SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
นางสาวกมลรัตน์    สุ วรรณคา    เลขที่ ๒๕
นางสาวนริศรา      ตะสี         เลขที่ ๒๗
นางสาวนุชนาถ      เกาะนาใส
                        ้     เลขที่ ๒๘
นางสาวศิริรัตน์   ไวมงคุณ      เลขที่ ๓๑
         มัธยมศึกษาที่ ๔/๔
สู บบุหรี่เครียดเสี่ ยงเกิดโรคแผลในกระเพาะอาหาร

                                                 โรคของกระเพาะอาหารโดยตรงที่พบบ่อยคือ โรคแผล
                                            ในกระเพาะอาหาร ซึ่งพบบ่อยในคนวัยทางาน และพบใน
                                            ชายมากกว่าหญิง อาการสาคัญคือ มีอาการปวดท้องบริ เวณ
                                                                  ั
                                            ลิ้นปี่ มักจะสัมพันธ์กบการกินอาหาร
             โรคแผลในกระเพาะอาหาร หรือคนทัวไปเรียกกันติดปากว่ า โรคกระเพาะ หรือ โรคกระเพาะอาหาร เกิดจากสาเหตุ
                                                  ่
หลายประการ และมีกลไกการเกิดโรคทีซับซ้ อนมาก สาเหตุมาจากกรดและน้ าย่อยที่หลังออกมาในกระเพาะอาหาร ไม่วากรดนั้น
                                     ่                                          ่                               ่
จะมีปริ มาณมากหรื อน้อยจะเป็ นตัวทาลายเยือบุกระเพาะอาหาร ร่ วมกับมีความบกพร่ องของเยือบุกระเพาะอาหารที่สร้างแนว
                                         ่                                            ่
ต้านทานกรดไม่ดี       นอกจากนี้ยงมีปัจจัยอื่นที่ส่งเสริ มให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร จนเป็ น โรคกระเพาะ ได้แก่ ยาแอสไพริ น
                                   ั
ยารักษาโรคกระดูกและข้ออักเสบ การสู บบุหรี่ ความเครี ยด อาหารเผ็ด สุ รา ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ทาให้เกิดการระคายเคืองต่อเยือบุ
                                                                                                                     ่
กระเพาะอาหาร เกิดการอักเสบเรื้ อรัง แล้วนาไปสู่ การเกิดแผลในกระเพาะอาหาร หรื อ โรคกระเพาะ และลาไส้เล็กส่ วนต้นได้

