SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 1
1. ประจุไฟฟ้า การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า อิเล็กโทรสโคป และการต่อสายดิน
1.1 ประจุไฟฟ้า
พิจารณาการทดลองนาแท่งแก้วถูผ้าสักหลาดต่อไปนี้
ปกติแล้วอะตอมในแท่งแก้วและผ้าสักหลาดจะมีจานวนประจุลบ
(อิเล็กตรอน) และประจุบวก (โปรตอน) ในปริมาณที่แท่งแก้ว
บางส่วนหลุดไป หาผ้าสักหลาดและเท่ากัน จึงทาให้ประจุไฟฟ้า
รวมเป็นศูนย์เรียกว่าเป็นกลางทางไฟฟ้าเมื่อนาแท่งแก้วถูผ้า
สักหลาดจะทาให้อิเล็กตรอนของอิเล็กตรอนของผ้าสักหลาด
บางส่วนจะหลุดไปหาแท่งแก้ว แต่เนื่องจากแท่งแก้วมี
ความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอนได้มากกว่าผ้าสักหลาด ดังนั้นจานวนอิเล็กตรอนที่หลุดจากแท่งแก้วไปหา
ผ้าสักหลาดจึงมีมากกว่าอิเล็กตรอนที่หลุดจากผ้าสักหลาดกลับมาหาแท่งแก้ว เมื่อแยกแท่งแก้วออกจากผ้า
สักหลาด ผ้าสักหลาดจะมีอิเล็กตรอนมากกว่าปกติจึงมีประจุสะสมเป็นลบ ส่วนแท่งแก้วเสียอิเล็กตรอนไปมาก
จะมีประจุสะสมเป็นบวก
หมายเหตุ : ความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอนของวัตถุบางอย่างเรียงลาดับจากมากไปน้อยเป็นดังนี้
แก้ว > เส้นผมคน > เปอร์สเปกซ์ > ไนลอน > ผ้าสักหลาด > ผ้าไหม > ผ้าฝ้าย > อาพัน > พีวีซี > เทฟลอน
ในที่นี้จะได้ว่า แก้วจ่ายอิเล็กตรอนได้มากที่สุด และเทฟลอนจ่ายอิเล็กตรอนได้น้อยที่สุด
ทดสอบความเข้าใจ
1. เหตุใดเมื่อนาแท่งแก้วไปถูผ้าสักหลาดแล้วแท่งแก้วจึงมีประจุไฟฟ้าสะสมเป็นบวก
1. เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผ้าสักหลาดฝ่ายเดียว
2. เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากผ้าสักหลาด
3. เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากสิ่งแวดล้อม
4. เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผ้าสักหลาดมากกว่าที่รับมา
2. กาหนดให้ผ้าไหมจ่ายอิเล็กตรอนได้มากกว่าแท่งพีวีซี เมื่อนาแท่งพีวีซีไปถูผ้าไหมแล้วดึง แท่งพีวีซีออกจาก
ผ้าไหม แท่งพีวีซีจะมีประจุไฟฟ้าสะสมเป็นบวกหรือลบ
1. เป็นลบ เพราะแท่งพีวีซีจะรับอิเล็กตรอนจากผ้าไหมมากกว่าที่จ่ายไป
2. เป็นลบ เพราะแท่งพีวีซีจะรับอิเล็กตรอนมาจากสิ่งแวดล้อม
3. เป็นบวก เพราะแท่งพีวีซีจะจ่ายอิเล็กตรอนแก่ผ้าไหมมากกว่ารับมา
4. เป็นบวก เพราะแท่งพีวีซีจะจ่ายอิเล็กตรอนให้แก่สิ่งแวดล้อม
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ตอนที่ 1
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 2
3. เมื่อนาแท่งพีวีซีไปถูผ้าไหมประจุไฟฟ้าบวก ( โปรตอน ) จะสามารถหลุดจากแท่งพีวีซีไปหา ผ้าไหมได้
หรือไม่
1. ได้ เพราะแรงเสียดทานมีมากพอ
2. ได้ เพราะโปรตอนมีขนาดเล็ก
3. ไม่ได้ เพราะโปรตอนอยู่ในนิวเคลียส
4. ไม่ได้ เพราะโปรตอนมีมวลมากเคลื่อนย้ายได้ยาก
4(แนว มช) เมื่อนาสาร ก. มาถูกับสาร ข. พบว่าสาร ก. มีประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น สาร ก. ต้อง เป็นสาร
1. ตัวนา 2. ฉนวน 3. กึ่งตัวนา 4. โลหะ
1.2 การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า
ถ้าเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้าสะสมเป็นบวกไปจ่อใกล้ๆ เม็ดโฟมทรงกลมเล็กๆ ปกตินั้นในเม็ดโฟมจะมี
ประจุไฟฟ้าบวก (โปรตอน) และลบ (อิเล็กตรอน) ในจานวนเท่าๆ กัน
กระจายอยู่ อย่างสม่าเสมอ เมื่อเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้าบวกไป
จ่อใกล้ๆ ประจุบวกบนแท่งแก้วจะดึงดูดประจุลบ (อิเล็กตรอน) บน
