษารายบุคคลได้มีผให้ความคิดด้านต่าง ๆ ไว้ดงนี้ ู้ ั เสาวนีย ์ สิ กขาบัณฑิต (2528) ได้ให้ความหมายของการเรี ยนการสอนแบบรายบุคคล หรื อการเรี ยนด้วยตนเอง เป็ นการจัดการเรี ยนการศึกษาที่ผเู ้ รี ยนสามารถจัดการศึกษาเล่าเรี ยนได้ ด้วยตนเอง และก้าวไปตามความสามาร ความสนใจและความพร้อม โดยจัดสิ่ งแวดล้อมให้ผเู ้ รี ยน ได้เรี ยนอย่างอิสระ ่ พัชรี พลาวงศ์(2526:83) ได้ให้ความหมายของการเรี ยนด้วยตนเอง ไว้วา การเรี ยน ด้วยตนเองหมายถึง วิชาที่เรี ยนชนิดหนึ่งที่มีโครงสร้าง มีระบบที่สามารถตอบสนองต่อความ ต้องการของผูเ้ รี ยนได้ การเรี ยนแบบนี้ผเู ้ รี ยนมีอิสระในการเลือกเรี ยนตามเวลา สถานที่ ระยะเวลา ที่ในการเรี ยนแต่ละบท แต่จะต้องจากัดภายใต้โครงสร้างของบทเรี ยนนั้น ๆ เพราะ แต่ละบทเรี ยน จะมีวการชี้แนะในคู่มือ (Study Guide) ี ประกายวรรณ์ มณี แจ่ม (2536:49) กล่าวว่า การจัดการศึกษาแนวใหม่ตองคานึงถึง ้ ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Difference) ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากพันธุกรรม สิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติ วัฒนธรรมรวมทั้งความสามารถและประสบการณ์ที่แตกต่าง จึงทาให้ เกิดการเรี ยนรู ้ที่แตกต่างกันด้วย เหจุน้ ี จึงมีผคิดวิธีการจัดการศึกษาตามความสามารถของแต่ละ ู้ บุคคลขึ้น เพื่อช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนตามความสามารถของตน และเรี ยกว่า การศึกษารายบุคคล หรื อการศึกษาเอกัตภาพ
  • 2. สุ รางค์ โค้วตระกูล (2533:227) กล่าวว่า เป็ นการสอนนักเรี ยนตัวต่อตัวทีละคน หรื อการสอนนักเรี ยนกลุ่มหนึ่งมีลกษณะคล้ายคลึงกันทางระดับสติปัญญา ความสามารถ ความ ั ต้องการและแรงจูงใจ โดยครู จดวัตถุประสงค์เฉพาะหน่วยการเรี ยนหรทอบทเรี ยนพร้อมทั้งเนื้ อหา ั และอุปกรณ์ เมื่อนักเรี ยนเรี ยนจบหน่วยการเรี ยนจะได้รับบททดสอบเพื่อจะทราบว่าได้เรี ยนรู ้ตาม วัตถุประสงค์ที่ต้ งไว้หรื อไม่ ั ่ จริ ยา เหนียวเฉลย (2535:5) ได้ให้ความหมายไว้วา การเรี ยนรู ้เป็ นรายบุคคลตาม ความสามารถเฉพาะคนโดยผูเ้ รี ยนจะสามารถประเมินผลการเรี ยนรู้ดวยตนเองจากสื่ อนานาประเภท ้ เช่น บทเรี ยนสาเร็ จรู ป เครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องวีดิทศน์ สไลด์ รู ปภาพ ฟิ ล์ม สคริ ป เทปเสี ยง ั และจากชุดการสอน เป็ นต้น กิดานันท์ มะลิทอง (2540:116 ) ได้ให้ความหมายของการสอนรายบุคคลไว้วา ่ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งเร้ากับการตอบสนองและการเรี ยนเสริ มแรงเป็ นสิ่ งสาคัญ โดยมีจุดมุ่งก มายเพื่อนาผูเ้ รี ยนไปสู่ การเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพซึ่ งอาศัยการสอนที่มีการวางโปรแกรมไว้ ล่วงหน้า เป็ นการให้ผเู ้ รี ยนมีโอกาสเรี ยนรู ้ดวยตนเอง และได้รับผลป้ อนกลับทันทีและให้ผเู้ รี ยน ้ ได้เรี