SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 95
Baixar para ler offline
พันเอก ดร. ธีรนันท์ นันทขว้ าง
รองผูอานวยการกองการเมอง, วทยาลยปองกนราชอาณาจกร
รองผ้ านวยการกองการเมือง วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร
      ํ                           ้
   สถาบันวิชาการปองกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย
                 ้
   Mobile: 089‐893‐3126, Web Site: http://tortaharn.net 
    teeranan@rtarf.mi.th, teeranan@nandhakwang.info
                                  Twitter :  @tortaharn
             Facebook : http://facebook.com/tortaharn
                      http://facebook.com/dr.teeranan
กรอบการนําเสนอ
•   ความหมายของสงครามการเมืือง
•   พฒนาการของคาทมความสมพนธกน
    พัฒนาการของคําที่มีความสัมพันธ์กน
                                    ั
•   แนวคดของสงครามการเมอง
    แนวคิดของสงครามการเมือง
•   แนวคิดสงครามการเมืองของไทย
•   สงครามการเมืองในประเทศไทย
ความหมายของสงครามการเมือง
       • ในเอกสาร The Department of
         Defense Dictionary of Military and
         Associated Terms (Joint Publication
         1-02) ของสหรฐอเมรกา
         1 02) ของสหรัฐอเมริกา

       • ได้ ให้ ความหมายไว้ ในหน้ า 422 ว่ า
ความหมายของสงครามการเมือง
        political warfare — Aggressive use of
        political means to achieve national
        objectives.
               ถอดความเป็ นภาษาไทย
                          ป็      ไ
        สงครามการเมือง — การใช้ เครื่องมือ
        สงครามการเมอง การใชเครองมอ
        ทางการเมืองในบรรลุุวัตถุุประสงค์
        ของชาติ
ความหมายของสงครามการเมือง
                             Political warfare is the use of political
                             means to compel an opponent to do
                             one's will, based on hostile intent.
                                      ถอดความเปนภาษาไทย
                                      ถอดความเป็ นภาษาไทย
                             สงครามการเมือง คือ การใช้ เครื่ องมือทาง
                             การเมืองในการบังคับให้ ฝ่ายตรงข้ ามทําสิงใด
                                                                       ่
                             สงหนงตามความตองการทฝายทเปนปรปกษ
                             สิงหนึงตามความต้ องการที่ฝ่ายที่เป็ นปรปั กษ์
                               ่ ่
                             ได้ วางไว้
http://en.wikipedia.org/wiki/Political_warfare
ความหมายของสงครามการเมือง
                           เจ้ าหน้ าทีฝ่ายความมั่นคงของสหรั ฐฯ ได
                                       ่
                           เจาหนาทฝายความมนคงของสหรฐฯ ได้
                           ให้ ความหมายไว้ ในคําสั่ง สภาความมั่นคง
                           แห่่ งชาติสหรัั ฐ NSC 10/2 (มิถุนายน
                                     ิ                   ิ
                           1948) ว่ า
                                 )
                          “‘The employment of all the means at a
                           nation's command, short of war, to
                           achieve its national objectives. Such
                           operations are both overt and covert”.
  George F. Kennan
      g
http://www.49thparallel.bham.ac.uk/back/issue22/2_Pee.pdf
ความหมายของสงครามการเมือง
                              สงครามการเมอง หมายถึง การดําเนินการทั้ง
                            • สงครามการเมือง หมายถง การดาเนนการทง
                              ปวง เพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ ของชาติทท้ังใน
                                                                     ิ
                              ยามปกตและยามสงคราม โดยมตองใชกาลง
                              ยามปกติและยามสงคราม โดยมิต้องใช้ กาลัง   ํ
                              ทหารเข้ าทําการสู้รบโดยตรง

