SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
Baixar para ler offline
ต่อมไร้ท่อและชนิดของฮอร์โมน
คาสั่ง จงเติมคาหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์
1. นักเรียนวิเคราะห์การทดลองของอาร์โนล เอ เบอร์โทลด์ จากภาพที่ 9-1 หน้า 68 ในแบบเรียนชีววิทยา เล่ม3 สสวท.แล้วตอบคาถาม
        1.1 จากการทดลองในชุดที่ 2 นักเรียนสรุปผลการทดลองอย่างไร
    ..................................................................................................................................................................
  1.2 ประจักษ์พยานใดที่ยืนยันว่าอัณฑะควบคุมการแสดงลักษณะเพศผู้ของไก่
        ..................................................................................................................................................................................................................
        1.3 จากการทดลองในชุดที่ 3 ปัญหาของผู้ทดลองน่าจะเป็นอย่างไร
        ..................................................................................................................................................................
        ..................................................................................................................................................................
        1.4 จากการทดลองทั้ง 3 ชุดของอาร์โนล เอ เบอร์โทลด์ จะสรุปได้อย่างไร
        ..................................................................................................................................................................
2. ต่อม(Gland) แบ่งออกเป็น..........ชนิด คือ1……………………………ลักษณะที่ปรากฎ……………………
………………………………………….2..………………………………ลักษณะที่ปรากฎ
3. ต่อมไร้ท่อแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
    1) .....................................................................................................................................................................
         ......................................................................................................................................................................
    2) ...................................................................................................................................................................
      ......................................................................................................................................................................
         ......................................................................................................................................................................

ประเภทของฮอร์โมน จาแนกตามสมบัติทางเคมี ดังนี้
    1) กลุ่มเอมีน ( Amine) ได้แก่ ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ อะดรีนัล เมดัลลา เป็นฮอร์โมนที่ละลายน้าได้
        ฮอร์โมนกลุมนี้ สร้างขึนมาแล้วจะเก็บในรูปของคอลลอยด์หรือแกรนูล สร้างมาจากเนือเยือชัน ectoderm
                   ่          ้                                                    ้ ่ ้
      2) กลุ่มโปรตีนหรือพอลิเพปไทด์ (Peptide ) ได้แก่ ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง เช่น ออกซิโทซิน
        นอร์เอพิเนฟริน ACTH TSH LH เป็นต้น เป็นฮอร์โมนที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ละลายน้าได้ เมื่อสร้างขึ้น
        มาแล้วจะเก็บไว้ในลักษณะของแกรนูล สร้างมาจากเนื้อเยื่อชั้น endoderm หลั่งออกนอกเซลล์โดย
        Exocytosis
   3) กลุ่มสเตรอยด์ ( Steroid ) ได้แก่ฮอณ์โมนจากอะดรีนัล คอร์เท็กซ์ และฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนกลุ่มนี้
        ไม่ละลายน้าแต่ละลายในไขมัน เมือสร้างแล้วจะหลังออกมาใช้ทนที โดยหลังออกนอกเซลล์โดย
                                        ่            ่            ั       ่
        Simple diffusion
ลักษณะการทางานและกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน
 1 ระบบต่อมไร้ท่อ ทาหน้าที่ในการสร้างและหลั่งฮอร์โมนต่างๆ
 2 ฮอร์โมนที่สร้างขึ้นถูกลาเลียงไปกับระบบเลือด ฮอร์โมนจึงมีการกระจายไปได้ทั้งร่างกาย
 3 ฮอร์โมนออกฤทธิ์ยังอวัยวะเป้าหมายต่างๆ( Target organ) โดย Target organ จะมี Receptor ต่อฮอร์โมน
     ทาให้อวัยวะอื่นที่ไม่มี Receptor จึงไม่มีผลต่อฮอร์โมน
 4 เมื่อจับกับ Receptor จะมีผลกระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์นั้นๆ
 5 ฮอร์โมนจะกระตุ้นทาให้เกิดกระบวนการ Transcription และ Translation
   6 เซลล์ตัวรับฮอร์โมนจึงมี Free ribosome จานวนมาก(เพราะต้องสร้างโปรตีน)
 7 ฮอร์โมนต่างชนิด จะมีตัวรับ ( Receptor)และการออกฤทธิ์ต่างกัน ดังนี้
       - Amine , Peptide ตัวรับอยู่ที่ผิวเซลล์ ออกฤทธิ์ต้องผ่าน Secondary messenger
       - Steroid hormone ตัวรับอยู่ที่ผิวนิวเคลียส ออกฤทธิ์โดยตรงต่อเซลล์

4. สรุปฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า(anterior lobe of Pituitary gland)
    ฮอร์โมนที่สร้าง    องค์ประกอบ อวัยวะเป้าหมาย                   หน้าที่                  ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
                          ทางเคมี
Somatotrophic          โปรตีน       เซลล์ทั่วไป       - กระตุ้นเมทาบอลิซึมของ         เด็ก
hormone(STH)หรือ                    กล้ามเนื้อและ     คาร์โบไฮเดรตและไขมัน(เพิ่มการ   -H.น้อย:กระดูกแขนขา จะไม่
Growth                              กระดูก            สลายไขมันและเพิ่มน้าตาลใน       เจริญ=เตี้ยแคระ(Dwarfism)
Hormone(GH)                                           เลือด)                          -H.มาก=ร่างกายใหญ่โตผิดปกติ
                                                      -กระตุ้นการเจริญของกระดูกและ    (Gigantism)
                                                      กล้ามเนื้อ                      ผู้ใหญ่
                                                      -กระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีน     -H.น้อย:น้าตาลในเลือด
                                                                                      ต่า=Simmond’s disease
                                                                                      -H.มาก=การเจริญของกระดูก
                                                                                      บางส่วนของร่างกายโดยเฉพาะส่วน
                                                                                      ปลายของร่างกายผิดปกติ
                                                                                      =Acromegaly
ฮอร์โมนที่สร้าง     องค์ประกอบ       อวัยวะ                    หน้าที่                       ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
                          ทางเคมี       เป้าหมาย
Gonadotrophic
hormoneประกอบด้วย
1. follicle
stimulating       ไกลโค-              อัณฑะและ       เพศชาย-กระตุ้นให้อัญฑะเจริญ          มีมากหรือน้อยเกินไปจะทาให้ลักษณะ
hormone (FSH)     โปรตีน              รังไข่         กระตุ้นการสร้างอสุจิ                 ทางเพศผิดปกติ
                                                     เพศหญิง-กระตุ้นการเจริญของฟอลลิ
                                                     เคิลในรังไข่และร่วมกับ LH กระตุ้น
                                                     ให้ฟอลลิเคิลสร้างฮอร์โมนestrogen
2.Luteinizing           ไกลโค-        อัณฑะและ       เพศชาย-กระตุ้นให้interstitial cell   มีมากหรือน้อยเกินไปจะทาให้ลักษณะ
hormone (LH)            โปรตีน        รังไข่         ของอัณฑะให้หลั่งฮอร์โมน              ทางเพศผิดปกติ
                                                     testosterone
                                                     เพศหญิง-กระตุ้นให้มีการตกไข่และ
                                                     กระตุ้นcorpusluteumให้หลั่ง
                                                     ฮอร์โมนprogesterone
Prolactin (PRL)         โปรตีน        ต่อมน้านม      -กระตุ้นการสร้างน้านมและหลั่ง        มีมากหรือน้อยเกินไปจะทาให้การสร้าง
                                      และรังไข่      น้านม(ในคน)                          น้านมผิดปกติ
                                                     -ยับยั้งการตกไข่
Adrenocorticotrophic พอลิเพป-         Adrenal        กระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอล      ถ้ามีมากหรือน้อยเกินไปจะทาให้
 hormone (ACTH) ไทด์                  cortex         จาก Adrenal cortex                   ฮอร์โมน       คอร์ติซอล มากหรือ
                                                                                          น้อยตามไปด้วย
Thyroid stimulating ไกลโค-            ต่อม      -กระตุ้นการเพิ่มขนาดของต่อม               มีมากหรือน้อยเกินไปจะมีผลทาให้ต่อม
hormone (TSH)       โปรตีน            ไทรอยด์   -เพิ่มอัตราการดูดไอโอไดด์                 ไทรอยด์เจริญผิดปกติ
                                                -เพิ่มอัตราการสังเคราะห์สาร
                                                คอลลอยด์ในไทรอยด์ฟอลลิเคิล
Endorphin             ออกฤทธิ์                  -ระงับความเจ็บปวด
                      คล้าย                     -เกิดความคิดสร้างสรรค์
                      มอร์ฟีน                   -เพิ่มความตื่นตัวมีชีวิตชีวาและ
                                                ความสุข=สารแห่งความสุข
ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (Intermediate lobe of Pituitary gland)
Melanocyte stimulating             ผิวหนัง      -กระตุ้นการสร้างเม็ดสี
hormone (MSH)                                   -กระตุ้นให้สัตว์เลือดเย็นมีสีเข้มขึ้น
ฮอร์โมนที่สร้าง      องค์ประกอบ อวัยวะ                           หน้าที่                     ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
                            ทางเคมี       เป้าหมาย
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior lobe of Pituitary gland)=ฮอร์โมนสร้างจากไฮโพทาลามัส
Vasopressin หรือ        เพปไทด์         ท่อหน่วยไต -กระตุ้นการดูดน้ากลับคืนที่ท่อของ       ถ้ามี ADH น้อยเกินไปจะทา
Antidiuretic hormone                    และเส้น    หน่วยไตเข้าสู่กระแสเลือด                ให้เกิดโรคเบาจืด (diabetes
(ADH)                                   เลือดแดง   -ลดปริมาณน้าปัสสาวะ                     insipidus)
                                                   กระตุ้นการหดตัวของเส้นเลือดแดง
                                                   ขนาดเล็ก
                                                   -จะหลั่งมากเมื่อแรงดันออสโมติกใน
                                                   เลือดสูงขึ้นและมีความเครียด
Oxytocin                เพปไทด์         กล้ามเนื้อ กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก -ถ้ามีมากจะคลอดลูกก่อน
                                        เรียบของ   และต่อมน้านม                            กาหนด
                                        อวัยวะ                                             -ถ้ามีน้อยจะคลอดลูกยาก
                                        ภายใน
5.ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ = Thyroid gland
      ฮอร์โมนที่สร้าง      องค์ประกอ อวัยวะ                      หน้าที่                     ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
                            บทางเคมี เป้าหมาย
Triiodotyronine(T3)        กรดอะมิโน เซลล์ทั่ว     -เพิ่มอัตราเมทาบอลิซึมและ          มีฮอร์โมนมาก
Thyroxin (T4)              ที่มีไอโอดีน ร่างกาย    อัตราการใช้O2ของเซลล์ทั่ว         Hyperthyroidism/Grave’s
(สร้างจากกลุ่มเซลล์ไทรอยด์                         ร่างกาย                           disease/Thyrotoxicosis/
ฟอลลิเคิล =Thyroid                                 -เพิ่มการสังเคราะห์โปรตีนและ Exopthalmic Toxic goiter
follicle)                                          เอนไซม์เร่งปฏิกิริยาต่างๆ         -มีอาการขี้ร้อน หิวง่าย กินจุแต่ไม่
                                                   -เพิ่มการดูดซึมคาร์โบไฮเดรต       อ้วน
                                                   และการเผาผลาญเป็นพลังงาน -ตาโปน(Exophthalmos)
                                                   -ควบคุมการเจริญเติบโต มีผล -คอพอกเป็นพิษ(Toxic Goiter)
                                                   ต่อการพัฒนาของร่างกายและ          -ถ้าเป็นมากจะมีไข้สูง หัวใจเต้นเร็ว
                                                   สมองตามปกติ                       มากผิดจังหวะ กระตุ้นซิมพาเทติกและ
                                                   -ควบคุมเมทามอร์โฟซีสของสัตว์ เสียชีวิตได้
                                                   ครึ่งบกครึ่งน้า ทาให้ลูกอ๊อด       มีฮอร์โมนน้อย
                                                   กลายเป็น                          Myxedema /Simple goiter /
                                                                                     Hypothyroidism
                                                                                     -อ้วน บวมน้าไม่ค่อยมีแรง เฉื่อยชา
                                                                                     ทนหนาวไม่ได้=Simple goiter(คอ
                                                                                     พอกธรรมดา ตาไม่โปน)
                                                                                     -ในเด็ก=Cretinism(เอ๋อ)พัฒนาการ
                                                                                     ทางร่างกายและสมองช้าลง ปัญญา
                                                                                     อ่อน
ฮอร์โมนที่สร้าง    องค์ประกอบ อวัยวะ                       หน้าที่                    ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
                        ทางเคมี       เป้าหมาย
Calcitonin (สร้างจาก เพปไทด์        เซลล์กระดูก ลดแคลเซียม Ca2+ ในเลือด
เซลล์ซี=C-cell หรือ                             -ลดการดูดกลับแคลเซียมที่ไต
พาราฟอลลิคิวลาร์                                -เพิ่มการสะสมแคลเซียมใน
=parafollicular cell)                           กระดูกทาให้กระดูกหนาขึ้น
6. ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ =Parathyroid gland
    ฮอร์โมนที่สร้าง   องค์ประกอบ อวัยวะ                          หน้าที่                   ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
                        ทางเคมี       เป้าหมาย
Parathormone /        เพปไทด์       กระดูก ท่อ เพิ่มแคลเซียม Ca2+ ในเลือด            -ถ้ามีมากเกินไปจะทาให้กระดูกผุ
Parathyroid                         หน่วยไต     -เพิ่มการดูดกลับแคลเซียมที่ไต        หัก งอได้ง่าย
hormone=PTH                         และลาไส้ -กระตุ้นการสังเคราะห์วิตามินดี          -ถ้ามีน้อยเกินไปจะเกิดอาการ
                                    เล็ก        เพิ่มขึ้นทาให้มีการดูดซึมแคลเซียมที่ กระตุก
                                                ลาไส้เล็กเพิ่มขึ้น
                                                -สลายแคลเซียมจากกระดูกและฟัน
                                                ทาให้กระดูกบาง หักง่าย
                                                -กระตุ้นให้ไตขับฟอสเฟตออกนอก
                                                ร่างกาย
7.ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ (Islets of Langerhans): เป็นกลุ่มเซลล์ที่กระจายอยู่ในตับอ่อน
    ฮอร์โมนที่สร้าง   องค์ประกอบ อวัยวะ                          หน้าที่                   ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
                        ทางเคมี       เป้าหมาย
Insulin จากกลุ่มเซลล์ โปรตีน        กล้ามเนื้อ  ลดน้าตาลในเลือด                    -ถ้ามีมากเกินไป : น้าตาลใน
ชนิด -cell                         และตับ      -กระตุ้นการเปลี่ยนน้าตาลกลูโคส เลือดต่า อาจเกิดอาการช็อก
                                                เป็นไกลโคเจน                         หมดสติ
                                                -กระตุ้นการเปลี่ยนกลูโคสเป็น         -ถ้ามีน้อยเกินไป : ระดับ
                                                ไขมัน                                น้าตาลในเลือดสูงจะเป็น
                                                -กระตุ้นกลูโคสเข้าสู่เซลล์เพื่อเผา โรคเบาหวาน(Diabetes
                                                ผลาญเป็นพลังงาน                      mellitus)
                                                -กระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีนจาก
                                                กรดอะมิโน
Glucagon จากกลุ่ม เพปไทด์           เซลล์ตับ     เพิ่มน้าตาลในเลือด                -ถ้ามีมากหรือน้อยเกินไปจะไม่
เซลล์ชนิด -cell                    และ         -กระตุ้นการสลายไกลโคเจนเป็น เกิดผลเสียต่อร่างกายเท่าใด
                                    กล้ามเนื้อ กลูโคส(เซลล์ตับ)                      เพราะมีฮอร์โมนชนิดอื่นๆทา
                                                -กระตุ้นการสังเคราะห์กลูโคสจาก หน้าที่คล้ายกันได้
                                                กรดอะมิโน
โรคเบาหวาน(Diabetes mellitus) : DM
   เป็นความบกพร่องของการสร้างฮอร์โมนอินซูลิน
   ผู้ป่วยจะมีระดับน้าตาลในเลือดสูง โดยวินิจฉัยจาก