ยนไปทีละขั้นตอนความอย่างเหมาะสมตามความต้องการและความสามารถของตนเอง ่ สรุ ปได้วา การเรี ยนการสอนรายบุคคลหรื อการเรี ยนด้วยตนเอง หรื อการเรี ยน รายบุคคลเป็ นรู ปแบบหนึ่งของการเรี ยนการสอน โดยเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนสามารถเลือกเรี ยนตาม ความสามารถ ความสนใจของตนเอง โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่ งได้แก่ความ แตกต่างด้านความสามารถ สติปัญญา ความต้องการ ความสนใจ ด้านร่ างกาย อารมณ์ และสังคม โดยการเรี ยนด้วยตนเองเป็ นการประยุกต์ร่วมกันระหว่างเทคนิคและสื่ อการสอนให้สอดคล้องกับ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ได้แก่ การเรี ยนการสอนแบบโปรแกรม ชุดการเรี ยนการสอน การ ่ จัดตารางเรี ยนแบบยืดหยุน การสอนแบบโมดูล การสอนแบบ PSI ซึ่ งวิธีการเรี ยนเหล่านี้จะช่วย เสริ มประสิ ทธิ ภาพของการดาเนินการจัดการเรี ยนการสอนได้อย่างเต็มที่ วัตถุประสงค์ ของการจัดการเรียนการสอนรายบุคคล ในการจัดการเรี ยนการสอนรายบุคคล จะต้องยึดหลักปรัชญาทางการศึกษา และ จิตวิทยาการเรี ยนรู ้ เพื่อหาวิธีการจัดการเรี ยนการสอนให้เหมาะกับผูเ้ รี ยน วัตถุประสงค์ในการ จัดการเรี ยนการสอนรายบุคคลจึงมุ่งไปสู่ ผเู ้ รี ยนเป็ นหลัก เสาวนีย ์ สิ กขาบัณฑิต (2536:23-25) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการจัดการเรี ยนการสอนรายบุคคลสรุ ปได้ดงนี้ ั
  • 3. 1. การเรี ยนการสอนรายบุคคล มุ่งสนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกรับผิดชอบการเรี ยนรู ้ ั รู้จกแก้ปัญหาและตัดสิ นใจเอง ั 2. การเรี ยนการสอนรายบุคคล สนองความแตกต่างของผูเ้ รี ยน นันคือผูเ้ รี ยนทุกคน ่ ่ ย่อมมีความแตกต่างกัน ไม่วาในด้านบุคลิกภาพ สติปัญญา หรื อความสนใจ โดยเฉพาะความ แตกต่างที่มีผลต่อการเรี ยนรู ้ 4 ประการคือ 2.1 ความแตกต่างในด้านอัตราเร็ วของการเรี ยนรู ้ (Rate of Learning) ผูเ้ รี ยนแต่ละคนจะใช่เวลาในการเรี ยนรู ้ทาความเข้าใจในสิ่ งเดียวกันในเวลาที่ต่างกัน 2.2 ความแตกต่างในเรื่ องความหมาย (Ability) เช่น ความฉลาด ความสามารถพิเศษต่าง ๆ 2.3 ความแตกต่างในเรื่ องวิธีการสอน (Style of Learning) ผูเ้ รี ยนเกิดการ เรี ยนรู้ในวิธีที่แตกต่างกัน 2.4 ความแตกต่างในเรื่ องความสนใจและความชอบ (Interests and Preference) 3. การเรี ยนการสอนรายบุคคล เน้นเสรี การเรี ยนรู้ ถ้าผูเ้ รี ยนเรี ยนด้วยความ อยากเรี ยน เรี ยนด้วยความกระตือรื อร้นที่เกิดขึ้น ผูเ้ รี ยนจะเกิดแรงจูงใจและการกระตุนในเกิดการ ้ พัฒนาการเรี ยนรู ้โดนครู ไม่จาเป็ นต้องทาโทษ หรื อให้รางวัล ผูเ้ รี ยนจะรู ้จกตนเอง มีความมันใน ั ่ การที่จะก้าวไปข้างหน้าตามความพร้อมและความสามารถของตนเอง ่ ั 4. การเรี ยนการสอนรายบุคคล ขึ้นอยูกบกระบวนการและวิธีการที่เสนอความรู ้ ให้แก่นกเรี ยน การเรี ยนการสอนแบบนี้ เชื่อว่าการเรี ยนรู ้เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละบุคคล ั การเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นเร็ วหรื อช้าจะเกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยนนานหรื อไม่ นอกจากจะขึ้นกับความสามารถและความสนใจของผูเ้ รี ยน ดังนั้นการกาหนดให้ ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ในเรื่ องหนึ่ง ๆ ในระยะเวลาหนึ่งและเรี ยนรู ้ดวยวิธีการเดียวจะเป็ นการไม่ยติธรรม ้ ุ แก่ผเู ้ รี ยนผูเ้ รี ยนควรจะได้เป็ นผูกาหนดเวลาด้วยตนเอง ้ 5. การเรี ยนการสอนรายบุคคล มุ่งแก้ปัญหายกง่ายของบทเรี ยนเป็ นการสนองตอบ ที่วาการศึกษาควรมีระดับแตกต่างกันไปตามความยากง่าย การจัดการเรี ยนการสอนรายบุคคลมุ่ง ่ สอนผูเ้ รี ยนตามความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยคานึงถึงความสามารถ ความสนใจ ความพร้อม ความถนัด ในการจัดการเรี ยนการสอนให้บรรลุเป้ าหมายที่วางไว้ควรวางขั้นตอนในการดาเนินงาน กาหนดการเรี ยนการสอนให้เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
  • 4. ประเภทของการศึกษารายบุคคล กาเย่ และบริ กส์ (Gagne and Briggs 1974:185-187) ได้กล่าวถึงการเรี ยนด้วย ตนเองว่า เป็ นหนทางที่ทาให้การสอนบรรลุจุดมุ่งหมายตามความต้องการ (Need) และให้ความ สอดคล้องกับบุคลิก (Characteristics) ของผูเ้ รี ยนแต่ละคน โดยมีจุดมุ่งหมายสาคัญ 5 ปราการคือ 1. เพื่อเป็ นแนวทางในการประเมินทักษะเบื้องต้นของผูเ้ รี ยน 2. เพื่อช่วยในการค้นหาจุดเริ่ มต้นของผูเ้ รี ยนแต่ละคนในการจัดลาดับการเรี ยนตาม จุดมุ่งหมาย 3. ช่วยในการจัดวัสดุและสื่ อให้เหมาะกับการเรี ยน 4. เพื่อสะดวกต่อการประเมินผลและส่ งเสริ มความก้าวหน้าของนักเรี ยนแต่ละคน 5. เพื่อให้ผเู้ รี ยนเรี ยนตามอัตราความสามารถของตนเอง ขั้นตอนการดาเนินงานการจัดการเรียนการสอนเป็ นราบุคคล เอให้กรเรี ยนการสอนรายบุคคลบรรลุเป้ าหมาย ครู ควรวางขั้นตอนในการดาเนิ นงาน การจัดการเรี ยนการสอน ดังที่ เสาวนีย ์ สิ กขาบัณฑิต (2536:26-27) กลว่าสรุ ปไว้ดงนี้ ั 1. ศึกษาปัญหาและความต้องการของผูเ้ รี ยน 2. กาหนดหลักสู ตร โดยถือหลักการจัดประสบการณ์ที่มีผเู ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง 3. กาหนดจุดมุ่งหมายโดยยึดหลักความแตกต่างระหว่างบุคคลและมุ่งให้ผเู ้ รี ยนก้าว ตามความสามารถ ความสนใจ และความพร้อมของตนเอง 4. กาหนดเนื้ อหาและประสบการณ์ โดยการนาหลักสู ตรมาแบ่งเนื้อหาเป็ น ตอน บทหน่วย และกาหนดความคิดรวบยอดให้เด่นชัด 5. กาหนดแผนการเรี ยนการสอนเพื่อให้ผใช้ดาเนิ นการได้ถูกต้อง ู้ 6. กาหนดวิธีการเรี ยนการสอนรวมทั้งสื่ อและกิจกรรม 7. การประเมินความก้าวหน้ากาหนดแนวการประเมินผลไว้ให้เรี ยบร้อยทั้งก่อน เรี ยนและหลังเรี ยนตลอดจนการรายงานความก้าวหน้าในการเรี ยนไว้อย่างชัดเจน