               "เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร" อีกหนึ่งสาเหตุสาคัญของ โรคกระเพาะ ปัจจุบนพบว่ าเชื้อ เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร
                                                                                ั
(Helicobacter pylori) เป็ นเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งทีอยู่ในกระเพาะอาหาร มีรูปร่ างเป็ นเกลียวและมีหาง มีความทน
                                                              ่
                                                                ่                                 ่
กรดสู งเนื่องจากสามารถสร้างสารที่เป็ นด่างออกมาเจือจางกรดที่อยูรอบๆ ตัวมัน ทาให้สามารถอาศัยอยูในชั้นผิวเคลือบภายใน
กระเพาะอาหารได้ และยังสร้างสารพิษทาลายเซลล์เยือบุผวของกระเพาะอาหาร ส่ งผลให้เกิดการอักเสบและเกิดการเปลี่ยนแปลง
                                                  ่ ิ
ของเซลล์เยือบุกระเพาะอาหาร จึงนับเป็ นสาเหตุสาคัญอันดับหนึ่งที่ทาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร
            ่
อาการจะดีขน หรือหายไป เมื่อรับประทานอาหาร ยาลดกรด หรือนม อาการมักเป็นๆ หายๆ อาจจะเป็นช่วงแรก ไม่
                             ึ้
นานแล้วก็หายไป แล้วเป็นใหม่ กลายเป็นแผลเรื้อรังได้ ซึ่งบางครั้งอาจมีผลแทรกซ้อน เช่น มีเลือดออกจากแผลในกระเพาะอาหาร
หรือแผลนั้นทะลุเกิดการอักเสบในช่องท้องต้องผ่าตัดฉุกเฉินก็ได้
                สาเหตุของโรคแผลในกระเพาะอาหาร
                         1.การหลั่งกรดผิดปกติในกระเพาะอาหาร
                         2.กรรมพันธุ์ พบว่าเกิดกับคนในครอบครัวเดียวกันได้บ่อยๆ
                         3.บุหรี่ ทาให้มีการผลิตกรนในกระเพาะอาหารมากขึ้น นอกจากนี้ยังทาให้แผลหายช้า
                         4.ยา บางอย่างมีผลทั้งระคายเคืองกระเพาะอาหารโดยตรง และให้กลไกการป้องกันในกระเพาะอาหารเสียไป
                ได้แก่ ยาแอสไพริน กลุ่มยา NSAIDs ที่ใช้รักษาโรคข้อแก้ปวด ยาในกลุ่มสเตรียรอยด์ ฯลฯ
                         5.ความเครียด ความกังวล ทาให้มีการหลั่งกรดมากขึ้น
                         6.การติดเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อ Helicobacterpylori
การรักษาโรคแผลในกระเพาะอาหาร
                    คนวัยทางานมักตรากตราทางานหนัก กินอาหารไม่เป็ นเวลา พักผ่อนน้อย มีความเครี ยดจากงาน และใช้ยาแก้
                                                                           ั
ปวดเมื่อยบ่อย เมื่อแพทย์ซกประวัติ อาการ ควาเสี่ ยง และตรวจร่ างกาย เข้าได้กบโรคแผลในกระเพาะอาหาร และไม่ใช่โรคอื่นๆ ที่
                         ั
อาการคล้ายกันดังกล่าวข้างต้น ก็จะให้การรักษาไปเลย
                    การรักษา ต้องมี 2 อย่างประกอบกันเสมอ คือ การรักษาด้วยยา และการปฏิบติตวที่ถูกต้องของผูป่วย และการรักษาด้วยยา
                                                                                      ั ั                ้
แพทย์มกจะให้ยากลุ่มลดการหลังกรดในกระเพาะอาหาร หรื อยาที่เคลือบผิวหนังกระเพาะอาหารไว้ เช่น ยา Cimetidine Ranitidine
        ั                    ่
Omeprazole Sucralfate ซึ่ งยังมีอีกหลายชนิด หลายกลุ่ม ส่ วนใหญ่แพทย์มกไม่ให้ยาน้ า อย่าง Alum milk อาจเป็ นเพราะผูป่วย
                                                                               ั                                              ้
มักหามากินเอง ก่อนมาหาแพทย์ และการใช้ Alum milk อย่างเดียวเพื่อรักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารต้องกินบ่อยครั้งในปริ มาณมาก จน
อาจมีผลข้างเคียงของยาได้ บางครั้งแพทย์อาจให้ Alum milk มาใช้บรรเทาอาหาร ร่ วมกับยาอื่นก็ได้ การรักษาด้วยยาอาจใช้เวลา 4-8
สัปดาห์


                                                         การปฏิบัติตวของผู้ป่วย
                                                                    ั
                          การปฏิบติตวของผูป่วย เป็ นปั จจัยสาคัญที่จะทาให้หายเร็ วขึ้น ซึ่ งก็คือการลดความเสี่ ยงที่ทาให้เกิดโรค ได้แก่
                                   ั ั        ้
                               1.รับประทานอาหารให้เป็ นเวลา ควรรับประทานอาหาร 3 มื้อ เว้นอาหารรสจัด งดรับประทานอาหารว่างหลัง
                          อาหารมื้อเย็น
                               2.ระหว่างรับประทานอาหาร เคี้ยวให้ละเอียดไม่รับประทานอาหารเวลาเหนื่อยมากๆ หรื อหลังเล่นกีฬา
                               3.งดสู บบุหรี่ เด็ดขาด และควรงดดื่มสุ รา หรื อดื่มกาแฟขณะท้องว่าง
                               4.ลดความกังวลความตึงเครี ยด พักผ่อนให้เพียงพอ ออกกาลังกายสม่าเสมอ
                               5.ละเว้นการใช้ยาแก้ปวดแก้ยอก เช่น แอสไพริ น ยาในกลุ่ม NSAIDs และสเตียรรอยด์ถาจะต้องใช้ ควร     ้
                          ให้แพทย์ดูแลการใช้ ไม่ควรหามากินเอง

More Related Content

What's hot

ดีคอนแทค
ดีคอนแทคดีคอนแทค
ดีคอนแทคfefudima
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตFrank Jkg
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 
สุดยอดสมุนไพรช่วยย่อยอาหาร
สุดยอดสมุนไพรช่วยย่อยอาหารสุดยอดสมุนไพรช่วยย่อยอาหาร
สุดยอดสมุนไพรช่วยย่อยอาหารzwzc
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพDashodragon KaoKaen
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก KM117
 
มิกซ์ไฟเบอร์
 มิกซ์ไฟเบอร์ มิกซ์ไฟเบอร์
มิกซ์ไฟเบอร์manasapat
 
กาแฟปรุงสำเร็จชนิดผง
กาแฟปรุงสำเร็จชนิดผงกาแฟปรุงสำเร็จชนิดผง
กาแฟปรุงสำเร็จชนิดผงmanasapat
 

What's hot (13)