                    – Fasting blood glucose มากกว่า 126 mg/dl
                    – Random blood glucose มากกว่า 200 mg/dl อย่างน้อย3 ครั้ง
สาเหตุเกิดจากความผิดปกติต่างๆ
   มีการทาลาย -cell ของ Islets of Langerhans : DM type І ► พบได้ในทุกช่วงอายุ
   ตัวรับฮอร์โมนดื้อต่อการรับอินซูลิน (พบในผู้สูงอายุ) : DM type І І
อาการของโรคและภาวะแทรกซ้อน
   ระดับน้าตาลในเลือดสูง เนื่องจากไม่สามารถนากลูโคสเข้าสู่เซลล์ได้
   เซลล์ขาดพลังงานทาให้เซลล์อ่อนแอ ภูมิต้านทานแย่
   ทาให้ปลายประสาทเสื่อม ชาตามปลายมือปลายเท้า
   มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผล และแผลหายช้า อาจเกิดแผลเน่า ต้องตัดอวัยวะ
   มีผลต่อไต ทาให้ไตวายได้ : กรองน้าตาลมากเกินไป
   มีผลต่อ Retina ทาให้อาจเกิดภาวะตาบอดจากเบาหวานได้ (Diabetes retinopathy : เบาหวานขึ้นตา)