เม็ดโฟมให้เคลื่อนเข้ามา อยู่ด้านที่ใกล้กับแท่งแก้ว แล้วประจุลบบน
เม็ดโฟมกับประจุบวกบนแท่งแก้วจะเกิดแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน
ส่งผลให้เม็ดโฟมเคลื่อนที่เข้ามาติดแท่งแก้วได้
ส่วนเม็ดโฟมด้านที่อยู่ไกลจากแท่งแก้วจะเหลือประจุไฟฟ้าสะสมเป็นบวกดังรูป การจัดเรียงประจุบนวัตถุหลังจาก
ที่มีประจุไฟฟ้าอื่นเข้าใกล้ (เช่นที่เกิดบนเม็ดโฟมนี้) เราเรียกว่าเป็น การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า
ทดสอบความเข้าใจ
5. จากรูปเป็นการนาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้าบวกสะสมอยู่ ไปจ่อ
ใกล้เม็ดโฟมที่เป็นกลางทางไฟฟ้า (มีประจุไฟฟ้าบวกและลบ
ในจานวนที่เท่ากัน) ในบริเวณที่ 1 และ 2 ในรูปภาพจะมี
ประจุไฟฟ้าเป็นบวกหรือลบ ตามลาดับ
1. บวก , ลบ 2. ลบ , บวก 3. บวก , บวก 4. ลบ , ลบ
6. จากรูปในข้อที่ 5 ถ้าเปลี่ยนเป็นการนาแท่งพีวีซีที่มีประจุไฟฟ้าลบสะสมอยู่ ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็นกลาง
ทางไฟฟ้า (มีประจุไฟฟ้าบวกและลบในจานวนที่เท่ากัน) ในบริเวณที่ 1 และ 2 ในรูปภาพจะมีประจุไฟฟ้า
เป็นบวกหรือลบ ตามลาดับ
1. บวก , ลบ 2. ลบ , บวก 3. บวก , บวก 4. ลบ , ลบ
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 3
7. เมื่อเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้าบวกสะสมอยู่ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็นกลางทางไฟฟ้า แท่งแก้วจะมีแรง
ดึงดูดเม็ดโฟมได้ หากเปลี่ยนแท่งแก้วเป็นแท่งพีวีซีที่มีประจุไฟฟ้าลบสะสมอยู่ ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมแทน แท่ง
พีวีซีจะมีแรงดูดหรือแรงผลักเม็ดโฟม
1. ดูด 2. ผลัก 3. ดูดแล้วผลัก 4. ผลักแล้วดูด
8. ทรงกลมโลหะ A และ B โดยยึดไว้ด้วยฉนวน เมื่อนาแท่งอิโบไนท์ซึ่งมีประจุลบเข้าใกล้ทรงกลม A ดังรูป จะ
มีประจุไฟฟ้าชนิดใด เกิดขึ้นที่ตัวนาทรงกลมทั้งสอง
1. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุบวก
2. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุลบ
3. ทรงกลม A จะมีประจุบวกและทรงกลม B มีประจุลบ
4. ทรงกลม A จะมีประจุลบและทรงกลม B มีประจุบวก
9.(แนว En) โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเป็นกลางทางไฟฟ้าตั้งอยู่บนฐานที่เป็นฉนวน ถ้านาประจุบวก
ขนาดเท่ากันมาใกล้ปลายทั้งสองข้างพร้อมกัน โดยระยะห่างจากปลายเท่าๆ กัน ตามลาดับ การกระจาย
ของประจุส่วน A ส่วน B และ C ของทรงกระบอกเป็นอย่างไร
1. A และ C เป็นลบ แต่ B เป็นกลาง
2. A และ C เป็นกลาง แต่ B เป็นบวก
3. A และ C เป็นบวก แต่ B เป็นลบ
4. A และ C เป็นลบ แต่ B เป็นบวก
1.3 อิเล็กโทรสโคป
อิเล็กโทรสโคป คือเครื่องมือใช้ตรวจหาประจุไฟฟ้าที่สะสมอยู่ในวัตถุใดๆ
อิเล็กโทรสโคป มี 2 ชนิด คือ
1) อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิธ (pith ball electroscope) เป็นอิเล็กโทรสโคป ซึ่งทาจากเม็ดโฟมฉาบ
ผิวเอาไว้ด้วยอลูมิเนียม เมื่อมีวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าสะสมอยู่เข้าใกล้ จะเกิดการเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า
ทาให้อิเล็กโทรสโคปถูกแรงดึงดูดแล้วเอียงเข้าหาวัตถุที่มีประจุนั้น
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 4
2) อิเล็กโทรสโคปแบบจานโลหะ (Metal Leaf
Electroscope) มีลักษณะเป็นกระป๋องพลาสติกใสหรือแก้วมี
ฝาปิด ตรงกลางจะมีแกนโลหะเสียบลงไปในกล่อง ปลายล่าง
ของแกนจะมีแผ่นโลหะแบนๆ บางๆ ติดอยู่ 2 แผ่น ปลายแกน