ดีคอนแทค
ดีคอนแทคดีคอนแทค
ดีคอนแทค
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
สุดยอดสมุนไพรช่วยย่อยอาหาร
สุดยอดสมุนไพรช่วยย่อยอาหารสุดยอดสมุนไพรช่วยย่อยอาหาร
สุดยอดสมุนไพรช่วยย่อยอาหาร
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพ
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
 
ผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพ
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
มิกซ์ไฟเบอร์
 มิกซ์ไฟเบอร์ มิกซ์ไฟเบอร์
มิกซ์ไฟเบอร์
 
ผัก
ผักผัก
ผัก
 
กาแฟปรุงสำเร็จชนิดผง
กาแฟปรุงสำเร็จชนิดผงกาแฟปรุงสำเร็จชนิดผง
กาแฟปรุงสำเร็จชนิดผง
 

Similar to โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่

โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลan1030
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนโปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนUtai Sukviwatsirikul
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน24LIFEYES
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
อาการ
อาการอาการ
อาการSuthisa Sa
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 

Similar to โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่ (20)

โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
22
2222
22
 
การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
404766008
404766008404766008
404766008
 
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนโปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
อาการ
อาการอาการ
อาการ
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
Xxx66666
Xxx66666Xxx66666
Xxx66666
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 