                            • การดําเนินการทั้งปวง หมายรวมถง การ
                              การดาเนนการทงปวง หมายรวมถึง
                              ดําเนินการด้ านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
 เอกสารประกอบการบรรยาย         ิ ิ                ้ั
                              จตวทยา การทหาร ทงภายในและภายนอก
                                                         ใ
 วิชาสงครามการเมือง           เพื่อความมั่นคงและมั่งคั่งของประเทศด้ วย
 โรงเรี ยนเสนาธิการทหารบก
http://www.geocities.ws/cgscsos/pwppt.pdf
ความหมายของสงครามการเมือง
• กล่ าวโดยรวม
                                        ้
• สงครามการเมืือง เป็็ น การดําเนินการทังปวง
  เพื่อให้ บรรลวัตถประสงค์ ทผ้ใชตองการ
                             ่ี
  เพอใหบรรลุวตถุประสงคทผู ช้ ต้องการ
• ส่ วนใหญ่ จะเกี่ยวพันกับ “ความมั่นคงของชาติ”
  สวนใหญจะเกยวพนกบ ความมนคงของชาต
พัฒนาการของคําที่มีความสัมพันธ์ กัน
•   สงครามการเมอง (P liti l Warfare)
    ส              ื (Political W f )
•   สงครามจตวทยา
    สงครามจิตวิทยา (Psychological Warfare)
•   ปฏิบติการจิตวิทยา (Psychological Operations)
      ฏ ั               ( y      g    p        )
•   สงครามสารสนเทศ (Information Warfare)
•   ปฏิบติการข่าวสาร (Information Operations)
          ั
•   การจัดการรับรู้ (Perception Management)
  ่
ทีมา Prof. Philip M. Taylor, University of Leeds
ระดับของสงครามการเมือง
• ภายในรฐ เชน การแข่งขันทางการเมืืองในประเทศ การเมืืองโดย
     ใ ั ่          ่ ั             ใ ป               โ
  ใชการตลาดนา การกอความไมสงบ การลอบสงหาร รฐประหาร
  ใช้ การตลาดนํา การก่อความไม่สงบ การลอบสังหาร รัฐประหาร
  ฯลฯ
• ระหว่างรัฐ กับ รัฐ เช่น การดําเนินนโยบายต่างประเทศ การ
  ลอบสังหาร สงครามนอกแบบ ฯลฯ
• ระหว่างรฐ กบ องค์์กรทไม่ใช่รัฐ เช่น การก่่อการร้้ าย การลอบ
       ่ ั ั           ี่ไ ่ ่ ่
  สังหาร การเคลือนไหวของ NGO การเคลือนไหวผ่านองค์กรเหนือ
  สงหาร การเคลอนไหวของ
                ่            การเคลอนไหวผานองคกรเหนอ
                                    ่
  รัฐ ฯลฯ
แนวทางในการดําเนินการสงครามการเมือง
• การดําเนินสงครามการเมืองโดยสันติ
  การดาเนนสงครามการเมองโดยสนต
• การดําเนินสงครามการเมืองด้ วยความรุุนแรง
การดําเนินสงครามการเมืองโดยสันติ
• การดํําเนิินนโยบายต่างประเทศ
               โ      ่ ป
    – โดยใช้ มาตรการกีดกันต่างๆ
      โดยใชมาตรการกดกนตางๆ
    – การแทรกแซงการเมืองในประเทศอื่น
•   การใช้ ปฏิบติการข่าวสาร/ปฏิบติการจิตวิทยา
               ั                ั
•   การสร้ างพันธมิตรทางยุทธศาสตร์
•   การสือสารทางการเมืองและการเมืองโดยใช้ การตลาดนํา
         ่
•   ฯลฯ
การสื่อสารทางการเมือง
Political Communication
การสื่อสารทางการเมือง
Political Communication
• รปแบบการสื่อสารทกอย่างถกกระทําโดย ตัวแสดงทางการเมือง เพื่อให้
  รูปแบบการสอสารทุกอยางถูกกระทาโดย ตวแสดงทางการเมอง เพอให
  บรรลุวตประสงค์เฉพาะด้ านหนึงๆ
         ั ุ                     ่
• การสื่อสารที่กระทําเน้ นโดยกลุมที่ไม่ได้ เป็ นนักการเมือง เช่น ผู้มีสทธิ
                               ่                                       ิ
  ลงคะแนน
• การสื่อสารเรื่ องราวของตัวแสดงต่างๆ กจกรรมและการดาเนนการดาน
  การสอสารเรองราวของตวแสดงตางๆ กิจกรรมและการดําเนินการด้ าน
  การเมืองของตัวแสดงต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง
การเมืองโดยใช้ การตลาดนํา
การเมืองโดยใช้ การตลาดนํา
Political Marketing
• การเมืองที่ใช้ การตลาดนํา" (M k ti Orientation in Politics)
   การเมองทใชการตลาดนา" (Marketing O i t ti i P liti )