ด้านบนจะมีจานโลหะวางเชื่อมอยู่ดังรูป
หากต้องการตรวจสอบว่าวัตถุใดมีประจุไฟฟ้าสะสม
หรือไม่ ให้นาวัตถุที่ต้องการตรวจสอบไปไว้ใกล้ๆจานโลหะ
ด้านบน แล้วสังเกตผลที่แผ่นโลหะบางๆ 2 แผ่นด้านล่าง
ปกติแล้วที่จานโลหะ แกนโลหะ และแผ่นโลหะด้านล่าง จะมีประจุไฟฟ้าบวก
และลบกระจายอยู่อย่างสม่าเสมอ แต่ถ้าเรานาวัตถุที่มีประจุสะสมเป็นลบไปไว้ใกล้ๆ
จานโลหะด้านบน ประจุไฟฟ้าลบ ( อิเล็กตรอน ) ของจานโลหะจะถูกผลักลงไปยังแกน
โลหะและแผ่นโลหะบางๆ 2 แผ่นด้านล่าง ส่งผลให้แผ่นโลหะ 2 แผ่น มีประจุเป็นลบ
เหมือนกันและเกิดแรงผลักกันทาให้แผ่น โลหะทั้งสองกางออกดังรูป
แต่ถ้านาวัตถุที่มีประจุเป็นบวกไปไว้ใกล้ๆ จานโลหะด้านบน ประจุไฟฟ้าลบ
( อิเล็กตรอน ) ของแกนโลหะ และแผ่นโลหะ 2 แผ่นด้านล่าง ถูกดูดขึ้นมาอยู่ที่จาน
โลหะ ทาให้แผ่นโลหะ 2 แผ่นล่างเหลือประจุเป็นบวกเหมือนกันทั้งสองแผ่นและเกิด
แรงผลักกันเอง ทาให้ แผ่นโลหะทั้งสองกางออกดังรูปเช่นกัน ดังนั้นถ้านาวัตถุไปไว้ใกล้
จานโลหะด้านบน แล้ว สังเกตเห็นแผ่นโลหะ 2 แผ่นด้านล่างกางออก แสดงว่า วัตถุที่
นามาตรวจสอบนี้ มีประจุไฟฟ้าสะสมอยู่
ทดสอบความเข้าใจ
10. เมื่อนาแท่งวัตถุที่มีประจุไปวางใกล้อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิธซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า ลูกพิธจะมีการวางตัว
อย่างไร
1. โน้มเอียงเข้าหาวัตถุ 2. ถอยห่างออกจากวัตถุ 3. อยู่นิ่งๆ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ
11. จากรูปอิเล็กโทรสโคปแบบจานโลหะที่กาหนด ณ บริเวณที่ (1 ) (2) และ (3) จะมี
ประจุชนิดใดตามลาดับ
1. บวก , ลบ , ลบ 2. บวก , ลบ , บวก
3. บวก , บวก , ลบ 4. บวก , บวก , บวก
12. จากรูปอิเล็กโทรสโคบแบบจานโลหะที่กาหนด ณ บริเวณที่ (1 ) (2) และ (3) จะมี
ประจุชนิด ใดตามลาดับ
1. ลบ , ลบ , บวก 2. ลบ , บวก , บวก
3. ลบ , บวก , ลบ 4. ลบ , ลบ , ลบ
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 5
1.4 การต่อสายดิน
พิจารณาการทดลองตามรูปต่อไปนี้
รูปที่ 1 เมื่อนาวัตถุที่มีประจุบวกเข้าใกล้จานโลหะของอิเล็กโทรสโคป
แบบจานโลหะ ประจุลบ(อิเล็กตรอน) ของแผ่นโลหะ ด้านล่างจะถูกดึงดูดขึ้นมาอยู่
ที่จานโลหะด้านบน แผ่นโลหะ ด้านล่างจะเหลือประจุเป็นบวก ทาให้แผ่นโลหะ
ด้านล่างเกิดแรงผลักกันแล้วกางออก
รูปที่ 2 เมื่อนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ
ลงสู่พื้นดิน ( เรียกว่าเป็นการต่อสายดิน) ประจุลบจากพื้นดิน
จะถูกดูดแล้วเคลื่อนที่ขึ้นไปอยู่กับประจุบวกที่แผ่นโลหะด้านล่าง
แล้วทาให้แผ่นโลหะด้านล่างกลายเป็นกลางทางไฟฟ้าแล้วหุบลง
รูปที่ 3 เมื่อตัดสายดินออกโดยยังไม่เคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่
จ่อใกล้จานออกไป จะยังไม่ส่งผลใดๆ แผ่นโลหะด้านล่างจะ
ยังคงหุบเช่นเดิม
รูปที่ 4 เมื่อเคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่จ่อใกล้จาน
ออกไป ประจุลบที่จานโลหะบางส่วน จะเคลื่อนย้ายลงมาสู่แผ่นโลหะด้านล่าง
ส่งผลให้แผ่นโลหะด้านล่างมีประจุไฟฟ้ารวมเป็นลบ แผ่นโลหะด้านล่างจะเกิดแรง
ผลักกันแล้วกางออก
รูปที่ 5 หากนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อลงสู่พื้นดินอีก
ครั้ง จะทาให้ประจุลบส่วนเกินของแผ่นโลหะด้านล่างเคลื่อนที่ลงสู่พื้นดิน แล้วแผ่น
โลหะกลายเป็นกลางทางไฟฟ้าแล้วหุบลงอีกครั้ง
ทดสอบความเข้าใจ
13. พิจารณาการต่อสายดิน ดังรูป ณ บริเวณที่ ( 1 ) ( 2 ) และ ( 3 ) จะมีประจุชนิดใดตามลาดับ
1. ลบ , ลบ , บวก