8.ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต
    ฮอร์โมนที่สร้าง   องค์ประกอบ อวัยวะ                     หน้าที่                ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
                         ทางเคมี   เป้าหมาย
1.ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก (Adrenal cortex)                              ถ้าต่อมถูกทาลาย : เป็นโรคแอดดิ
                                                                            สัน(Addison’s disease)
1.1 Glucocorticoid สเตรอยด์          เซลล์ตับ    เพิ่มน้าตาลในเลือด       ถ้ามีมาก : เป็นโรคคูชชิ่ง (
เช่น                                 และ        -กระตุ้นการสลายไกลโคเจนเป็น Cushing ’s syndrome )
cortisal,cortisone,c                 กล้ามเนื้อ กลูโคสที่ตับและกล้ามเนื้อ   Concept
orticosterone                                   ควบคุมเมทาบอลิซึมของ        หน้าจันทร์แรม แก้มห้อยเชื่อม
                                                คาร์โบไฮเดรตและโปรตีน       เอื้อมไม่ไหว ยายมีหนวด
                                                -กระตุ้นให้มีการสร้างกลูโคส ปวดกระดูก        ลูกทะเล
                                                จากสารอื่นได้แก่กรดอะมิโน   เท่เหมือนควาย พุงแตกลาย
                                                กรดไขมันและกลีเซอรอล        อ้วนแต่ตัว
1.2                                  ท่อหน่วยไต -ควบคุมสมดุลน้า Na+และ K+ ถ้ามีมาก : จะขับ K+ออกไปกับ
Mineralocorticoid      สเตรอยด์      และเยื่อบุ ในเลือด(สงวน Na+แต่ขับ K+ ปัสสาวะมาก แต่ Na+จะถูกสะสม
เช่น aldosterone                     ทางเดิน    ออกจากไต)                   ไว้
                                     อาหาร      -ควบคุมสมดุลความเข้มข้นของ ถ้ามีน้อย : จะขับ Na+และ Cl-
                                                ฟอสเฟต                      ออกไปกับปัสสาวะมาก
1.3 ฮอร์โมนเพศ :       สเตรอยด์                 ควบคุมลักษณะทางเพศของชาย ถ้ามีมาก : จะเป็นหนุ่ม-สาวเร็ว มี
Sex hormone                                     และหญิง                     ขนตามตัวมาก เสียงห้าวมีเครา
ฮอร์โมนที่สร้าง     องค์ประกอบ อวัยวะ                            หน้าที่                      ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
                            ทางเคมี    เป้าหมาย
2.ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนใน (Adrenal Medulla)
2.1 Adrenaline หรือ         เอมีน     หัวใจ เส้น  เพิ่มน้าตาลในเลือด                    ถ้ามีมากเกินไปร่างกายจะมีพลังงาน
Epinephrine                           เลือดแดง         -กระตุ้นให้ไกลโคเจน                มาก
                                      ขนาดเล็ก         เปลี่ยนเป็นกลูโคสในกระแส
                                      ตับ เซลล์ เลือดมากขึ้น
                                                       -กระตุ้นให้หัวใจเต้นแรงความ
                                                       ดันโลหิตสูงขึ้น เลือดแข็งตัวเร็ว
                                                       -เส้นเลือดแดงที่ผิวหนังและช่อง
                                                       ท้องหดตัว หลอดลมขยาย
                                                       -เพิ่มการใช้ O2ของเซลล์
2.2 Noradrenaline           เอมีน     หัวใจ เส้น คล้ายกับอะดรีนาลิน คือทาให้
หรือ                                  เลือดแดง         ความดันเลือดสูง เส้นเลือด
Norepinephrine                        ขนาดเล็ก         artery ที่ไปเลี้ยงอวัยวะภายใน
                                      ตับ เซลล์ ต่างๆบีบตัว เพิ่มระดับน้าตาล
                                                       ในเลือด
9.ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ (Gonadal sex hormone )
     ฮอร์โมนที่สร้าง    องค์ประกอบ อวัยวะเป้าหมาย                            หน้าที่                 ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
                            ทางเคมี
1.อัณฑะ (Testis)จากกลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียล (Interstitial cells of Leydig)เมื่อได้รับการกระตุ้นจาก LH
Androgen ชนิดที่มี       สเตรอยด์ อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับ -ควบคุมการเจริญเติบโตของ ถ้ามีมาก : ทาให้มีความเป็น
มากที่สุด คือ                         การสืบพันธุ์และ          อวัยวะสืบพันธุ์                  หนุ่มเร็ว
Testosterone                          การแสดงลักษณะ -ควบคุมลักษณะความเป็น                       ถ้ามีน้อย : ทาให้ระบบ
                                      ต่างๆของเพศชาย ผู้ชาย                                     สืบพันธุ์เจริญเติบโตช้า
                                                               -กระตุ้นการสร้างกล้ามเนื้อ
                                                               มีผลทาให้สิวมากขึ้น เสียง
                                                               ห้าว
2. รังไข่ (Ovary)
-Estrogen                สเตรอยด์ รังไข่ มดลูกอวัยวะ -ควบคุมลักษณะความเป็น                      ถ้ามีมาก : ทาให้มีความเป็น
จากเซลล์ฟอลลิเคิล                     ที่เกี่ยวข้องกับการ สาว                                   สาวเร็ว
(Follicular cell)                     สืบพันธุ์และการ          -ทาให้มีเต้านมใหญ่(เพิ่ม         ถ้ามีน้อย : ทาให้ระบบ
                                      แสดงลักษณะต่างๆ โอกาสเสี่ยงในการเกิดมะเร็ง สืบพันธุ์เจริญเติบโตช้า
                                      ของเพศหญิง               เต้านม)
ฮอร์โมนที่สร้าง     องค์ประกอบ อวัยวะเป้าหมาย                         หน้าที่                   ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
                            ทางเคมี
- Progesterone หรือ สเตรอยด์           ต่อมน้านม เยื่อบุ -ยับยั้งการเจริญเติบโตของ             ถ้ามีมาก : ทาให้มีความเป็น
progestin จากCorpus                    มดลูก เซลล์ฟอลลิ ฟอลลิเคิลและการตกไข่                   สาวเร็ว
luteum cell                            เคิล                  -ทาให้ต่อมน้านมขยายตัว            ถ้ามีน้อย : ทาให้ระบบ
                                                             -ทาให้เยื่อบุมดลูกชั้นใน          สืบพันธุ์เจริญเติบโตช้าและ
                                                             (endometrium)หนาขึ้น              มดลูกจะลอกทาให้เกิดการแท้ง
-Relaxin จากเซลล์       สเตรอยด์                             -ทาให้เอ็นที่ยึดหัวเหน่าคลาย
ฟอลลิเคิล (Follicular                                        ตัว
cell)                                                        -ปากมดลูกอ่อนนุ่มทาให้
                                                             คลอดลูกง่าย
ต่อมไพเนียล(Pineal gland )
Melatonin               เอมีน          -ผิวหนังในสัตว์       -ในสัตว์เลือดเย็น กระตุ้นให้ ถ้ามีมาก : จะเป็นหนุ่มสาวช้า
                                       เลือดเย็น             เม็ดสีมารวมตัว ทาให้ผิวหนัง กว่าวัยอันสมควร
                                       -อวัยวะเพศใน          มีสีจาง                           ถ้ามีน้อย : จะเป็นหนุ่มสาว
                                       สัตว์เลือดอุ่น        -ในสัตว์เลือดอุ่น ยับยั้งการ เร็วกว่าวัยอันสมควร
                                                             เจริญเติบโตของอวัยวะเพศ
                                                             ไม่ให้เจริญเร็วก่อนกาหนด
10.ฮอร์โมนจากอวัยวะอื่น
      ฮอร์โมนที่สร้าง             เซลล์ที่สร้าง           อวัยวะเป้าหมาย                            หน้าที่
Human Chorionic            เซลล์ของรก                   คอร์ปัสลูเทียม          -กระตุ้นคอร์ปัสลูเทียมในรังไข่ให้เจริญต่อไป
Gonadotrophin:HCG (placenta)                                                    และสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนเพิ่มขึ้น
Thymosin                   ต่อมไทมัส                    ต่อมไทมัส               -กระตุ้นการสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดเซลล์
                           (Thymus gland)                                       ที (T-lymphocyte)
                                                                                -ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์
Gastrin                    Pyloric mucosa cellใน กระเพาะอาหารและ -กระตุ้นการหลั่งเอนไซม์และกรดไฮโดรคลอ
                           กระเพาะอาหาร                 ตับอ่อน                 ริกของกระเพาะอาหาร
                                                                                -กระตุ้นการหลั่งเอนไซม์จากตับอ่อน
                                                                                -ควบคุมการบีบตัวของกระเพาะอาหารและ
                                                                                ลาไส้เล็ก
Secretin                   Duodenal mucosa cell ตับอ่อน                         -กระตุ้นตับอ่อนให้หลั่งเอนไซม์และโซเดียม
                           ในลาไส้เล็ก                                          ไฮโดรเจนคาร์บอเนต
                                                                                -กระตุ้นการบีบตัวของท่อน้าดี
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน

                    การควบคุมการหลั่งฮอร์โมน (Control of Hormone Secretion)
.........การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อส่วนใหญ่เป็นกลไกแบบตอบสนองกลับ (feedback mechanism) ซึ่งอาจจะเป็นไปใน
ทางบวก (กระตุ้น) เรียกว่า positive feedback หรืออาจจะเป็นไปในทางลบ (ยับยั้ง) เรียกว่า negative feedback
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนแบ่งเป็น 3 แบบ
1. ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน
2. การเปลี่ยนแปลงทางสรีระของร่างกายควบคุมการหลั่งฮอร์โมน
3. สารเคมี ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน

......ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน Hormonal control of tropic hormone secretion)
                                            (
       ลักษณะการหลั่ง tropic hormones มีต่อมไร้ท่อเป็นอวัยวะเป้าหมายซึ่งจะสร้างฮอร์โมนกลับไปควบคุมการหลั่งของ tropic
hormones
       ในเพศหญิง ฮอร์โมน FSH, LH เป็น tropic hormones การหลั่งของฮอร์โมนในกลุ่มนี้ถูกควบคุมโดยฮอร์โมน estrogen และ
progesterone ที่สร้างมาจากรังไข่

                                                             .....................................

                                                             ..............
.......... . ในเพศชายฮอร์โมน FSH, LH (ICSH)
                                                                              เป็น gonadotropic hormones หลั่งออกมาจาก
                                                                              ต่อมใต้สมองส่วนหน้า การหลั่งของฮอร์โมนกลุ่มนี้ถูก
                                                                              ควบคุมโดยฮอร์โมน testosterone ที่สร้างมาจาก
                                                                              Leydig cells ที่อยู่ในลูกอัณฑะ การทางานของ
                                                                              testosterone จะเป็นแบบ feedback
                                                                              mechanism เพื่อควบคุมการสร้างอสุจิและสร้าง
                                                                              ฮอร์โมน FSH, LH

                                                                              ..........................




     การเปลี่ยนแปลงทางสรีรของร่างกายควบคุมการหลั่งฮอร์โมน The physiological change control of hormone secretion)
                                                            (
      การเปลี่ยนแปลงทางสรีรของร่างกาย (ระดับน้าตาลในเลือดที่สูงหรือต่า) จะเป็นตัวกระตุ้นหรือยับยั้งต่อมไร้ท่อให้สร้างและหลั่ง
ฮอร์โมนออกมา ตัวอย่างเช่น กลุ่มเซลล์ในตับอ่อนเรียกว่า beta–cells of islet of Langerhans ซึ่งทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อ ที่สร้างและ
หลั่งฮอร์โมน insulin ออกมา




                                                      Rise of
                                                     Glucose in
                                                     blood


....................
...........
สารเคมีควบคุมการหลั่งฮอร์โมน ( hemical substance control of hormone secretion)
                                 C
........... การเปลี่ยนแปลงการทางานของสรีรของร่างกาย (ความดันเลือดต่า) ทาให้เกิดสภาวะที่ไปกระตุ้นเนื้อเยื่อที่ไม่ใช่ต่อมไร้ท่อ
(Juxtaglomerular cells) ให้สร้างและปล่อยสารเคมี (renin) ออกมาสู่กระแสเลือด และ renin ถูกเปลี่ยนไปเป็น angiotensin ซึ่งไป
กระตุ้นให้ต่อมหมวกไปชั้นนอก (adrenal cortex) หลั่งฮอร์โมน aldosterone ออกมาสู่กระแสเลือด ทาให้เกิดการดูดซึมกลับของ Na+
และน้าจากหลอดไตตรงบริเวณ distal convoluted tubule เข้าสู่เส้นเลือดฝอยตรงบริเวณนั้น ทาให้ความดันเลือดสูงซึ่งจะไปยับยั้งการ
ปล่อย renin ออกมา

..............................
ฟีโรโมน

                                           ...............Pheromone หมายถึง สารเคมีที่สัตว์ขับออกมานอกร่างกาย โดยต่อมมีท่อ
                                           (exocrine gland) ซึ่งไม่มีผลต่อตัวเอง แต่จะไปมีผล ต่อสัตว์ตัวอื่นที่เป็นชนิดหรือ สปี
                                           ชีส์เดียวกัน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม และสรีรวิทยาเฉพาะอย่างได้
                                                    ชนิดของ Pheromone
                                            Releaser Pheromone = ทาให้พฤติกรรมเปลี่ยนไป
                                           1. สารดึงดูดเพศตรงข้าม (Sex Attractant) –แมลงสาบตัวเมียจะหลั่ง
                                                ฟีโรโมนล่อแมลงสาบตัวผู้ได้ , การดึงดูดของผีเสื้อไหม
                                           2. สารเตือนภัย (Alarm Pheromone) –สุนัขมีการปัสสาวะบอกอาณาเขต
                                                  -Dead Pheromone ในมดที่ถูกบี้ตาย หรือในผึ้งที่ถูกฆ่าตาย
                                           3. สารส่งเสริมการรวมกลุ่ม (Aggregation – Promoting Subtances) ยกเว้นสาร
                                           สารที่มีกลิ่นเหม็นๆของแมลงที่ผลิตออกมาเพื่อป้องกันศัตรู
                                                                                      เรียกว่า Allomones
                                            Primer Pheromone = ทาให้สรีระร่างกายเปลี่ยนไป
       1. Queen Pheromone ในนางพญาผึ้ง จะทาให้ผึ้งงานเป็นหมัน
       2. Bruce’s Pheromone ในหนูตัวผู้ จะทาให้หนูตัวเมียแท้ง...................