• ยึดแนวทางการตลาดนํา (Marketing Oriented) ของภาคธุรกิจ เพียงแต่
                             (    g              )          ุ
  ต่างกันที่เปาหมาย เพราะการเมืองมิได้ มีเปาหมายเพื่อมุงสร้ างผลกําไร
              ้                            ้              ่
  หรอความมงคงสูงสดดงเชนภาคธุรกจ
     ื          ั่ ั่ ส สุ ั ่      ิ
• กล่มเปาหมายของการเมอง คอ ผ้ ออกเสียงเลือกตัง้ (Voter) โดยผ้
  กลุ เปาหมายของการเมือง คือ ผู อกเสยงเลอกตง
          ้                                                   โดยผู
  เลือกตังจ่ายเป็ นคะแนนเสียงแทนเงินเพื่อซื ้อ "ความเชื่อในแนวนโยบาย
            ้
  และสัญญาต่างๆ ของพรรคการเมืืองนันๆ" เช่น นโยบายประชานิิยม
        ั          ่                  ั้       ่ โ        ป
การเมืองโดยใช้ การตลาดนํา
เครื่องมือ และกลยุทธของ Political Marketing
เครองมอ และกลยทธ์ ของ
• ไม่แตกต่างจากการประกอบธรกิจ
  ไมแตกตางจากการประกอบธุรกจ
• Research, Segmentation,Targeting, Positioning, Marketing
  Strategies Marketing Program ,Implementation and Control
  ฯลฯ
• ผ้ ออกเสยงเลอกตง้ง คือผ้ บรโภค (Consumer) สามารถใช้ ความร้
  ผู อกเสียงเลือกตั คอผู ริ โภค             สามารถใชความรู
  ทางด้ านพฤติกรรมของผู้บริ โภค (Consumer Behavior) มา
  ประยุกต์ใช้ ได้
การเมืองโดยใช้ การตลาดนํา
• ผ้ ออกเสียงเลือกตั้งในฐานะทีเป็ นผ้ ซื้อ
  ผู อกเสยงเลอกตงในฐานะทเปนผู     ่
• ความเชื่อในแนวนโยบายและสัญญาต่างๆ ของพรรคการเมืองนันๆ ด้ วย
                                                ๆ               ้ๆ
  การไปหย่อนบัตรเลือกตัง้
• จะได้้ รับประโยชน์์จากการซืือสินค้้ านีีมากน้้ อยเพีียงไร
      ไ ป โ                   ้ ิ         ้              ไ
• จะมีความมันใจขนาดไหนว่านักการเมืองและพรรคการเมืองจะส่งมอบ
  จะมความมนใจขนาดไหนวานกการเมองและพรรคการเมองจะสงมอบ
               ่
  สินค้ าหรื อบริ การทางการเมืองให้ แก่ผ้ ออกเสียงเลือกตังได้
                                            ู               ้
• ในตลาดการเมืองนันผู้ออกเสียงเลือกตังจะต้ องจ่าย "เงิน" ซึงในที่นี ้ คือ
                       ้                      ้               ่
  "คะแนนเสียง" ไปก่อน และหวงวาจะไดรบสนคาหรอบรการการเมองใน
   คะแนนเสยง ไปกอน และหวังว่าจะได้ รับสินค้ าหรื อบริ การการเมืองใน
  ภายหลัง
ภาวะความไม่ แน่ นอน 3 ระดับ
• ระดับแรก คือ นักการเมืองและพรรคการเมืองที่เลือกจะชนะการเลือกตังหรื อไม่
  ระดบแรก คอ นกการเมองและพรรคการเมองทเลอกจะชนะการเลอกตงหรอไม              ้
  หากนักการเมืองและพรรคการเมืองที่เลือกตังพ่ายแพ้ การเลือกตัง้ ผู้ซื ้อย่อมหมด
                                             ้
  โอกาสทจะไดรบการสงมอบสนคา ""บรการการเมอง“
  โ ส ี่ ไ ้ ั         ส่   สิ ้ ิ                ื “
• ระดับที่สอง ถึงนักการเมืองและพรรคการเมืองที่ตนเลือกจะชนะ แต่จะมีโอกาส
  ในการร่วมจัดตังรัฐบาลเพื่อผลักดันนโยบายที่ได้ หาเสียงเข้ าสูการปฏิบตหรื อไม่ ถ้ า
                   ้                                         ่         ัิ
  ไม ผู ้อก็ยอมหมดโอกาสที่จะได้ รับสินค้ า บรการการเมอง เปนผลตางตอบแทน
  ไม่ ผ้ ซือกยอมหมดโอกาสทจะไดรบสนคา "บริ การการเมือง" เป็ นผลต่างตอบแทน
              ่
• ระดับที่สาม ถึงแม้ นกการเมืองและพรรคการเมืองที่ตนเลือกได้ รับเลือกตังและได้
                       ั                                                    ้
  ร่่วมรััฐบาล ปประชาชนอาจจะเสีี่ยงต่อการ "เบีียว" สัญญา โดยการไม่ดําเนิินตาม
                                     ่         ้ ั       โ       ไ ่
  นโยบายตามที่ให้ สญญาไว้ กบประชาชน
                     ั       ั
การดําเนินสงครามการเมืองด้ วยความรุ นแรง