2. ลบ , บวก , บวก
3. ลบ , 0 , 0
4. ลบ , บวก , 0
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 6
พิจารณาการทดลองตามรูปต่อไปนี้ พร้อมเขียนอธิบายภาพ
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 7
ทดสอบความเข้าใจ
14. พิจารณาการต่อสายดินดังรูป ณ บริเวณที่ ( 1 ) ( 2 ) และ ( 3 ) จะมีประจุชนิดใดตามลาดับ
1. บวก , ลบ , ลบ
2. บวก , ลบ , บวก
3. บวก , 0 , 0
4. บวก , 0 , ลบ
กิจกรรมตรวจสอบความรู้ เรื่อง ประจุไฟฟ้า การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า อิเล็กโทรสโคป และการต่อสายดิน
1.(แนว มช) เมื่อนาแท่งแก้วถูผ้าไหมจะพบว่าวัตถุทั้งสองกลายเป็นวัตถุที่มีประจุ การที่วัตถุทั้ง สองมีประจุได้
เนื่องจาก
1. ประจุถูกสร้างขึ้น 2. การแยกของประจุ
3. การเสียดสี 4. แรงที่ถู
2. เมื่อถูแท่งแก้วด้วยผ้าไหม แท่งแก้วจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวกเพราะว่าสาเหตุใด
1. โปรตรอนบางตัวในไหมถ่ายเทไปแท่งแก้ว
2. อิเล็กตรอนบางตัวหลุดจากแท่งแก้วและถ่ายเทไปยังผ้าไหม ทาให้เหลือประจุไฟฟ้าบวกบนแท่งแก้ว
มากกว่าประจุไฟฟ้าลบ
3. ทั้งข้อ 1. และ 2. ถูกต้อง
4. ผิดหมดทุกข้อ
3.(แนว มช) เมื่อนาแท่งพีวีซีที่ถูกับผ้าสักหลาดแล้วไปวางใกล้ ๆ กับลูกพิธที่เป็นกลางทางไฟฟ้า จะสังเกตเห็น
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นดังข้อใด
1. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง
2. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งพีวีซี
3. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกห่างจากแท่งพีวีซี
4. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งพีวีซีในตอนแรก แล้วจะเคลื่อนที่จากไปภายหลัง
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 8
4.(แนว มช) เป็นที่ทราบกันแล้วว่าอิเล็กตรอนในโลหะ สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระและ มักจะพบเสมอว่า
อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่มาอยู่ตามบริเวณผิวของโลหะ เหตุที่อิเล็กตรอนไม่เคลื่อนที่ต่อไปในอากาศ เพื่อหนี
ออกจากโลหะเพราะอะไร
1. อากาศไม่เป็นตัวนาไฟฟ้า
2. อิเล็กตรอนมีพลังงานน้อยกว่าพลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะ
3. อากาศมีแรงเสียดทานมาก
4. อิเล็กตรอนถูกอะตอมของโลหะยึดจับไว้
5. (แนว En) ในการทาให้วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบหรือเป็นบวก มีสภาพไฟฟ้าเป็นกลางนั้น จะต้องต่อสาย
ดินกับพื้นโลก ทั้งนี้เพราะข้อใด
1. โลกมีความต้านทานต่า 2. โลกมีความจุไฟฟ้ามาก
3. โลกมีสนามไฟฟ้าต่า 4. โลกมีศักย์ไฟฟ้าเป็นกลาง
6.(แนว Pat2) เมื่อนาแท่งพีวีซีถูกับผ้าสักหลาดแล้วนาไปจ่อใกล้ๆ กระดาษชิ้นเล็กๆ ข้อใดถูก

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนthanakit553
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก Suparat2804
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 

Mais procurados (20)

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 

Semelhante a ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าthanakit553
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2Chakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2thanakit553
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10Nann 'mlemell
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 23cha_sp
 