More from Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่

  • 1. โรคแผลในกระเพาะอาหาร นางสาวกมลรัตน์ สุ วรรณคา เลขที่ ๒๕ นางสาวนริศรา ตะสี เลขที่ ๒๗ นางสาวนุชนาถ เกาะนาใส ้ เลขที่ ๒๘ นางสาวศิริรัตน์ ไวมงคุณ เลขที่ ๓๑ มัธยมศึกษาที่ ๔/๔
  • 2. สู บบุหรี่เครียดเสี่ ยงเกิดโรคแผลในกระเพาะอาหาร โรคของกระเพาะอาหารโดยตรงที่พบบ่อยคือ โรคแผล ในกระเพาะอาหาร ซึ่งพบบ่อยในคนวัยทางาน และพบใน ชายมากกว่าหญิง อาการสาคัญคือ มีอาการปวดท้องบริ เวณ ั ลิ้นปี่ มักจะสัมพันธ์กบการกินอาหาร โรคแผลในกระเพาะอาหาร หรือคนทัวไปเรียกกันติดปากว่ า โรคกระเพาะ หรือ โรคกระเพาะอาหาร เกิดจากสาเหตุ ่ หลายประการ และมีกลไกการเกิดโรคทีซับซ้ อนมาก สาเหตุมาจากกรดและน้ าย่อยที่หลังออกมาในกระเพาะอาหาร ไม่วากรดนั้น ่ ่ ่ จะมีปริ มาณมากหรื อน้อยจะเป็ นตัวทาลายเยือบุกระเพาะอาหาร ร่ วมกับมีความบกพร่ องของเยือบุกระเพาะอาหารที่สร้างแนว ่ ่ ต้านทานกรดไม่ดี นอกจากนี้ยงมีปัจจัยอื่นที่ส่งเสริ มให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร จนเป็ น โรคกระเพาะ ได้แก่ ยาแอสไพริ น ั ยารักษาโรคกระดูกและข้ออักเสบ การสู บบุหรี่ ความเครี ยด อาหารเผ็ด สุ รา ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ทาให้เกิดการระคายเคืองต่อเยือบุ ่ กระเพาะอาหาร เกิดการอักเสบเรื้ อรัง แล้วนาไปสู่ การเกิดแผลในกระเพาะอาหาร หรื อ โรคกระเพาะ และลาไส้เล็กส่ วนต้นได้ "เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร" อีกหนึ่งสาเหตุสาคัญของ โรคกระเพาะ ปัจจุบนพบว่ าเชื้อ เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร ั (Helicobacter pylori) เป็ นเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งทีอยู่ในกระเพาะอาหาร มีรูปร่ างเป็ นเกลียวและมีหาง มีความทน ่ ่ ่ กรดสู งเนื่องจากสามารถสร้างสารที่เป็ นด่างออกมาเจือจางกรดที่อยูรอบๆ ตัวมัน ทาให้สามารถอาศัยอยูในชั้นผิวเคลือบภายใน กระเพาะอาหารได้ และยังสร้างสารพิษทาลายเซลล์เยือบุผวของกระเพาะอาหาร ส่ งผลให้เกิดการอักเสบและเกิดการเปลี่ยนแปลง ่ ิ ของเซลล์เยือบุกระเพาะอาหาร จึงนับเป็ นสาเหตุสาคัญอันดับหนึ่งที่ทาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร ่
  • 3. อาการจะดีขน หรือหายไป เมื่อรับประทานอาหาร ยาลดกรด หรือนม อาการมักเป็นๆ หายๆ อาจจะเป็นช่วงแรก ไม่ ึ้ นานแล้วก็หายไป แล้วเป็นใหม่ กลายเป็นแผลเรื้อรังได้ ซึ่งบางครั้งอาจมีผลแทรกซ้อน เช่น มีเลือดออกจากแผลในกระเพาะอาหาร หรือแผลนั้นทะลุเกิดการอักเสบในช่องท้องต้องผ่าตัดฉุกเฉินก็ได้ สาเหตุของโรคแผลในกระเพาะอาหาร 1.การหลั่งกรดผิดปกติในกระเพาะอาหาร 2.กรรมพันธุ์ พบว่าเกิดกับคนในครอบครัวเดียวกันได้บ่อยๆ 3.บุหรี่ ทาให้มีการผลิตกรนในกระเพาะอาหารมากขึ้น นอกจากนี้ยังทาให้แผลหายช้า 4.ยา บางอย่างมีผลทั้งระคายเคืองกระเพาะอาหารโดยตรง และให้กลไกการป้องกันในกระเพาะอาหารเสียไป ได้แก่ ยาแอสไพริน กลุ่มยา NSAIDs ที่ใช้รักษาโรคข้อแก้ปวด ยาในกลุ่มสเตรียรอยด์ ฯลฯ 5.ความเครียด ความกังวล ทาให้มีการหลั่งกรดมากขึ้น 6.การติดเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อ Helicobacterpylori
  • 4. การรักษาโรคแผลในกระเพาะอาหาร คนวัยทางานมักตรากตราทางานหนัก กินอาหารไม่เป็ นเวลา พักผ่อนน้อย มีความเครี ยดจากงาน และใช้ยาแก้ ั ปวดเมื่อยบ่อย เมื่อแพทย์ซกประวัติ อาการ ควาเสี่ ยง และตรวจร่ างกาย เข้าได้กบโรคแผลในกระเพาะอาหาร และไม่ใช่โรคอื่นๆ ที่ ั อาการคล้ายกันดังกล่าวข้างต้น ก็จะให้การรักษาไปเลย การรักษา ต้องมี 2 อย่างประกอบกันเสมอ คือ การรักษาด้วยยา และการปฏิบติตวที่ถูกต้องของผูป่วย และการรักษาด้วยยา ั ั ้ แพทย์มกจะให้ยากลุ่มลดการหลังกรดในกระเพาะอาหาร หรื อยาที่เคลือบผิวหนังกระเพาะอาหารไว้ เช่น ยา Cimetidine Ranitidine ั ่ Omeprazole Sucralfate ซึ่ งยังมีอีกหลายชนิด หลายกลุ่ม ส่ วนใหญ่แพทย์มกไม่ให้ยาน้ า อย่าง Alum milk อาจเป็ นเพราะผูป่วย ั ้ มักหามากินเอง ก่อนมาหาแพทย์ และการใช้ Alum milk อย่างเดียวเพื่อรักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารต้องกินบ่อยครั้งในปริ มาณมาก จน อาจมีผลข้างเคียงของยาได้ บางครั้งแพทย์อาจให้ Alum milk มาใช้บรรเทาอาหาร ร่ วมกับยาอื่นก็ได้ การรักษาด้วยยาอาจใช้เวลา 4-8 สัปดาห์ การปฏิบัติตวของผู้ป่วย ั การปฏิบติตวของผูป่วย เป็ นปั จจัยสาคัญที่จะทาให้หายเร็ วขึ้น ซึ่ งก็คือการลดความเสี่ ยงที่ทาให้เกิดโรค ได้แก่ ั ั ้ 1.รับประทานอาหารให้เป็ นเวลา ควรรับประทานอาหาร 3 มื้อ เว้นอาหารรสจัด งดรับประทานอาหารว่างหลัง อาหารมื้อเย็น 2.ระหว่างรับประทานอาหาร เคี้ยวให้ละเอียดไม่รับประทานอาหารเวลาเหนื่อยมากๆ หรื อหลังเล่นกีฬา 3.งดสู บบุหรี่ เด็ดขาด และควรงดดื่มสุ รา หรื อดื่มกาแฟขณะท้องว่าง 4.ลดความกังวลความตึงเครี ยด พักผ่อนให้เพียงพอ ออกกาลังกายสม่าเสมอ 5.ละเว้นการใช้ยาแก้ปวดแก้ยอก เช่น แอสไพริ น ยาในกลุ่ม NSAIDs และสเตียรรอยด์ถาจะต้องใช้ ควร ้ ให้แพทย์ดูแลการใช้ ไม่ควรหามากินเอง