•   การลอบสังหาร
              ั
•   รฐประหาร
    รัฐประหาร
•   การปฏวต
    การปฏิวติ
           ั
•   สงครามกองโจร
•   สงครามกลางเมือง
สงครามนอกแบบ
• คือการปฏิบติการทางทหารและกึงทหาร ในดินแดนที่
              ั                          ่
  ขาศกยดครองอยู หรอพนททขาศกมอทธพล มุ กระทํา
  ข้ าศึกยึดครองอย่ หรื อพื ้นที่ที่ข้าศึกมีอิทธิพล ม่งกระทา
  ตอเปาหมายทางทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคม
  ต่อเปาหมายทางทหาร การเมอง เศรษฐกจ สงคม
        ้
  จิตวิทยา โดยใช้ กําลังหน่วยรบพิเศษล้ วนๆ หรื อการ
  ปฏิบติร่วมกับกําลังประชาชนในท้ องถิ่น รวมทัง้
          ั
  ปฏิ ั
  ป ิบติการร่่วมกับมิิตรประเทศในดิินแดนภายนอก
                  ั      ป            ใ
  ประเทศ
   ที่มา : เอกสารบรรยาย รร.สธ.ทบ. ของ พ.อ.นิพนธ์ บุญศิริ       25
บทบาทของสงครามนอกแบบ
• สนับสนุนการรบตามแบบ
• สนับสนุนขบวนการต่อต้ าน
   ในประเทศที่มิใช่คสงคราม
                    ู่