  • 5. ข้ อดีและข้ อเสี ยของการศึกษารายบุคคล นักการศึกษาหลายท่านได้กล่าวข้อดีและข้อจากัดของการศึกษารายบุคคล สรุ ปได้ ดังนี้ (วีระ ไทยพานิช 2529: กิดานันท์ มะลิทอง 2540) ข้ อดีของการศึกษารายบุคคล 1. เป็ นการศึกษาที่ให้ความสาคัญและคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ่ ั 2. ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนได้เร็ วหรื อช้าขึ้นอยูกบความสามรถและความสนใจของ แต่ละคน 3. ผูเ้ รี ยนมีอิสระในการเรี ยนมากกว่าการเรี ยนการสอนตามปกติ 4. สามารถจูงใจให้ผเู ้ รี ยนชอบบรรยากาศในการเรี ยนและดรงาเรี ยนมากขึ้น 5. ครู ผสอนมีเวลาทางานและให้ความสนใจกับผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคลได้มากขึ้น ู้ 6. สื่ อที่ใช้ในการศึกษาได้รับการทดสอบและการทดลองมาก่อนแล้วว่าสามารถ จะใช้เรี ยนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 7. สื่ อที่ใช้ในการศึกษามีหลายชนิดให้เลือกและมักใช้ในรู ปสื่ อประสม ซึ่งสื่ อ บางรู ปแบบสามารถมีปฏิสมพันธ์กบผูเ้ รี ยนได้ดวย เช่น บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เป็ นต้น ั ั ้ ข้ อเสี ยของการศึกษารายบุคคล 1. กรณี ที่ผเู ้ รี ยนมีอายุนอยและยังไม่มีประสบการณ์เพียงพอที่จะควบคุม ้ การเรี ยนของตนเองได้ อาจทาให้การเรี ยนไม่ประสบผลสาเร็ จได้ 2. ผูสอนต้องมีความรู ้ในการจัดเตรี ยมสื่ อการเรี ยนการสอนในแต่ละวิชาให้ ้ เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน โดยคานึ งถึงบุคลิกภาพและความแตกต่างของบุคคลของผูเ้ รี ยนแต่ละคนด้วย 3. วิชาที่เรี ยน โดยการเรี ยนรายบุคคลมีจานวนจากัด เนื่ องจากบางวิชาไม่ สามารถให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนได้อย่างลึกซึ้ งได้ดวยตนเอง ้ 4. ในกรณี ผสอนไม่มีเวลาให้แก่ผเู ้ รี ยนได้มากพอ จะทาให้ผเู้ รี ยนรู้สึกเหมือน ู้ ่ ให้อยูโดดเดี่ยว อาจส่ งผลให้การเรี ยนล้มเหลวได้ ่ สาหรับการศึกษารายบุคคลที่กล่าวมาข้างต้นพอสรุ ปได้วา บุคคลแต่ละคนมี ความสามารถแตกต่างกัน ทั้งทางด้านร่ างกาย ความคิดและสติปัญญา ความสามารถด้านต่าง ๆ ของแต่ละบุคคลจึงต่างกันไปด้วย ด้านการศึกษาก็เช่นกัน ผูเ้ รี ยนมีความสามารถของผูเ้ รี ยนที่
  • 6. แตกต่างกันออกไปจึงส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนตามความสามารถโดยไม่มีความกังวลใจ การศึกษา รายบุคคลเป็ นการประยุกต์ร่วมกันระหว่างเทคนิคและสื่ อการสอน จึงช่วยเสริ มประสอทธิ ภาพของ ผูเ้ รี ยนที่ตองการศึกษาด้วยตนเองเป็ นอย่างดี ้ แหล่งที่มา : กมลรัตน์ หล้าสุ วงษ์. จิตวิทยาการศึกษา. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามงกุฎราชวิทยาลัย, 2533. ชม ภูมิภาค. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุ งเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2516. พรรณี ช.เจนจิต. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุ งเทพฯ : บริ ษท ต้นอ้อแกรมมี่ จากัด, 2538. ั