    ...........................................
ฮอร์โมนจากแมลง

       ...............ฮอร์โมนจากแมลงมี 3 กลุ่ม คือ
       1. ฮอร์โมนจากสมอง (brain hormone หรือ BH) เป็นกลุ่มฮอร์โมนซึ่งสร้างจาก neurosecretory cell ในสมอง กระตุ้นต่อมไร้
       ท่อบริเวณทรวงอก ทาให้สร้างฮอร์โมน molting hormone (MH) ไปเก็บไว้ใน corpus cardiacum ต่อไป
       2. ฮอร์โมนเกี่ยวกับการลอกคราบ (molting hormone หรือ MH) สร้างบริเวณทรวงอกมีผลทาให้แมลงลอกคราบ และ
       metamorphosis เป็นตัวโตเต็มวัย
       3. ฮอร์โมนยูวีไนล์(Juvenile hormone หรือ JH) สร้างขึ้นในระยะตัวอ่อน ทาหน้าที่ป้องกันการลอกคราบ ถ้ามีมากตัวหนอนและ
       ดักแด้ไม่เป็นตัวเต็มวัย แต่ถ้ามี JH ลดลง จะกระตุ้นให้ลอกคราบแล้วกลายเป็นตัวเต็มวัยได้
แบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน

คาสั่ง จงตอบคาถามต่อไปนี้มาพอเข้าใจ

1. ฮอร์โมนคืออะไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
2. ต่อมไร้ท่อที่สาคัญในร่างกายได้แก่ต่อมอะไรบ้าง
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
3. โกรทฮอร์โมนทาหน้าที่อะไร ในเด็กถ้ามีฮอร์โมนนี้มากจะมีลักษณะอย่างไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
4. อะโครเมกาลีคืออะไร มีสาเหตุมาจากอะไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
5. FSH มีหน้าที่อย่างไร ทั้งในเพศชายและเพศหญิง
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
6. มารดาที่ให้นมทารก จะมีฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างน้านมคืออะไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
7. ADH มีหน้าที่อะไร ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนนี้จะเป็นอย่างไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
8. จงบอกชื่อกลุ่มเซลล์และฮอร์โมนที่ตับอ่อนสร้าง
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
9. อินซูลินควบคุมระดับน้าตาลในเลือดอย่างไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
10. กลูคากอนมีหน้าที่คล้ายฮอร์โมนอะไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
11. อะดรีนัลคอร์เทกซ์ สร้างฮอร์โมนอะไร และถ้าถูกทาลายร่างกายเป็นอย่างไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
12. อะดรีนัลเมดัลลา สร้างฮอร์โมนอะไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
13. ต่อมไทรอยด์อยู่ที่ไหน ถ้าเด็กถูกตัดต่อมไทรอยด์จะมีลักษณะอย่างไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
14. โรคคอหอยพอกเกิดจาก ...............................................................................................................................
15. โรคคอหอยพอกเป็นพิษเกิดจาก ...................................................................................................................
16. มิกซีดีมาเกิดขึ้นอย่างไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
17. ต่อมพาราไทรอยด์อยู่ที่ไหน .................................................................................. ถ้าตัดต่อมพาราไทรอยด์
ออกจะเกิดอะไรขึ้นกับร่างกาย ......................................................................................................................
18. ไก่ตัวผู้มีหางและหงอนยาวกว่าไก่ตัวเมียเนื่องจากการทางานของฮอร์โมนอะไร
ตอบ ...............................................................................................................................................................
19. อัณฑะสร้างฮอร์โมนเพศชายที่สาคัญคือ
ตอบ ...............................................................................................................................................................
20. รังไข่มีแหล่งสร้างฮอร์โมนที่สาคัญ 2 แห่ง คือ
ตอบ ...............................................................................................................................................................
21. ฮฮร์โมนที่สร้างมาจากรกและออกมากับปัสสาวะ ทาให้ทดสอบได้ว่ามีการตั้งครรภ์คือ
ตอบ ...............................................................................................................................................................
22. ต่อมในร่างกายที่เป็นต่อมไร้ท่อและต่อมมีท่อได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
23. ฮอร์โมนที่สร้างจากอวัยวะอื่น ๆ ในร่างกายได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ ...............................................................................................................................................................
24. การมีประจาเดือนในเพศหญิงเกี่ยวข้องกับฮอร์โมนใดบ้าง
ตอบ ...............................................................................................................................................................
25. การตั้งครรภ์ในหญิงจะทาให้มีการหยุดสร้างฮอร์โมนอะไรบ้าง และสร้างฮอร์โมนอะไรบ้าง ทาไมจึงเป็นเช่นนั้น
ตอบ ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
แบบทดสอบ ชุดที่ 1

                                                               7. ฮอร์โมนชนิดใดทาหน้าที่ควบคุมการดูดกลับของท่อหน่วย
คาชี้แจง ให้เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด                         ไตและกระตุ้นให้หลอดเลือดแดงหดตัว
1. ต่อมไร้ท่อที่ควบคุมระดับน้าตาลในเลือด ให้อยู่ในระดับ        ก. Oxytocin
ปกติ คือข้อใด                                                  ข. Melatonin
ก.Thyroid                                                      ค. Vasopressin
ข. Islets of Langerhan                                         ง. Calcitonin
ค. Pineal                                                      8. ฮอร์โมนชนิดใดทาหน้าที่ลดการดูดกลับของแคลเซียมที่
ง. Pituitary                                                   ไตและลดอัตราการดูดซึมแคลเซียมที่ลาไส้เล็ก
2. การเจริญเติบโตของร่างกายจะเป็นไปอย่างปกติ ต้องอยู่          ก. Insulin
ภายใต้การควบคุมของต่อมใด                                       ข Calcitonin
ก. Adrenal medulla                                             ค. Glucagon
ข. Duodenum                                                    ง. Aldosterone
ค. Pituitary                                                   9. ต่อมชนิดใดเป็นกลุ่มของเซลล์รับแสง
ง. Pineal                                                      (Photoreceptor) ของสัตว์เลือดเย็น
3. อวัยวะเป้าหมาย(Target organ) ของฮอร์โมน                     ก. Pituitary
หมายถึงข้อใด                                                   ข. Thyroid
ก. อวัยวะที่สร้างฮอร์โมน                                       ค. Hypothalamas
ข. อวัยวะที่ฮอร์โมนออกฤทธิ์                                    ง. Pineal gland
ค. อวัยวะที่ควบคุมการสร้างฮอร์โมน                              10. ฮอร์โมนชนิดใดมีหน้าที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะ
ง. ถูกทุกข้อ                                                   สืบพันธุ์ไม่ให้เติบโตเร็วเกินไป
4. หลังจากที่เอ็มบริโอฝังตัวที่ผนังมดลูกแล้ว Placenta จะ       ก. Melatonin
หลั่งฮอร์โมน HCG เพื่อกระตุ้นคอร์ปัสลูเทียมในรังไข่ให้         ข. Secretin
เจริญต่อไปและสร้างฮอร์โมนขนิดใดเพิ่มขึ้น                       ค. Progesterone
ก. Estrogen                                                    ง. Testosterone
ข. Progesterone
ค. Testosterone
ง. Secretin
5. เมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่น ฮอร์โมนชนิดใดกระตุ้นการ
เจริญเติบโตของอัณฑะและรังไข่
ก. Testosterone, LH
ข. LH, Progesterone
ค. Testosterone, Estrogen
ง. LH, FSH
6. ฮอร์โมนชนิดใดเมื่อมีมากเกินไป ทาให้เกิดโรค คูชชิง
(Cushing's Syndrome)
ก. glucocorticoids
ข. mineralocorticoids
ค. parathormone
ง. calcitonin
ชุดที่ 2

คาชี้แจง ให้เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. ฮอร์โมนใดมีหน้าที่กระตุ้นการเปลี่ยนไกลโคเจนไปเป็นกลูโคส ซึ่งทาให้ระดับน้าตาลในเลือดสูงขึ้น
   ก. กลูคากอน และ อินซูลิน
   ข. กลูคากอน และ คอร์ติซอล
   ค. ฮอร์โมนโกรท และ อะดรีนาลีน
   ง. ข้อ ข , ค ถูก

2. ข้อใดต่อไปนี้แสดงให้เห็นถึง Negative feedback mechanism
  ก. กระบวนการดูดกลุโคสกลับคืนของท่อหน่วยไต
  ข. การขับน้ามันออกทางผิวหนังเพื่อลดการสูญเสียน้าทางผิวหนัง
  ค. ความสัมพันธ์ระหว่างต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ และระดับฮอร์โมนไทรอกซินในกระแสเลือด
  ง. ซากสิ่งมีชีวิตเกิดการย่อยสลายเป็นสารประกอบที่พืชสามารถนากลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก

3. ฮอร์โมนใดทาหน้าที่ควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึมในร่างกาย เพื่อปรับดุลยภาพของสภาวะแวดล้อมในร่างกาย

  ก. Insulin , Glucagon , Parathormone ,
     Calcitinin
  ข. GH , Thyroxin , Sex hormone , Thyroxin
  ค. Oxytocin , Vasopressin , GH , Thyroxin
  ง. MSH , FSH , ACTH , LH

4. เมื่อร่างกายขาดโซเดียม ฮอร์โมนที่หลั่งออกมามากเพื่อกระตุ้นท่อหน่วยไตเพื่อเพิ่มการดูดโซเดียมกลับสู่ร่างกายคืออะไร
  ก. Aldosterone
  ข. Calcitonin
  ค. Cortisol
  ง. ADH

5. ฮอร์โมนที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุมระดับแคลเซียมในเลือด คือ
  ก. Thyroxin , Glucagon
  ข. Calcitonin , Parathormone
  ค. Prolactin , Oxytocin
  ง. Aldosterone , Cortisol
6. นักเรียนจะสังเกตเห็นว่าถ้าวันไหนดื่มน้ามา จะปัสสาวะมาก แสดงว่าภายในร่างกายมีการปรับสภาพการทางานอย่างไร
  ก. น้าในเลือดมีมาก แรงดันออสโมติกสูง กระตุ้นให้มีการหลั่งฮอร์โมน ท่อหน่วยไตปล่อยน้าสู่ท่อรวมมาก
  ข. น้าในเลือดมีมาก แรงดันออสโมติกสูง ส่งผลให้ไม่มีการหลั่งฮอร์โมน ท่อหน่วยไตดูดน้ากลับคืนน้อย
  ค. น้าในเลือดมีมาก ท่อหน่วยไตปล่อยน้าสู่ท่อรวมมากขึ้น
  ง. น้าในเลือดมีมาก แรงดันออสโมติกต่า ส่งผลให้ไม่มีการหลั่งฮอร์โมน ท่อหน่วยไตดูดน้ากลับคืนน้อย