                             26
ผลของสงครามนอกแบบ
1. ชนะ     6. บาดเจ็บ
2. แพ้้    6. ทุพลภาพ
3.วี
3 ีระบุรุษ 7. ภาระทางสังคม
                       ั
4.
4 ตาย


                             27
สงครามนอกแบบ




               28
การทําสงครามปฏิวัติ
                      ฏ
• กองโจรไม่ใช่่กําลังรบแตกหัก
      โ ไ ่         ั       ั
• กองโจรรบยึดเยื ้อสร้ างความ
  กองโจรรบยดเยอสรางความ
  สูญเสียระยะยาว
• ชัยชนะขันสุดท้ ายต้ องรบตาม
          ้
  แบบ
• แต่อาจใช้ กองโจรสนับสนนการรบ
  แตอาจใชกองโจรสนบสนุนการรบ
  ตามแบบ
ชุุดปฏิบตการรบพิเศษ
     ฏ ั ิ
ชุุดปฏิบตการรบพิเศษ
     ฏ ั ิ
     ชุุดปฏิบัตการพิเศษ (A-Team)
           ฏ ิ
  Operational Detachment-Alpha (ODA)
หน้ าที่ของชุุดปฏิบตการรบพิเศษ
                      ฏ ั ิ
1. ผู้ บงคับชุดป ิบติการรบพิิเศษ ชันยศ ร้้ อยเอก
        ั ั ปฏิ ั                   ั้
2. รอง ผู้บงคับชุดปฏิบติการรบพิเศษ ชันยศ ร้ อยโท
           ู ั   ุ ฏ ั                    ้
3. นายสิบยุทธการ ชันยศ จ่าสิบเอก ไม่จํากัดเหล่าแต่ต้องผ่านการฝึ ก ความ
                        ้
   ชานาญการของนายสิบยุทธการ ชป.รพศ.มาก่่อน
     ํ                    ิ            ป
4. นายสิบการข่าว ชันยศ จ่าสิบเอก ไม่จํากัดเหล่าแต่ต้องผ่านการฝึ ก ความ
                      ้
   ชํานาญการของนายสิบการข่าว ชป.รพศ.มาก่อน
5. พนกงานวทยุ เปนตาแหนงทไมจากดเหลาเชนกน ชนยศ สบเอก พนกงาน
5 พนักงานวิทย เป็ นตําแหน่งที่ไม่จํากัดเหล่าเช่นกัน ชันยศ สิบเอก พนักงาน
                                                        ้
   วิทยุจะต้ องปฏิบติงาน รับ - ส่ง วิทยุ โดยใช้ รหัสได้
                    ั
หน้ าที่ของชุุดปฏิบตการรบพิเศษ
                      ฏ ั ิ
• นายสิิบพยาบาล ชันยศ สิิบเอกเหล่าแพทย์์ปฏิิบติงานในหน้้ าที่ีเสนารัักษ์์ ของ
                      ั้                           ั ใ
  ชป.รพศ.
• นายสิบอาวุธหนัก และ นายสิบอาวุธเบา ชันยศ สิบเอกไม่จํากัดเหล่า ทํา
                                              ้
  หนาเปนครูฝกในการยิง เครื่ องยิงลกระเบิดหนัก ยงจรวดแซม
  หน้ าเป็ นครฝึ กในการยง เครองยงลูกระเบดหนก ยิงจรวดแซม
  เป็ นผู้ตรวจการหน้ าปรับการยิงเครื่ องยิงลูกระเบิดและปื นใหญ่สนาม
• นายสิบการช่างและทําลาย ชันยศ สิบเอกไม่จํากัดเหล่าทําหน้ าที่ผลิตและกู้
                               ้
  กับระเบิดแสวงเครื่ อง ตลอดจนอุปกรณ์การขจัดขัดขวางทําลายล้ างฝ่ ายตรง
                                  ุ
  ข้ าม
การปฏิบตของสงครามนอกแบบ
         ฏ ั ิ
1.
1 การเตรีี ยมการทางจิิตวิิทยา
2. การติดต่อเริ่ มแรก
   การตดตอเรมแรก
3. การแทรกซึมเข้ า
4. การจัดตัง้
5. ส ิ ส ้ ํ ั
5 การเสรมสรางกาลง
6. การใช้ กองโจรทําการรบ
   การใชกองโจรทาการรบ
7. การปลดปล่อย
สงครามนอกแบบในหลังสงครามเย็น
37
ความหมายของสงครามอสมมาตร
“สงครามอสมมาตรคืือความขัดแย้้ งระหว่างคูปรปั กษ์ ที่
                                       ่
พยายามหาจดอ่ อนของอีกฝ่ ายหนึ่ง แล้ วใช้ ยทธศาสตร์
พยายามหาจุดออนของอกฝายหนง แลวใชยุทธศาสตร
และยุทธวิธีของสงครามนอกแบบเข้ าดําเนินการเพื่อ
ชดเชยจุดอ่อนของตน ก่อให้ เกิดประโยชน์กบฝ่ ายของตน ให้
                                                    ั
ฝ่ ายตนเป็ นฝ่ ายดํํารงความริิ เริ่ิ ม และมีีเสรีี ในการปฏิิบติ โ
        ป็                                              ป ั โดย
แสวงประโยชนจากจุดออนของฝายตรงขาม อันนําไปส่
แสวงประโยชน์จากจดอ่อนของฝ่ ายตรงข้ าม อนนาไปสู
ความเท่ าเทียมกันในการทําสงคราม”
                                                                    38
ความไม่ เท่ าเทียมกันในการต่ อส้ ู




                                 39
สงครามแบบสมมาตร
สงครามแบบสมมาตร




                            40
แนวความคิดของสงครามอสมมาตร
สงครามแบบอสมมาตร




                           41
มูลเหตุุแห่ งการก่ อการร้ าย
กงล้ อแห่ งความหวาดกลัว
ลักษณะของเปาหมาย
           ้
องค์ ประกอบของการสื่อสาร
เขียน BLOG   การใช้ เวลา 9 ชม.ใน 1 วัน
  0.75 ชม.     http://www.wired.com
             เล่ มเกม 1 ชม.

                     Social Networking
                         1.25 ชม.