Semelhante a ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1 (20)

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
P18
P18P18
P18
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1
 
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
 
Lesson15
Lesson15Lesson15
Lesson15
 
P17
P17P17
P17
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 

Mais de Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด AWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด CWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุWijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 

Mais de Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 1 1. ประจุไฟฟ้า การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า อิเล็กโทรสโคป และการต่อสายดิน 1.1 ประจุไฟฟ้า พิจารณาการทดลองนาแท่งแก้วถูผ้าสักหลาดต่อไปนี้ ปกติแล้วอะตอมในแท่งแก้วและผ้าสักหลาดจะมีจานวนประจุลบ (อิเล็กตรอน) และประจุบวก (โปรตอน) ในปริมาณที่แท่งแก้ว บางส่วนหลุดไป หาผ้าสักหลาดและเท่ากัน จึงทาให้ประจุไฟฟ้า รวมเป็นศูนย์เรียกว่าเป็นกลางทางไฟฟ้าเมื่อนาแท่งแก้วถูผ้า สักหลาดจะทาให้อิเล็กตรอนของอิเล็กตรอนของผ้าสักหลาด บางส่วนจะหลุดไปหาแท่งแก้ว แต่เนื่องจากแท่งแก้วมี ความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอนได้มากกว่าผ้าสักหลาด ดังนั้นจานวนอิเล็กตรอนที่หลุดจากแท่งแก้วไปหา ผ้าสักหลาดจึงมีมากกว่าอิเล็กตรอนที่หลุดจากผ้าสักหลาดกลับมาหาแท่งแก้ว เมื่อแยกแท่งแก้วออกจากผ้า สักหลาด ผ้าสักหลาดจะมีอิเล็กตรอนมากกว่าปกติจึงมีประจุสะสมเป็นลบ ส่วนแท่งแก้วเสียอิเล็กตรอนไปมาก จะมีประจุสะสมเป็นบวก หมายเหตุ : ความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอนของวัตถุบางอย่างเรียงลาดับจากมากไปน้อยเป็นดังนี้ แก้ว > เส้นผมคน > เปอร์สเปกซ์ > ไนลอน > ผ้าสักหลาด > ผ้าไหม > ผ้าฝ้าย > อาพัน > พีวีซี > เทฟลอน ในที่นี้จะได้ว่า แก้วจ่ายอิเล็กตรอนได้มากที่สุด และเทฟลอนจ่ายอิเล็กตรอนได้น้อยที่สุด ทดสอบความเข้าใจ 1. เหตุใดเมื่อนาแท่งแก้วไปถูผ้าสักหลาดแล้วแท่งแก้วจึงมีประจุไฟฟ้าสะสมเป็นบวก 1. เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผ้าสักหลาดฝ่ายเดียว 2. เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากผ้าสักหลาด 3. เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากสิ่งแวดล้อม 4. เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผ้าสักหลาดมากกว่าที่รับมา 2. กาหนดให้ผ้าไหมจ่ายอิเล็กตรอนได้มากกว่าแท่งพีวีซี เมื่อนาแท่งพีวีซีไปถูผ้าไหมแล้วดึง แท่งพีวีซีออกจาก ผ้าไหม แท่งพีวีซีจะมีประจุไฟฟ้าสะสมเป็นบวกหรือลบ 1. เป็นลบ เพราะแท่งพีวีซีจะรับอิเล็กตรอนจากผ้าไหมมากกว่าที่จ่ายไป 2. เป็นลบ เพราะแท่งพีวีซีจะรับอิเล็กตรอนมาจากสิ่งแวดล้อม 3. เป็นบวก เพราะแท่งพีวีซีจะจ่ายอิเล็กตรอนแก่ผ้าไหมมากกว่ารับมา 4. เป็นบวก เพราะแท่งพีวีซีจะจ่ายอิเล็กตรอนให้แก่สิ่งแวดล้อม เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ตอนที่ 1