7. ถ้าปริมาณของเลือดลดลงจากปกติ และแรงดันออสโมติกของพลาสมาสูงกว่าปกติร่างกายจะปรับสรีระภายในโดย
  ก. การกลั่ง ADH ลดลง
  ข. การหลั่ง ACTH เพิ่มขึ้น
  ค. การกลั่ง Aldosterone ถูกยับยั้ง
  ง. ถูกทุกข้อ

8. ฮอร์โมนที่มีบทบาทในการเพิ่มปริมาณน้าตาลกลูโคสในเลือด คือ
  ก. Insulin
  ข Glucagon
  ค. Cortisol
  ง. ถูกทุกข้อ

9. ระดับน้าตาลในเลือดถูกควบโดย Insulin และฮอร์โมนกลุ่มใด
  ก. Cortisol , Vasopressin
  ข. Epinephrine , Cortisol
  ค. Epinephrine , Calcitonin
  ง. Oxytocin , Thyroxin

10. ไต ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมควบคุมการทางานในข้อใดร่วมกัน
  ก. ปริมาณน้าตาลในเลือด
  ข. ความดันเลือด
  ค. ปริมาณแคลเซียมอิออนในเลือด
  ง. การเจริญเติบโตของร่างกาย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อNattapong Boonpong
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54Oui Nuchanart
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายพัน พัน
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชPreeda Kholae
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWann Rattiya
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 

Mais procurados (20)

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
2 hormone p_lan
2 hormone p_lan2 hormone p_lan
2 hormone p_lan
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 

Semelhante a ต่อมไร้ท่อ

Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer ProjectBee Attarit
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อwaratree wanapanubese
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine systemPiro Jnn
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์Lilrat Witsawachatkun
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นพัน พัน
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อมComputer ITSWKJ
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2Aon Narinchoti
 
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ dgnjamez
 
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ dgnjamez
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 

Semelhante a ต่อมไร้ท่อ (20)

ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine system
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อม
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
 