                  ขาว 2.5 ชม.
                  ข่ าว 2 5 ชม

                    ความบันเทิง 3.5 ชม.
การรั บร้ ู ข้อมูลข่ าวสาร
สงครามสารสนเทศ
                                     สิ่ งที่ เกี่ ียวข้้ องกับ
                                         ิ ี                  ั
                                     การตดสนใจของผู
                                     การตัดสินใจของผ้ นํา
                                     และผู้ท่ เกี่ยวข้ อง
                                                     ี


                                       สิ่งที่เกี่ยวข้ องกับ
       สงครามสารสนเทศ                  ความเชื่อของผู้นํา
ไมมอะไรมากไปกวาสงเหลาน
ไม่ มีอะไรมากไปกว่ าสิ่งเหล่ านี ้     และผู เกยวของ
                                       และผ้ ท่ เกี่ยวข้ อง
                                                   ี
ระดับของปฏิบตการข่ าวสาร
         ฏ ั ิ
52
53
การก่ อความไม่ สงบในปั จจุุบน
                            ั
การก่ อความไม่ สงบในปั จจุุบน
                            ั
การก่ อความไม่ สงบในปั จจุุบน
                            ั
สงครามการเมืองในยุุคหลังสงครามเย็น
ความหมายของสงครามการเมือง
                     •มีการสอนใน โรงเรี ยน
                      เสนาธิการทหารบก
                     •วิชาสงครามการเมือง


http://www.geocities.ws/cgscsos/pwppt.pdf
ลักษณะของสงครามการเมือง
• การต่อสู้ ในด้้ านการเมืือง
• การต่อสู้ ด้ านเศรษฐกิิจ
       ่
• การต่อสู้ ด้ านสังคมจิิตวิทยา
         ่         ั        ิ




                                  61
การต่ อส้ ูในด้ านการเมือง
• มุงบ่อนทําลายโดรงสร้้ างทางการเมืือง ระบบ แบบ
   ่
• แผนประสิทธิิภาพของฝ่ ายตรงข้้ าม
       ป ิ                  ฝ่
• มุงเสริิ มสร้้ างความมันคงของฝ่ ายตนและพันธมิิตร
     ่                   ั่    ฝ่          ั




                                                     62
การต่ อส้ ูด้านเศรษฐกิจ
                                  ฐ
•   มุงบ่อนทาลายความมนคงทางเศรษฐกิิจของฝ่ ายตรงข้้ าม
      ่ ่ ํ                ั่                ฝ่
•   ทาลายความเปนปกแผนของแรงงาน
    ทําลายความเป็ นปึ กแผ่นของแรงงาน
•   ทําลายฐานความมันคงทางการเงิน
                       ่
•   ทําลายทรัพยากร และการผลิต
•   ทาลายระบบวธการจดดาเนนงานทางเศรษฐกจ
    ทําลายระบบวิธีการจัดดําเนินงานทางเศรษฐกิจ
•   มุงเสริ มสร้ างความมันคงทางเศรษฐกิจของฝ่ ายตน และ
       ุ่                ่         ฐ
    พันธมิตร
                                                        63
การต่ อส้ ูด้านสังคมจิตวิทยา
• มุงบ่อนทําลายเกีียรติภมิของฝ่ ายตรงข้้ าม
    ่                   ู
• บุคคล, กลุมบุคคล
               ่
• หน่วยงานรััฐ + เอกชน
      ่
• ม่งเสรมสรางใช ปชช . เกิดศรัทธาในบคคล ,
  มุ เสริ มสร้ างใช้    เกดศรทธาในบุคคล
• กล่มบคคลและหน่วยงานของฝ่ ายเรา
  กลุ บุคคลและหนวยงานของฝายเรา