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 2 3. เมื่อนาแท่งพีวีซีไปถูผ้าไหมประจุไฟฟ้าบวก ( โปรตอน ) จะสามารถหลุดจากแท่งพีวีซีไปหา ผ้าไหมได้ หรือไม่ 1. ได้ เพราะแรงเสียดทานมีมากพอ 2. ได้ เพราะโปรตอนมีขนาดเล็ก 3. ไม่ได้ เพราะโปรตอนอยู่ในนิวเคลียส 4. ไม่ได้ เพราะโปรตอนมีมวลมากเคลื่อนย้ายได้ยาก 4(แนว มช) เมื่อนาสาร ก. มาถูกับสาร ข. พบว่าสาร ก. มีประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น สาร ก. ต้อง เป็นสาร 1. ตัวนา 2. ฉนวน 3. กึ่งตัวนา 4. โลหะ 1.2 การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า ถ้าเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้าสะสมเป็นบวกไปจ่อใกล้ๆ เม็ดโฟมทรงกลมเล็กๆ ปกตินั้นในเม็ดโฟมจะมี ประจุไฟฟ้าบวก (โปรตอน) และลบ (อิเล็กตรอน) ในจานวนเท่าๆ กัน กระจายอยู่ อย่างสม่าเสมอ เมื่อเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้าบวกไป จ่อใกล้ๆ ประจุบวกบนแท่งแก้วจะดึงดูดประจุลบ (อิเล็กตรอน) บน เม็ดโฟมให้เคลื่อนเข้ามา อยู่ด้านที่ใกล้กับแท่งแก้ว แล้วประจุลบบน เม็ดโฟมกับประจุบวกบนแท่งแก้วจะเกิดแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน ส่งผลให้เม็ดโฟมเคลื่อนที่เข้ามาติดแท่งแก้วได้ ส่วนเม็ดโฟมด้านที่อยู่ไกลจากแท่งแก้วจะเหลือประจุไฟฟ้าสะสมเป็นบวกดังรูป การจัดเรียงประจุบนวัตถุหลังจาก ที่มีประจุไฟฟ้าอื่นเข้าใกล้ (เช่นที่เกิดบนเม็ดโฟมนี้) เราเรียกว่าเป็น การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า ทดสอบความเข้าใจ 5. จากรูปเป็นการนาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้าบวกสะสมอยู่ ไปจ่อ ใกล้เม็ดโฟมที่เป็นกลางทางไฟฟ้า (มีประจุไฟฟ้าบวกและลบ ในจานวนที่เท่ากัน) ในบริเวณที่ 1 และ 2 ในรูปภาพจะมี ประจุไฟฟ้าเป็นบวกหรือลบ ตามลาดับ 1. บวก , ลบ 2. ลบ , บวก 3. บวก , บวก 4. ลบ , ลบ 6. จากรูปในข้อที่ 5 ถ้าเปลี่ยนเป็นการนาแท่งพีวีซีที่มีประจุไฟฟ้าลบสะสมอยู่ ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็นกลาง ทางไฟฟ้า (มีประจุไฟฟ้าบวกและลบในจานวนที่เท่ากัน) ในบริเวณที่ 1 และ 2 ในรูปภาพจะมีประจุไฟฟ้า เป็นบวกหรือลบ ตามลาดับ 1. บวก , ลบ 2. ลบ , บวก 3. บวก , บวก 4. ลบ , ลบ
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 3 7. เมื่อเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้าบวกสะสมอยู่ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็นกลางทางไฟฟ้า แท่งแก้วจะมีแรง ดึงดูดเม็ดโฟมได้ หากเปลี่ยนแท่งแก้วเป็นแท่งพีวีซีที่มีประจุไฟฟ้าลบสะสมอยู่ ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมแทน แท่ง พีวีซีจะมีแรงดูดหรือแรงผลักเม็ดโฟม 1. ดูด 2. ผลัก 3. ดูดแล้วผลัก 4. ผลักแล้วดูด 8. ทรงกลมโลหะ A และ B โดยยึดไว้ด้วยฉนวน เมื่อนาแท่งอิโบไนท์ซึ่งมีประจุลบเข้าใกล้ทรงกลม A ดังรูป จะ มีประจุไฟฟ้าชนิดใด เกิดขึ้นที่ตัวนาทรงกลมทั้งสอง 1. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุบวก 2. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุลบ 3. ทรงกลม A จะมีประจุบวกและทรงกลม B มีประจุลบ 4. ทรงกลม A จะมีประจุลบและทรงกลม B มีประจุบวก 9.(แนว En) โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเป็นกลางทางไฟฟ้าตั้งอยู่บนฐานที่เป็นฉนวน ถ้านาประจุบวก ขนาดเท่ากันมาใกล้ปลายทั้งสองข้างพร้อมกัน โดยระยะห่างจากปลายเท่าๆ กัน ตามลาดับ การกระจาย ของประจุส่วน A ส่วน B และ C ของทรงกระบอกเป็นอย่างไร 1. A และ C เป็นลบ แต่ B เป็นกลาง 2. A และ C เป็นกลาง แต่ B เป็นบวก 3. A และ C เป็นบวก แต่ B เป็นลบ 4. A และ C เป็นลบ แต่ B เป็นบวก 1.3 อิเล็กโทรสโคป อิเล็กโทรสโคป คือเครื่องมือใช้ตรวจหาประจุไฟฟ้าที่สะสมอยู่ในวัตถุใดๆ อิเล็กโทรสโคป มี 2 ชนิด คือ 1) อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิธ (pith ball electroscope) เป็นอิเล็กโทรสโคป ซึ่งทาจากเม็ดโฟมฉาบ ผิวเอาไว้ด้วยอลูมิเนียม เมื่อมีวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าสะสมอยู่เข้าใกล้ จะเกิดการเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า ทาให้อิเล็กโทรสโคปถูกแรงดึงดูดแล้วเอียงเข้าหาวัตถุที่มีประจุนั้น