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
 
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
 
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 

Mais de Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 

Mais de Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

ต่อมไร้ท่อ

  • 1. ต่อมไร้ท่อและชนิดของฮอร์โมน คาสั่ง จงเติมคาหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ 1. นักเรียนวิเคราะห์การทดลองของอาร์โนล เอ เบอร์โทลด์ จากภาพที่ 9-1 หน้า 68 ในแบบเรียนชีววิทยา เล่ม3 สสวท.แล้วตอบคาถาม 1.1 จากการทดลองในชุดที่ 2 นักเรียนสรุปผลการทดลองอย่างไร .................................................................................................................................................................. 1.2 ประจักษ์พยานใดที่ยืนยันว่าอัณฑะควบคุมการแสดงลักษณะเพศผู้ของไก่ .................................................................................................................................................................................................................. 1.3 จากการทดลองในชุดที่ 3 ปัญหาของผู้ทดลองน่าจะเป็นอย่างไร .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 1.4 จากการทดลองทั้ง 3 ชุดของอาร์โนล เอ เบอร์โทลด์ จะสรุปได้อย่างไร .................................................................................................................................................................. 2. ต่อม(Gland) แบ่งออกเป็น..........ชนิด คือ1……………………………ลักษณะที่ปรากฎ…………………… ………………………………………….2..………………………………ลักษณะที่ปรากฎ 3. ต่อมไร้ท่อแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) ..................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 2) ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ประเภทของฮอร์โมน จาแนกตามสมบัติทางเคมี ดังนี้ 1) กลุ่มเอมีน ( Amine) ได้แก่ ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ อะดรีนัล เมดัลลา เป็นฮอร์โมนที่ละลายน้าได้ ฮอร์โมนกลุมนี้ สร้างขึนมาแล้วจะเก็บในรูปของคอลลอยด์หรือแกรนูล สร้างมาจากเนือเยือชัน ectoderm ่ ้ ้ ่ ้ 2) กลุ่มโปรตีนหรือพอลิเพปไทด์ (Peptide ) ได้แก่ ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง เช่น ออกซิโทซิน นอร์เอพิเนฟริน ACTH TSH LH เป็นต้น เป็นฮอร์โมนที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ละลายน้าได้ เมื่อสร้างขึ้น มาแล้วจะเก็บไว้ในลักษณะของแกรนูล สร้างมาจากเนื้อเยื่อชั้น endoderm หลั่งออกนอกเซลล์โดย Exocytosis 3) กลุ่มสเตรอยด์ ( Steroid ) ได้แก่ฮอณ์โมนจากอะดรีนัล คอร์เท็กซ์ และฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนกลุ่มนี้ ไม่ละลายน้าแต่ละลายในไขมัน เมือสร้างแล้วจะหลังออกมาใช้ทนที โดยหลังออกนอกเซลล์โดย ่ ่ ั ่ Simple diffusion
  • 2. ลักษณะการทางานและกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน 1 ระบบต่อมไร้ท่อ ทาหน้าที่ในการสร้างและหลั่งฮอร์โมนต่างๆ 2 ฮอร์โมนที่สร้างขึ้นถูกลาเลียงไปกับระบบเลือด ฮอร์โมนจึงมีการกระจายไปได้ทั้งร่างกาย 3 ฮอร์โมนออกฤทธิ์ยังอวัยวะเป้าหมายต่างๆ( Target organ) โดย Target organ จะมี Receptor ต่อฮอร์โมน ทาให้อวัยวะอื่นที่ไม่มี Receptor จึงไม่มีผลต่อฮอร์โมน 4 เมื่อจับกับ Receptor จะมีผลกระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์นั้นๆ 5 ฮอร์โมนจะกระตุ้นทาให้เกิดกระบวนการ Transcription และ Translation 6 เซลล์ตัวรับฮอร์โมนจึงมี Free ribosome จานวนมาก(เพราะต้องสร้างโปรตีน) 7 ฮอร์โมนต่างชนิด จะมีตัวรับ ( Receptor)และการออกฤทธิ์ต่างกัน ดังนี้ - Amine , Peptide ตัวรับอยู่ที่ผิวเซลล์ ออกฤทธิ์ต้องผ่าน Secondary messenger - Steroid hormone ตัวรับอยู่ที่ผิวนิวเคลียส ออกฤทธิ์โดยตรงต่อเซลล์ 4. สรุปฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง ต่อมใต้สมองส่วนหน้า(anterior lobe of Pituitary gland) ฮอร์โมนที่สร้าง องค์ประกอบ อวัยวะเป้าหมาย หน้าที่ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทางเคมี Somatotrophic โปรตีน เซลล์ทั่วไป - กระตุ้นเมทาบอลิซึมของ เด็ก hormone(STH)หรือ กล้ามเนื้อและ คาร์โบไฮเดรตและไขมัน(เพิ่มการ -H.น้อย:กระดูกแขนขา จะไม่ Growth กระดูก สลายไขมันและเพิ่มน้าตาลใน เจริญ=เตี้ยแคระ(Dwarfism) Hormone(GH) เลือด) -H.มาก=ร่างกายใหญ่โตผิดปกติ -กระตุ้นการเจริญของกระดูกและ (Gigantism) กล้ามเนื้อ ผู้ใหญ่ -กระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีน -H.น้อย:น้าตาลในเลือด ต่า=Simmond’s disease -H.มาก=การเจริญของกระดูก บางส่วนของร่างกายโดยเฉพาะส่วน ปลายของร่างกายผิดปกติ =Acromegaly
  • 3. ฮอร์โมนที่สร้าง องค์ประกอบ อวัยวะ หน้าที่ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทางเคมี เป้าหมาย Gonadotrophic hormoneประกอบด้วย 1. follicle stimulating ไกลโค- อัณฑะและ เพศชาย-กระตุ้นให้อัญฑะเจริญ มีมากหรือน้อยเกินไปจะทาให้ลักษณะ hormone (FSH) โปรตีน รังไข่ กระตุ้นการสร้างอสุจิ ทางเพศผิดปกติ เพศหญิง-กระตุ้นการเจริญของฟอลลิ เคิลในรังไข่และร่วมกับ LH กระตุ้น ให้ฟอลลิเคิลสร้างฮอร์โมนestrogen 2.Luteinizing ไกลโค- อัณฑะและ เพศชาย-กระตุ้นให้interstitial cell มีมากหรือน้อยเกินไปจะทาให้ลักษณะ hormone (LH) โปรตีน รังไข่ ของอัณฑะให้หลั่งฮอร์โมน ทางเพศผิดปกติ testosterone เพศหญิง-กระตุ้นให้มีการตกไข่และ กระตุ้นcorpusluteumให้หลั่ง ฮอร์โมนprogesterone Prolactin (PRL) โปรตีน ต่อมน้านม -กระตุ้นการสร้างน้านมและหลั่ง มีมากหรือน้อยเกินไปจะทาให้การสร้าง และรังไข่ น้านม(ในคน) น้านมผิดปกติ -ยับยั้งการตกไข่ Adrenocorticotrophic พอลิเพป- Adrenal กระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอล ถ้ามีมากหรือน้อยเกินไปจะทาให้ hormone (ACTH) ไทด์ cortex จาก Adrenal cortex ฮอร์โมน คอร์ติซอล มากหรือ น้อยตามไปด้วย Thyroid stimulating ไกลโค- ต่อม -กระตุ้นการเพิ่มขนาดของต่อม มีมากหรือน้อยเกินไปจะมีผลทาให้ต่อม hormone (TSH) โปรตีน ไทรอยด์ -เพิ่มอัตราการดูดไอโอไดด์ ไทรอยด์เจริญผิดปกติ -เพิ่มอัตราการสังเคราะห์สาร คอลลอยด์ในไทรอยด์ฟอลลิเคิล Endorphin ออกฤทธิ์ -ระงับความเจ็บปวด คล้าย -เกิดความคิดสร้างสรรค์ มอร์ฟีน -เพิ่มความตื่นตัวมีชีวิตชีวาและ ความสุข=สารแห่งความสุข ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (Intermediate lobe of Pituitary gland) Melanocyte stimulating ผิวหนัง -กระตุ้นการสร้างเม็ดสี hormone (MSH) -กระตุ้นให้สัตว์เลือดเย็นมีสีเข้มขึ้น
  • 4. ฮอร์โมนที่สร้าง องค์ประกอบ อวัยวะ หน้าที่ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทางเคมี เป้าหมาย ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior lobe of Pituitary gland)=ฮอร์โมนสร้างจากไฮโพทาลามัส Vasopressin หรือ เพปไทด์ ท่อหน่วยไต -กระตุ้นการดูดน้ากลับคืนที่ท่อของ ถ้ามี ADH น้อยเกินไปจะทา Antidiuretic hormone และเส้น หน่วยไตเข้าสู่กระแสเลือด ให้เกิดโรคเบาจืด (diabetes (ADH) เลือดแดง -ลดปริมาณน้าปัสสาวะ insipidus) กระตุ้นการหดตัวของเส้นเลือดแดง ขนาดเล็ก -จะหลั่งมากเมื่อแรงดันออสโมติกใน เลือดสูงขึ้นและมีความเครียด Oxytocin เพปไทด์ กล้ามเนื้อ กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก -ถ้ามีมากจะคลอดลูกก่อน เรียบของ และต่อมน้านม กาหนด อวัยวะ -ถ้ามีน้อยจะคลอดลูกยาก ภายใน 5.ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ = Thyroid gland ฮอร์โมนที่สร้าง องค์ประกอ อวัยวะ หน้าที่ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น บทางเคมี เป้าหมาย Triiodotyronine(T3) กรดอะมิโน เซลล์ทั่ว -เพิ่มอัตราเมทาบอลิซึมและ  มีฮอร์โมนมาก Thyroxin (T4) ที่มีไอโอดีน ร่างกาย อัตราการใช้O2ของเซลล์ทั่ว Hyperthyroidism/Grave’s (สร้างจากกลุ่มเซลล์ไทรอยด์ ร่างกาย disease/Thyrotoxicosis/ ฟอลลิเคิล =Thyroid -เพิ่มการสังเคราะห์โปรตีนและ Exopthalmic Toxic goiter follicle) เอนไซม์เร่งปฏิกิริยาต่างๆ -มีอาการขี้ร้อน หิวง่าย กินจุแต่ไม่ -เพิ่มการดูดซึมคาร์โบไฮเดรต อ้วน และการเผาผลาญเป็นพลังงาน -ตาโปน(Exophthalmos) -ควบคุมการเจริญเติบโต มีผล -คอพอกเป็นพิษ(Toxic Goiter) ต่อการพัฒนาของร่างกายและ -ถ้าเป็นมากจะมีไข้สูง หัวใจเต้นเร็ว สมองตามปกติ มากผิดจังหวะ กระตุ้นซิมพาเทติกและ -ควบคุมเมทามอร์โฟซีสของสัตว์ เสียชีวิตได้ ครึ่งบกครึ่งน้า ทาให้ลูกอ๊อด  มีฮอร์โมนน้อย กลายเป็น Myxedema /Simple goiter / Hypothyroidism -อ้วน บวมน้าไม่ค่อยมีแรง เฉื่อยชา ทนหนาวไม่ได้=Simple goiter(คอ พอกธรรมดา ตาไม่โปน) -ในเด็ก=Cretinism(เอ๋อ)พัฒนาการ ทางร่างกายและสมองช้าลง ปัญญา อ่อน
  • 5. ฮอร์โมนที่สร้าง องค์ประกอบ อวัยวะ หน้าที่ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทางเคมี เป้าหมาย Calcitonin (สร้างจาก เพปไทด์ เซลล์กระดูก ลดแคลเซียม Ca2+ ในเลือด เซลล์ซี=C-cell หรือ -ลดการดูดกลับแคลเซียมที่ไต พาราฟอลลิคิวลาร์ -เพิ่มการสะสมแคลเซียมใน =parafollicular cell) กระดูกทาให้กระดูกหนาขึ้น 6. ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ =Parathyroid gland ฮอร์โมนที่สร้าง องค์ประกอบ อวัยวะ หน้าที่ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทางเคมี เป้าหมาย Parathormone / เพปไทด์ กระดูก ท่อ เพิ่มแคลเซียม Ca2+ ในเลือด -ถ้ามีมากเกินไปจะทาให้กระดูกผุ Parathyroid หน่วยไต -เพิ่มการดูดกลับแคลเซียมที่ไต หัก งอได้ง่าย hormone=PTH และลาไส้ -กระตุ้นการสังเคราะห์วิตามินดี -ถ้ามีน้อยเกินไปจะเกิดอาการ เล็ก เพิ่มขึ้นทาให้มีการดูดซึมแคลเซียมที่ กระตุก ลาไส้เล็กเพิ่มขึ้น -สลายแคลเซียมจากกระดูกและฟัน ทาให้กระดูกบาง หักง่าย -กระตุ้นให้ไตขับฟอสเฟตออกนอก ร่างกาย 7.ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ (Islets of Langerhans): เป็นกลุ่มเซลล์ที่กระจายอยู่ในตับอ่อน ฮอร์โมนที่สร้าง องค์ประกอบ อวัยวะ หน้าที่ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทางเคมี เป้าหมาย Insulin จากกลุ่มเซลล์ โปรตีน กล้ามเนื้อ  ลดน้าตาลในเลือด  -ถ้ามีมากเกินไป : น้าตาลใน ชนิด -cell และตับ -กระตุ้นการเปลี่ยนน้าตาลกลูโคส เลือดต่า อาจเกิดอาการช็อก เป็นไกลโคเจน หมดสติ -กระตุ้นการเปลี่ยนกลูโคสเป็น -ถ้ามีน้อยเกินไป : ระดับ ไขมัน น้าตาลในเลือดสูงจะเป็น -กระตุ้นกลูโคสเข้าสู่เซลล์เพื่อเผา โรคเบาหวาน(Diabetes ผลาญเป็นพลังงาน mellitus) -กระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีนจาก กรดอะมิโน Glucagon จากกลุ่ม เพปไทด์ เซลล์ตับ  เพิ่มน้าตาลในเลือด  -ถ้ามีมากหรือน้อยเกินไปจะไม่ เซลล์ชนิด -cell และ -กระตุ้นการสลายไกลโคเจนเป็น เกิดผลเสียต่อร่างกายเท่าใด กล้ามเนื้อ กลูโคส(เซลล์ตับ) เพราะมีฮอร์โมนชนิดอื่นๆทา -กระตุ้นการสังเคราะห์กลูโคสจาก หน้าที่คล้ายกันได้ กรดอะมิโน
  • 6. โรคเบาหวาน(Diabetes mellitus) : DM  เป็นความบกพร่องของการสร้างฮอร์โมนอินซูลิน  ผู้ป่วยจะมีระดับน้าตาลในเลือดสูง โดยวินิจฉัยจาก – Fasting blood glucose มากกว่า 126 mg/dl – Random blood glucose มากกว่า 200 mg/dl อย่างน้อย3 ครั้ง สาเหตุเกิดจากความผิดปกติต่างๆ  มีการทาลาย -cell ของ Islets of Langerhans : DM type І ► พบได้ในทุกช่วงอายุ  ตัวรับฮอร์โมนดื้อต่อการรับอินซูลิน (พบในผู้สูงอายุ) : DM type І І อาการของโรคและภาวะแทรกซ้อน  ระดับน้าตาลในเลือดสูง เนื่องจากไม่สามารถนากลูโคสเข้าสู่เซลล์ได้  เซลล์ขาดพลังงานทาให้เซลล์อ่อนแอ ภูมิต้านทานแย่  ทาให้ปลายประสาทเสื่อม ชาตามปลายมือปลายเท้า  มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผล และแผลหายช้า อาจเกิดแผลเน่า ต้องตัดอวัยวะ  มีผลต่อไต ทาให้ไตวายได้ : กรองน้าตาลมากเกินไป  มีผลต่อ Retina ทาให้อาจเกิดภาวะตาบอดจากเบาหวานได้ (Diabetes retinopathy : เบาหวานขึ้นตา) 8.ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต ฮอร์โมนที่สร้าง องค์ประกอบ อวัยวะ หน้าที่ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทางเคมี เป้าหมาย 1.ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก (Adrenal cortex) ถ้าต่อมถูกทาลาย : เป็นโรคแอดดิ สัน(Addison’s disease) 1.1 Glucocorticoid สเตรอยด์ เซลล์ตับ  เพิ่มน้าตาลในเลือด  ถ้ามีมาก : เป็นโรคคูชชิ่ง ( เช่น และ -กระตุ้นการสลายไกลโคเจนเป็น Cushing ’s syndrome ) cortisal,cortisone,c กล้ามเนื้อ กลูโคสที่ตับและกล้ามเนื้อ Concept orticosterone ควบคุมเมทาบอลิซึมของ หน้าจันทร์แรม แก้มห้อยเชื่อม คาร์โบไฮเดรตและโปรตีน เอื้อมไม่ไหว ยายมีหนวด -กระตุ้นให้มีการสร้างกลูโคส ปวดกระดูก ลูกทะเล จากสารอื่นได้แก่กรดอะมิโน เท่เหมือนควาย พุงแตกลาย กรดไขมันและกลีเซอรอล อ้วนแต่ตัว 1.2 ท่อหน่วยไต -ควบคุมสมดุลน้า Na+และ K+ ถ้ามีมาก : จะขับ K+ออกไปกับ Mineralocorticoid สเตรอยด์ และเยื่อบุ ในเลือด(สงวน Na+แต่ขับ K+ ปัสสาวะมาก แต่ Na+จะถูกสะสม เช่น aldosterone ทางเดิน ออกจากไต) ไว้ อาหาร -ควบคุมสมดุลความเข้มข้นของ ถ้ามีน้อย : จะขับ Na+และ Cl- ฟอสเฟต ออกไปกับปัสสาวะมาก 1.3 ฮอร์โมนเพศ : สเตรอยด์ ควบคุมลักษณะทางเพศของชาย ถ้ามีมาก : จะเป็นหนุ่ม-สาวเร็ว มี Sex hormone และหญิง ขนตามตัวมาก เสียงห้าวมีเครา
  • 7. ฮอร์โมนที่สร้าง องค์ประกอบ อวัยวะ หน้าที่ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทางเคมี เป้าหมาย 2.ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนใน (Adrenal Medulla) 2.1 Adrenaline หรือ เอมีน หัวใจ เส้น  เพิ่มน้าตาลในเลือด  ถ้ามีมากเกินไปร่างกายจะมีพลังงาน Epinephrine เลือดแดง -กระตุ้นให้ไกลโคเจน มาก ขนาดเล็ก เปลี่ยนเป็นกลูโคสในกระแส ตับ เซลล์ เลือดมากขึ้น -กระตุ้นให้หัวใจเต้นแรงความ ดันโลหิตสูงขึ้น เลือดแข็งตัวเร็ว -เส้นเลือดแดงที่ผิวหนังและช่อง ท้องหดตัว หลอดลมขยาย -เพิ่มการใช้ O2ของเซลล์ 2.2 Noradrenaline เอมีน หัวใจ เส้น คล้ายกับอะดรีนาลิน คือทาให้ หรือ เลือดแดง ความดันเลือดสูง เส้นเลือด Norepinephrine ขนาดเล็ก artery ที่ไปเลี้ยงอวัยวะภายใน ตับ เซลล์ ต่างๆบีบตัว เพิ่มระดับน้าตาล ในเลือด 9.ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ (Gonadal sex hormone ) ฮอร์โมนที่สร้าง องค์ประกอบ อวัยวะเป้าหมาย หน้าที่ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทางเคมี 1.อัณฑะ (Testis)จากกลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียล (Interstitial cells of Leydig)เมื่อได้รับการกระตุ้นจาก LH Androgen ชนิดที่มี สเตรอยด์ อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับ -ควบคุมการเจริญเติบโตของ ถ้ามีมาก : ทาให้มีความเป็น มากที่สุด คือ การสืบพันธุ์และ อวัยวะสืบพันธุ์ หนุ่มเร็ว Testosterone การแสดงลักษณะ -ควบคุมลักษณะความเป็น ถ้ามีน้อย : ทาให้ระบบ ต่างๆของเพศชาย ผู้ชาย สืบพันธุ์เจริญเติบโตช้า -กระตุ้นการสร้างกล้ามเนื้อ มีผลทาให้สิวมากขึ้น เสียง ห้าว 2. รังไข่ (Ovary) -Estrogen สเตรอยด์ รังไข่ มดลูกอวัยวะ -ควบคุมลักษณะความเป็น ถ้ามีมาก : ทาให้มีความเป็น จากเซลล์ฟอลลิเคิล ที่เกี่ยวข้องกับการ สาว สาวเร็ว (Follicular cell) สืบพันธุ์และการ -ทาให้มีเต้านมใหญ่(เพิ่ม ถ้ามีน้อย : ทาให้ระบบ แสดงลักษณะต่างๆ โอกาสเสี่ยงในการเกิดมะเร็ง สืบพันธุ์เจริญเติบโตช้า ของเพศหญิง เต้านม)
  • 8. ฮอร์โมนที่สร้าง องค์ประกอบ อวัยวะเป้าหมาย หน้าที่ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทางเคมี - Progesterone หรือ สเตรอยด์ ต่อมน้านม เยื่อบุ -ยับยั้งการเจริญเติบโตของ ถ้ามีมาก : ทาให้มีความเป็น progestin จากCorpus มดลูก เซลล์ฟอลลิ ฟอลลิเคิลและการตกไข่ สาวเร็ว luteum cell เคิล -ทาให้ต่อมน้านมขยายตัว ถ้ามีน้อย : ทาให้ระบบ -ทาให้เยื่อบุมดลูกชั้นใน สืบพันธุ์เจริญเติบโตช้าและ (endometrium)หนาขึ้น มดลูกจะลอกทาให้เกิดการแท้ง -Relaxin จากเซลล์ สเตรอยด์ -ทาให้เอ็นที่ยึดหัวเหน่าคลาย ฟอลลิเคิล (Follicular ตัว cell) -ปากมดลูกอ่อนนุ่มทาให้ คลอดลูกง่าย ต่อมไพเนียล(Pineal gland ) Melatonin เอมีน -ผิวหนังในสัตว์ -ในสัตว์เลือดเย็น กระตุ้นให้ ถ้ามีมาก : จะเป็นหนุ่มสาวช้า เลือดเย็น เม็ดสีมารวมตัว ทาให้ผิวหนัง กว่าวัยอันสมควร -อวัยวะเพศใน มีสีจาง ถ้ามีน้อย : จะเป็นหนุ่มสาว สัตว์เลือดอุ่น -ในสัตว์เลือดอุ่น ยับยั้งการ เร็วกว่าวัยอันสมควร เจริญเติบโตของอวัยวะเพศ ไม่ให้เจริญเร็วก่อนกาหนด 10.ฮอร์โมนจากอวัยวะอื่น ฮอร์โมนที่สร้าง เซลล์ที่สร้าง อวัยวะเป้าหมาย หน้าที่ Human Chorionic เซลล์ของรก คอร์ปัสลูเทียม -กระตุ้นคอร์ปัสลูเทียมในรังไข่ให้เจริญต่อไป Gonadotrophin:HCG (placenta) และสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนเพิ่มขึ้น Thymosin ต่อมไทมัส ต่อมไทมัส -กระตุ้นการสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดเซลล์ (Thymus gland) ที (T-lymphocyte) -ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ Gastrin Pyloric mucosa cellใน กระเพาะอาหารและ -กระตุ้นการหลั่งเอนไซม์และกรดไฮโดรคลอ กระเพาะอาหาร ตับอ่อน ริกของกระเพาะอาหาร -กระตุ้นการหลั่งเอนไซม์จากตับอ่อน -ควบคุมการบีบตัวของกระเพาะอาหารและ ลาไส้เล็ก Secretin Duodenal mucosa cell ตับอ่อน -กระตุ้นตับอ่อนให้หลั่งเอนไซม์และโซเดียม ในลาไส้เล็ก ไฮโดรเจนคาร์บอเนต -กระตุ้นการบีบตัวของท่อน้าดี
  • 9. การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน การควบคุมการหลั่งฮอร์โมน (Control of Hormone Secretion) .........การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อส่วนใหญ่เป็นกลไกแบบตอบสนองกลับ (feedback mechanism) ซึ่งอาจจะเป็นไปใน ทางบวก (กระตุ้น) เรียกว่า positive feedback หรืออาจจะเป็นไปในทางลบ (ยับยั้ง) เรียกว่า negative feedback การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนแบ่งเป็น 3 แบบ 1. ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน 2. การเปลี่ยนแปลงทางสรีระของร่างกายควบคุมการหลั่งฮอร์โมน 3. สารเคมี ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน ......ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน Hormonal control of tropic hormone secretion) (  ลักษณะการหลั่ง tropic hormones มีต่อมไร้ท่อเป็นอวัยวะเป้าหมายซึ่งจะสร้างฮอร์โมนกลับไปควบคุมการหลั่งของ tropic hormones  ในเพศหญิง ฮอร์โมน FSH, LH เป็น tropic hormones การหลั่งของฮอร์โมนในกลุ่มนี้ถูกควบคุมโดยฮอร์โมน estrogen และ progesterone ที่สร้างมาจากรังไข่ ..................................... ..............
  • 10. .......... . ในเพศชายฮอร์โมน FSH, LH (ICSH) เป็น gonadotropic hormones หลั่งออกมาจาก ต่อมใต้สมองส่วนหน้า การหลั่งของฮอร์โมนกลุ่มนี้ถูก ควบคุมโดยฮอร์โมน testosterone ที่สร้างมาจาก Leydig cells ที่อยู่ในลูกอัณฑะ การทางานของ testosterone จะเป็นแบบ feedback mechanism เพื่อควบคุมการสร้างอสุจิและสร้าง ฮอร์โมน FSH, LH .......................... การเปลี่ยนแปลงทางสรีรของร่างกายควบคุมการหลั่งฮอร์โมน The physiological change control of hormone secretion) ( การเปลี่ยนแปลงทางสรีรของร่างกาย (ระดับน้าตาลในเลือดที่สูงหรือต่า) จะเป็นตัวกระตุ้นหรือยับยั้งต่อมไร้ท่อให้สร้างและหลั่ง ฮอร์โมนออกมา ตัวอย่างเช่น กลุ่มเซลล์ในตับอ่อนเรียกว่า beta–cells of islet of Langerhans ซึ่งทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อ ที่สร้างและ หลั่งฮอร์โมน insulin ออกมา Rise of Glucose in blood .................... ...........
  • 11. สารเคมีควบคุมการหลั่งฮอร์โมน ( hemical substance control of hormone secretion) C ........... การเปลี่ยนแปลงการทางานของสรีรของร่างกาย (ความดันเลือดต่า) ทาให้เกิดสภาวะที่ไปกระตุ้นเนื้อเยื่อที่ไม่ใช่ต่อมไร้ท่อ (Juxtaglomerular cells) ให้สร้างและปล่อยสารเคมี (renin) ออกมาสู่กระแสเลือด และ renin ถูกเปลี่ยนไปเป็น angiotensin ซึ่งไป กระตุ้นให้ต่อมหมวกไปชั้นนอก (adrenal cortex) หลั่งฮอร์โมน aldosterone ออกมาสู่กระแสเลือด ทาให้เกิดการดูดซึมกลับของ Na+ และน้าจากหลอดไตตรงบริเวณ distal convoluted tubule เข้าสู่เส้นเลือดฝอยตรงบริเวณนั้น ทาให้ความดันเลือดสูงซึ่งจะไปยับยั้งการ ปล่อย renin ออกมา ..............................