                                              64
สงครามการเมืองกับสงครามทางทหาร
สงครามทางทหาร                        สงครามการเมืือง
1. เปาหมายเป็ นพื ้นที่ปฏิบติการ
       ้                  ฏ ั        1. เปาหมายเป็ นบุคคล และพื ้นที่
                                          ้                ุ
    แน่นอน                               ปฏิบติการไม่มีขอบเขตจํากัด
                                              ั
     ํ
2. กาหนดระยะเวลาค่อนข้้ างแน่นอน
                        ่        ่   2. ไ มีขีดจากัดเรืื่ องเวลาปฏิิบติการ
                                        ไม่่      ํ ั           ป ั
3. กําลังพลหลักที่ใช้ เป็ นทหาร      3. กําลังพลที่ใช้ เป็ นจนท..ของรัฐ
    ประจําการ                            โดยทัวไป
                                                ่
4. อาวุธทใชมอานาจทาลายทางวตถุ
4 อาวธที่ใช้ มีอํานาจทําลายทางวัตถ   4. ใชความคดเปนอาวุธเพอบอน
                                     4 ใช้ ความคิดเป็ นอาวธเพื่อบ่อน
    และชีวิต                             ทําลายหรื อสร้ างสรรค์ด้านจิตใจ
                                                                             65
ขอบเขตของสงครามการเมือง
1. การต่อสู้ ด้ านอุดมการณ์์
        ่
2. การตอสู านการจัดตั
2 การต่อส้ ด้านการจดตง้ง
3. การตอสู านมวลชน
3 การต่อส้ ด้านมวลชน
4. การต่อสูู้ ด้ านกโล บาย
5. การต่อสู้ด้านการข่าว
6. การปฏิบติการจิตวิทยา และการประชาสัมพันธ์
              ั
                                              66
การต่ อส้ ูด้านอุุดมการณ์
หมายถึง การต่อสู้ ทางความคิด ความศรััทธา ในระบอบการปกครองใน
          ึ     ่             ิ                  ใ        ป      ใ
ลทธนยม วิถีทางดําาเนินชีวีวิตของสังคมหนึงงกับอีกสังคมหนึ
ลัทธินิยม วถทางดาาเนนชววตของสงคมหนงงกบอกสงคมหนง
                                            ่ ึ่            ึง
                                                             ่่
หลักสําคัญ
• ปลูกฝั งความเชื่อมันที่มีคณค่ายิ่งในสังคม
                       ่    ุ
• ให้ เป็ นสังคมที่มีคณธรรม มีระเบียบ วินย อดทน ประหยด เสียสละ
   ใหเปนสงคมทมคุณธรรม มระเบยบ วนย         ั        ประหยัด เสยสละ
• มีความศรัทธา เชื่อถือในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี
   พระมหากษัตริ ยิย์เป็ นประมุข

                                                                67
การต่ อส้ ูด้านอุุดมการณ์
หมายถง การตอสู้ ทางความคด ความศรทธา ใ
        ึ       ่             ิ        ั ในระบอบการปกครองใน
                                                         ป ใ
ลัทธินิยม วิถีทางดําเนินชีวิตของสังคมหนึงกับอีกสังคมหนึง
                                        ่              ่