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 4 2) อิเล็กโทรสโคปแบบจานโลหะ (Metal Leaf Electroscope) มีลักษณะเป็นกระป๋องพลาสติกใสหรือแก้วมี ฝาปิด ตรงกลางจะมีแกนโลหะเสียบลงไปในกล่อง ปลายล่าง ของแกนจะมีแผ่นโลหะแบนๆ บางๆ ติดอยู่ 2 แผ่น ปลายแกน ด้านบนจะมีจานโลหะวางเชื่อมอยู่ดังรูป หากต้องการตรวจสอบว่าวัตถุใดมีประจุไฟฟ้าสะสม หรือไม่ ให้นาวัตถุที่ต้องการตรวจสอบไปไว้ใกล้ๆจานโลหะ ด้านบน แล้วสังเกตผลที่แผ่นโลหะบางๆ 2 แผ่นด้านล่าง ปกติแล้วที่จานโลหะ แกนโลหะ และแผ่นโลหะด้านล่าง จะมีประจุไฟฟ้าบวก และลบกระจายอยู่อย่างสม่าเสมอ แต่ถ้าเรานาวัตถุที่มีประจุสะสมเป็นลบไปไว้ใกล้ๆ จานโลหะด้านบน ประจุไฟฟ้าลบ ( อิเล็กตรอน ) ของจานโลหะจะถูกผลักลงไปยังแกน โลหะและแผ่นโลหะบางๆ 2 แผ่นด้านล่าง ส่งผลให้แผ่นโลหะ 2 แผ่น มีประจุเป็นลบ เหมือนกันและเกิดแรงผลักกันทาให้แผ่น โลหะทั้งสองกางออกดังรูป แต่ถ้านาวัตถุที่มีประจุเป็นบวกไปไว้ใกล้ๆ จานโลหะด้านบน ประจุไฟฟ้าลบ ( อิเล็กตรอน ) ของแกนโลหะ และแผ่นโลหะ 2 แผ่นด้านล่าง ถูกดูดขึ้นมาอยู่ที่จาน โลหะ ทาให้แผ่นโลหะ 2 แผ่นล่างเหลือประจุเป็นบวกเหมือนกันทั้งสองแผ่นและเกิด แรงผลักกันเอง ทาให้ แผ่นโลหะทั้งสองกางออกดังรูปเช่นกัน ดังนั้นถ้านาวัตถุไปไว้ใกล้ จานโลหะด้านบน แล้ว สังเกตเห็นแผ่นโลหะ 2 แผ่นด้านล่างกางออก แสดงว่า วัตถุที่ นามาตรวจสอบนี้ มีประจุไฟฟ้าสะสมอยู่ ทดสอบความเข้าใจ 10. เมื่อนาแท่งวัตถุที่มีประจุไปวางใกล้อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิธซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า ลูกพิธจะมีการวางตัว อย่างไร 1. โน้มเอียงเข้าหาวัตถุ 2. ถอยห่างออกจากวัตถุ 3. อยู่นิ่งๆ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ 11. จากรูปอิเล็กโทรสโคปแบบจานโลหะที่กาหนด ณ บริเวณที่ (1 ) (2) และ (3) จะมี ประจุชนิดใดตามลาดับ 1. บวก , ลบ , ลบ 2. บวก , ลบ , บวก 3. บวก , บวก , ลบ 4. บวก , บวก , บวก 12. จากรูปอิเล็กโทรสโคบแบบจานโลหะที่กาหนด ณ บริเวณที่ (1 ) (2) และ (3) จะมี ประจุชนิด ใดตามลาดับ 1. ลบ , ลบ , บวก 2. ลบ , บวก , บวก 3. ลบ , บวก , ลบ 4. ลบ , ลบ , ลบ
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 5 1.4 การต่อสายดิน พิจารณาการทดลองตามรูปต่อไปนี้ รูปที่ 1 เมื่อนาวัตถุที่มีประจุบวกเข้าใกล้จานโลหะของอิเล็กโทรสโคป แบบจานโลหะ ประจุลบ(อิเล็กตรอน) ของแผ่นโลหะ ด้านล่างจะถูกดึงดูดขึ้นมาอยู่ ที่จานโลหะด้านบน แผ่นโลหะ ด้านล่างจะเหลือประจุเป็นบวก ทาให้แผ่นโลหะ ด้านล่างเกิดแรงผลักกันแล้วกางออก รูปที่ 2 เมื่อนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ ลงสู่พื้นดิน ( เรียกว่าเป็นการต่อสายดิน) ประจุลบจากพื้นดิน จะถูกดูดแล้วเคลื่อนที่ขึ้นไปอยู่กับประจุบวกที่แผ่นโลหะด้านล่าง แล้วทาให้แผ่นโลหะด้านล่างกลายเป็นกลางทางไฟฟ้าแล้วหุบลง รูปที่ 3 เมื่อตัดสายดินออกโดยยังไม่เคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่ จ่อใกล้จานออกไป จะยังไม่ส่งผลใดๆ แผ่นโลหะด้านล่างจะ ยังคงหุบเช่นเดิม รูปที่ 4 เมื่อเคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่จ่อใกล้จาน ออกไป ประจุลบที่จานโลหะบางส่วน จะเคลื่อนย้ายลงมาสู่แผ่นโลหะด้านล่าง ส่งผลให้แผ่นโลหะด้านล่างมีประจุไฟฟ้ารวมเป็นลบ แผ่นโลหะด้านล่างจะเกิดแรง ผลักกันแล้วกางออก รูปที่ 5 หากนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อลงสู่พื้นดินอีก ครั้ง จะทาให้ประจุลบส่วนเกินของแผ่นโลหะด้านล่างเคลื่อนที่ลงสู่พื้นดิน แล้วแผ่น โลหะกลายเป็นกลางทางไฟฟ้าแล้วหุบลงอีกครั้ง ทดสอบความเข้าใจ 13. พิจารณาการต่อสายดิน ดังรูป ณ บริเวณที่ ( 1 ) ( 2 ) และ ( 3 ) จะมีประจุชนิดใดตามลาดับ 1. ลบ , ลบ , บวก 2. ลบ , บวก , บวก 3. ลบ , 0 , 0 4. ลบ , บวก , 0
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 6 พิจารณาการทดลองตามรูปต่อไปนี้ พร้อมเขียนอธิบายภาพ
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 7 ทดสอบความเข้าใจ 14. พิจารณาการต่อสายดินดังรูป ณ บริเวณที่ ( 1 ) ( 2 ) และ ( 3 ) จะมีประจุชนิดใดตามลาดับ 1. บวก , ลบ , ลบ 2. บวก , ลบ , บวก 3. บวก , 0 , 0 4. บวก , 0 , ลบ กิจกรรมตรวจสอบความรู้ เรื่อง ประจุไฟฟ้า การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า อิเล็กโทรสโคป และการต่อสายดิน 1.(แนว มช) เมื่อนาแท่งแก้วถูผ้าไหมจะพบว่าวัตถุทั้งสองกลายเป็นวัตถุที่มีประจุ การที่วัตถุทั้ง สองมีประจุได้ เนื่องจาก 1. ประจุถูกสร้างขึ้น 2. การแยกของประจุ 3. การเสียดสี 4. แรงที่ถู 2. เมื่อถูแท่งแก้วด้วยผ้าไหม แท่งแก้วจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวกเพราะว่าสาเหตุใด 1. โปรตรอนบางตัวในไหมถ่ายเทไปแท่งแก้ว 2. อิเล็กตรอนบางตัวหลุดจากแท่งแก้วและถ่ายเทไปยังผ้าไหม ทาให้เหลือประจุไฟฟ้าบวกบนแท่งแก้ว มากกว่าประจุไฟฟ้าลบ 3. ทั้งข้อ 1. และ 2. ถูกต้อง 4. ผิดหมดทุกข้อ 3.(แนว มช) เมื่อนาแท่งพีวีซีที่ถูกับผ้าสักหลาดแล้วไปวางใกล้ ๆ กับลูกพิธที่เป็นกลางทางไฟฟ้า จะสังเกตเห็น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นดังข้อใด 1. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง 2. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งพีวีซี 3. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกห่างจากแท่งพีวีซี 4. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งพีวีซีในตอนแรก แล้วจะเคลื่อนที่จากไปภายหลัง
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 8 4.(แนว มช) เป็นที่ทราบกันแล้วว่าอิเล็กตรอนในโลหะ สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระและ มักจะพบเสมอว่า อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่มาอยู่ตามบริเวณผิวของโลหะ เหตุที่อิเล็กตรอนไม่เคลื่อนที่ต่อไปในอากาศ เพื่อหนี ออกจากโลหะเพราะอะไร 1. อากาศไม่เป็นตัวนาไฟฟ้า 2. อิเล็กตรอนมีพลังงานน้อยกว่าพลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะ 3. อากาศมีแรงเสียดทานมาก 4. อิเล็กตรอนถูกอะตอมของโลหะยึดจับไว้ 5. (แนว En) ในการทาให้วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบหรือเป็นบวก มีสภาพไฟฟ้าเป็นกลางนั้น จะต้องต่อสาย ดินกับพื้นโลก ทั้งนี้เพราะข้อใด 1. โลกมีความต้านทานต่า 2. โลกมีความจุไฟฟ้ามาก 3. โลกมีสนามไฟฟ้าต่า 4. โลกมีศักย์ไฟฟ้าเป็นกลาง 6.(แนว Pat2) เมื่อนาแท่งพีวีซีถูกับผ้าสักหลาดแล้วนาไปจ่อใกล้ๆ กระดาษชิ้นเล็กๆ ข้อใดถูก