  • 12. ฟีโรโมน ...............Pheromone หมายถึง สารเคมีที่สัตว์ขับออกมานอกร่างกาย โดยต่อมมีท่อ (exocrine gland) ซึ่งไม่มีผลต่อตัวเอง แต่จะไปมีผล ต่อสัตว์ตัวอื่นที่เป็นชนิดหรือ สปี ชีส์เดียวกัน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม และสรีรวิทยาเฉพาะอย่างได้ ชนิดของ Pheromone  Releaser Pheromone = ทาให้พฤติกรรมเปลี่ยนไป 1. สารดึงดูดเพศตรงข้าม (Sex Attractant) –แมลงสาบตัวเมียจะหลั่ง ฟีโรโมนล่อแมลงสาบตัวผู้ได้ , การดึงดูดของผีเสื้อไหม 2. สารเตือนภัย (Alarm Pheromone) –สุนัขมีการปัสสาวะบอกอาณาเขต -Dead Pheromone ในมดที่ถูกบี้ตาย หรือในผึ้งที่ถูกฆ่าตาย 3. สารส่งเสริมการรวมกลุ่ม (Aggregation – Promoting Subtances) ยกเว้นสาร สารที่มีกลิ่นเหม็นๆของแมลงที่ผลิตออกมาเพื่อป้องกันศัตรู เรียกว่า Allomones  Primer Pheromone = ทาให้สรีระร่างกายเปลี่ยนไป 1. Queen Pheromone ในนางพญาผึ้ง จะทาให้ผึ้งงานเป็นหมัน 2. Bruce’s Pheromone ในหนูตัวผู้ จะทาให้หนูตัวเมียแท้ง................... ........................................... ฮอร์โมนจากแมลง ...............ฮอร์โมนจากแมลงมี 3 กลุ่ม คือ 1. ฮอร์โมนจากสมอง (brain hormone หรือ BH) เป็นกลุ่มฮอร์โมนซึ่งสร้างจาก neurosecretory cell ในสมอง กระตุ้นต่อมไร้ ท่อบริเวณทรวงอก ทาให้สร้างฮอร์โมน molting hormone (MH) ไปเก็บไว้ใน corpus cardiacum ต่อไป 2. ฮอร์โมนเกี่ยวกับการลอกคราบ (molting hormone หรือ MH) สร้างบริเวณทรวงอกมีผลทาให้แมลงลอกคราบ และ metamorphosis เป็นตัวโตเต็มวัย 3. ฮอร์โมนยูวีไนล์(Juvenile hormone หรือ JH) สร้างขึ้นในระยะตัวอ่อน ทาหน้าที่ป้องกันการลอกคราบ ถ้ามีมากตัวหนอนและ ดักแด้ไม่เป็นตัวเต็มวัย แต่ถ้ามี JH ลดลง จะกระตุ้นให้ลอกคราบแล้วกลายเป็นตัวเต็มวัยได้
  • 13. แบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน คาสั่ง จงตอบคาถามต่อไปนี้มาพอเข้าใจ 1. ฮอร์โมนคืออะไร ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 2. ต่อมไร้ท่อที่สาคัญในร่างกายได้แก่ต่อมอะไรบ้าง ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 3. โกรทฮอร์โมนทาหน้าที่อะไร ในเด็กถ้ามีฮอร์โมนนี้มากจะมีลักษณะอย่างไร ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 4. อะโครเมกาลีคืออะไร มีสาเหตุมาจากอะไร ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 5. FSH มีหน้าที่อย่างไร ทั้งในเพศชายและเพศหญิง ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 6. มารดาที่ให้นมทารก จะมีฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างน้านมคืออะไร ตอบ ............................................................................................................................................................... 7. ADH มีหน้าที่อะไร ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนนี้จะเป็นอย่างไร ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 8. จงบอกชื่อกลุ่มเซลล์และฮอร์โมนที่ตับอ่อนสร้าง ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 9. อินซูลินควบคุมระดับน้าตาลในเลือดอย่างไร ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 10. กลูคากอนมีหน้าที่คล้ายฮอร์โมนอะไร ตอบ ............................................................................................................................................................... 11. อะดรีนัลคอร์เทกซ์ สร้างฮอร์โมนอะไร และถ้าถูกทาลายร่างกายเป็นอย่างไร ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 12. อะดรีนัลเมดัลลา สร้างฮอร์โมนอะไร ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 13. ต่อมไทรอยด์อยู่ที่ไหน ถ้าเด็กถูกตัดต่อมไทรอยด์จะมีลักษณะอย่างไร ตอบ ............................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................
  • 14. 14. โรคคอหอยพอกเกิดจาก ............................................................................................................................... 15. โรคคอหอยพอกเป็นพิษเกิดจาก ................................................................................................................... 16. มิกซีดีมาเกิดขึ้นอย่างไร ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 17. ต่อมพาราไทรอยด์อยู่ที่ไหน .................................................................................. ถ้าตัดต่อมพาราไทรอยด์ ออกจะเกิดอะไรขึ้นกับร่างกาย ...................................................................................................................... 18. ไก่ตัวผู้มีหางและหงอนยาวกว่าไก่ตัวเมียเนื่องจากการทางานของฮอร์โมนอะไร ตอบ ............................................................................................................................................................... 19. อัณฑะสร้างฮอร์โมนเพศชายที่สาคัญคือ ตอบ ............................................................................................................................................................... 20. รังไข่มีแหล่งสร้างฮอร์โมนที่สาคัญ 2 แห่ง คือ ตอบ ............................................................................................................................................................... 21. ฮฮร์โมนที่สร้างมาจากรกและออกมากับปัสสาวะ ทาให้ทดสอบได้ว่ามีการตั้งครรภ์คือ ตอบ ............................................................................................................................................................... 22. ต่อมในร่างกายที่เป็นต่อมไร้ท่อและต่อมมีท่อได้แก่อะไรบ้าง ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 23. ฮอร์โมนที่สร้างจากอวัยวะอื่น ๆ ในร่างกายได้แก่อะไรบ้าง ตอบ ............................................................................................................................................................... 24. การมีประจาเดือนในเพศหญิงเกี่ยวข้องกับฮอร์โมนใดบ้าง ตอบ ............................................................................................................................................................... 25. การตั้งครรภ์ในหญิงจะทาให้มีการหยุดสร้างฮอร์โมนอะไรบ้าง และสร้างฮอร์โมนอะไรบ้าง ทาไมจึงเป็นเช่นนั้น ตอบ ............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................
  • 15. แบบทดสอบ ชุดที่ 1 7. ฮอร์โมนชนิดใดทาหน้าที่ควบคุมการดูดกลับของท่อหน่วย คาชี้แจง ให้เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด ไตและกระตุ้นให้หลอดเลือดแดงหดตัว 1. ต่อมไร้ท่อที่ควบคุมระดับน้าตาลในเลือด ให้อยู่ในระดับ ก. Oxytocin ปกติ คือข้อใด ข. Melatonin ก.Thyroid ค. Vasopressin ข. Islets of Langerhan ง. Calcitonin ค. Pineal 8. ฮอร์โมนชนิดใดทาหน้าที่ลดการดูดกลับของแคลเซียมที่ ง. Pituitary ไตและลดอัตราการดูดซึมแคลเซียมที่ลาไส้เล็ก 2. การเจริญเติบโตของร่างกายจะเป็นไปอย่างปกติ ต้องอยู่ ก. Insulin ภายใต้การควบคุมของต่อมใด ข Calcitonin ก. Adrenal medulla ค. Glucagon ข. Duodenum ง. Aldosterone ค. Pituitary 9. ต่อมชนิดใดเป็นกลุ่มของเซลล์รับแสง ง. Pineal (Photoreceptor) ของสัตว์เลือดเย็น 3. อวัยวะเป้าหมาย(Target organ) ของฮอร์โมน ก. Pituitary หมายถึงข้อใด ข. Thyroid ก. อวัยวะที่สร้างฮอร์โมน ค. Hypothalamas ข. อวัยวะที่ฮอร์โมนออกฤทธิ์ ง. Pineal gland ค. อวัยวะที่ควบคุมการสร้างฮอร์โมน 10. ฮอร์โมนชนิดใดมีหน้าที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะ ง. ถูกทุกข้อ สืบพันธุ์ไม่ให้เติบโตเร็วเกินไป 4. หลังจากที่เอ็มบริโอฝังตัวที่ผนังมดลูกแล้ว Placenta จะ ก. Melatonin หลั่งฮอร์โมน HCG เพื่อกระตุ้นคอร์ปัสลูเทียมในรังไข่ให้ ข. Secretin เจริญต่อไปและสร้างฮอร์โมนขนิดใดเพิ่มขึ้น ค. Progesterone ก. Estrogen ง. Testosterone ข. Progesterone ค. Testosterone ง. Secretin 5. เมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่น ฮอร์โมนชนิดใดกระตุ้นการ เจริญเติบโตของอัณฑะและรังไข่ ก. Testosterone, LH ข. LH, Progesterone ค. Testosterone, Estrogen ง. LH, FSH 6. ฮอร์โมนชนิดใดเมื่อมีมากเกินไป ทาให้เกิดโรค คูชชิง (Cushing's Syndrome) ก. glucocorticoids ข. mineralocorticoids ค. parathormone ง. calcitonin
  • 16. ชุดที่ 2 คาชี้แจง ให้เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด 1. ฮอร์โมนใดมีหน้าที่กระตุ้นการเปลี่ยนไกลโคเจนไปเป็นกลูโคส ซึ่งทาให้ระดับน้าตาลในเลือดสูงขึ้น ก. กลูคากอน และ อินซูลิน ข. กลูคากอน และ คอร์ติซอล ค. ฮอร์โมนโกรท และ อะดรีนาลีน ง. ข้อ ข , ค ถูก 2. ข้อใดต่อไปนี้แสดงให้เห็นถึง Negative feedback mechanism ก. กระบวนการดูดกลุโคสกลับคืนของท่อหน่วยไต ข. การขับน้ามันออกทางผิวหนังเพื่อลดการสูญเสียน้าทางผิวหนัง ค. ความสัมพันธ์ระหว่างต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ และระดับฮอร์โมนไทรอกซินในกระแสเลือด ง. ซากสิ่งมีชีวิตเกิดการย่อยสลายเป็นสารประกอบที่พืชสามารถนากลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก 3. ฮอร์โมนใดทาหน้าที่ควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึมในร่างกาย เพื่อปรับดุลยภาพของสภาวะแวดล้อมในร่างกาย ก. Insulin , Glucagon , Parathormone , Calcitinin ข. GH , Thyroxin , Sex hormone , Thyroxin ค. Oxytocin , Vasopressin , GH , Thyroxin ง. MSH , FSH , ACTH , LH 4. เมื่อร่างกายขาดโซเดียม ฮอร์โมนที่หลั่งออกมามากเพื่อกระตุ้นท่อหน่วยไตเพื่อเพิ่มการดูดโซเดียมกลับสู่ร่างกายคืออะไร ก. Aldosterone ข. Calcitonin ค. Cortisol ง. ADH 5. ฮอร์โมนที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุมระดับแคลเซียมในเลือด คือ ก. Thyroxin , Glucagon ข. Calcitonin , Parathormone ค. Prolactin , Oxytocin ง. Aldosterone , Cortisol
  • 17. 6. นักเรียนจะสังเกตเห็นว่าถ้าวันไหนดื่มน้ามา จะปัสสาวะมาก แสดงว่าภายในร่างกายมีการปรับสภาพการทางานอย่างไร ก. น้าในเลือดมีมาก แรงดันออสโมติกสูง กระตุ้นให้มีการหลั่งฮอร์โมน ท่อหน่วยไตปล่อยน้าสู่ท่อรวมมาก ข. น้าในเลือดมีมาก แรงดันออสโมติกสูง ส่งผลให้ไม่มีการหลั่งฮอร์โมน ท่อหน่วยไตดูดน้ากลับคืนน้อย ค. น้าในเลือดมีมาก ท่อหน่วยไตปล่อยน้าสู่ท่อรวมมากขึ้น ง. น้าในเลือดมีมาก แรงดันออสโมติกต่า ส่งผลให้ไม่มีการหลั่งฮอร์โมน ท่อหน่วยไตดูดน้ากลับคืนน้อย 7. ถ้าปริมาณของเลือดลดลงจากปกติ และแรงดันออสโมติกของพลาสมาสูงกว่าปกติร่างกายจะปรับสรีระภายในโดย ก. การกลั่ง ADH ลดลง ข. การหลั่ง ACTH เพิ่มขึ้น ค. การกลั่ง Aldosterone ถูกยับยั้ง ง. ถูกทุกข้อ 8. ฮอร์โมนที่มีบทบาทในการเพิ่มปริมาณน้าตาลกลูโคสในเลือด คือ ก. Insulin ข Glucagon ค. Cortisol ง. ถูกทุกข้อ 9. ระดับน้าตาลในเลือดถูกควบโดย Insulin และฮอร์โมนกลุ่มใด ก. Cortisol , Vasopressin ข. Epinephrine , Cortisol ค. Epinephrine , Calcitonin ง. Oxytocin , Thyroxin 10. ไต ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมควบคุมการทางานในข้อใดร่วมกัน ก. ปริมาณน้าตาลในเลือด ข. ความดันเลือด ค. ปริมาณแคลเซียมอิออนในเลือด ง. การเจริญเติบโตของร่างกาย