ความมุ่ งหมาย
• เสริ มสร้ างความรู้ความเข้ าใจให้ ร้ ูเท่าทันอุบาย ลัทธิการเมืองที่เป็ นภัย
• ให้ มีความเข้ าใจเกี่ยวกับลัทธิการปกครอง สามารถเปรี ยบเทียบได้
• เสริ มสร้ างกําลังใจในการต่อส้
  เสรมสรางกาลงใจในการตอสู
• ถ่ายทอดความรู้สกยึดมันในอุดมการณ์
                      ึ     ่
                                                                          68
การต่ อส้ ูด้านการจัดตัง
                                      ้
หมายถง การจดตงหนวยงาน หรอกลุ คนทมอุดมการณ์ตรงกัน
หมายถึง การจัดตังหน่วยงาน หรื อกล่มคนที่มีอดมการณตรงกน
                       ้
ขึ ้นเป็ นองค์กรที่มีระเบียบวินย และประสิทธิภาพ และรวมถึงการบ
                                ั
และบ่อนทําลายการจัดตังของฝ่ ทําฝายตรงข้ ามด้ วย
                              ้
ความมุ่งหมาย
• เพืื่อเป็ นพลังในการดาเนิินการตามวัตถุประสงค์์ท่ีกําหนดไว้้
          ป็ ั ใ           ํ               ั                 ไ
• เพื่อมิให้ ฝ่ายตรงข้ ามเข้ ามาจัดตัง้ แล้ วนําไปสนับสนนฝ่ ายตน
     เพอมใหฝายตรงขามเขามาจดตง แลวนาไปสนบสนุนฝายตน
• เพื่อดึงกล่มชนที่ฝ่ายตรงข้ าม จัดตังไว้ ให้ กลับมาสนับสนนฝ่ าย
     เ       ลุ น            ร          ้ ไวใ ล ม สน สนุน
     เรา                                                      69
การต่ อส้ ูด้านการจัดตัง
                                        ้
แบบของการจดตง
แบบของการจัดตัง 2 แบบ
                    ้
1. การจัดตังหน่วยงานหรื อองค์การโดยทางราชการ
            ้
        1.1 ทางราชการเป็ นผู้อํานวยการจัดตังอย่างเปิ ดเผย เช่น ทสปช.
                                           ้
สสชบ. ทพ. ฯลฯ
        1.2 ทางราชการเป็ นผู้สนับสนุนเอกชนให้ จดตังขึ ้น เช่น สมาคม
                                               ั ้
แม่บ้ านกองทัพบก ฯลฯ
2. การจดตงโดยประชาชนรวมตวจดตงขนเอง
2 การจัดตังโดยประชาชนรวมตัวจัดตังขึ ้นเอง
              ้                      ้
        - การจัดตังตามสิทธิขนพื ้นฐาน อาจมีการจดทะเบียนเป็ นรูป
                  ้          ั้
องค์การ เช่น สมาคม นสพ. แห่งประเทศไทย สมาคมนักข่าว เป็ นต้ น       70
การต่ อส้ ูด้านมวลชน
หมายถึง การดํําเนินการทุกวิถีทาง เพืื่อดึงมวลชนมาสนับสนุนฝ่ ายเรา ณ
         ึ                                    ึ
สถานที่ และ วันเวลา ตามที่ต้องการ จะโดยสมัครใจหรื อไม่ก็ตาม ทังนี ้้
เพอให้ เกิดพลังในการต่อสู้ที่เหนือกว่าฝ่ ายตรงข้ าม
ความมุ่งหมาย
• รวมพลังมวลชน เขาปฏบตการชวงชงความไดเปรยบ
  รวมพลงมวลชน เข้ าปฏิบตการช่วงชิงความได้ เปรี ยบ
                              ัิ
• ดึงพลังมวลชน จากองค์กรอื่น ๆ มาอยูภายใต้ การอํานวยการเดียวกัน
                                           ู่
• ให้ ฝ่ายตรงข้ ามต้ องทบทวน ยับยังการดดําเนินการต่าง ๆ ที่ไม่เป็ นผลดี
                                    ้
  ต่อฝายเรา
      ฝ่
                                                                    71
การจัดสร้ างพลังมวลชน
การรวมกลุ่มชนให้้ เกิดพลัง แบ่ งกลุ่มชนได้้ เป็็ น 3 ประเภท
                                       ไ
• กลุมชนทมความสมพนธกนทางสายโลหต
     ่        ี่ ี สั ั ์ ั     ส โ ิ
• กล่มชนที่มีความสัมพันธ์กนทางอาชีพ และธรกิจ
  กลุ ชนทมความสมพนธกนทางอาชพ และธุรกจ
                            ั
• กล่มชนที่มีแนวความคิดหรื ออดมการณ์ร่วมกัน
  กลุ ชนทมแนวความคดหรออุดมการณรวมกน
       - ถ้ าเราสามารถควบคุมแนวความคิด พฤติกรรมของผู้นํา
                              ุ          ฤ               ู
กลุมชนได้ เราก็สามารถควบคุมกลุมชนได้
   ่                             ่
                                                         72
การต่ อส้ ูด้านกโลบาย
หมายถึง การดํําเนินการโดยใช้้ กลวิธี หรืื อกลอุบายทัง้ ปวง ด้้ วยวิธีการอัน
         ึ             โ ใ
ชาญฉลาดเพื่อทําให้ ฝ่ายตรงข้ ามเข้ าใจผิดและตัดสินใจปฏิบตการอย่าง
   ญ                                                     ฏ ัิ
ผิดพลาด
ความมุ่งหมาย
• ให้ ฝ่ายเราชนะโดยมีการสญเสียน้ อยที่สด โดย
   ใหฝายเราชนะโดยมการสูญเสยนอยทสุ
   – ลวงให้ ฝ่ายตรงข้ ามเกิดความสับสน
   – ลดขีดความสามารถของฝ่ ายตรงข้ าม
   – บันทอนความจงรัักภักดีี ขวัญ และวิินย
       ั่                 ั    ั        ั
                                                                         73
การดําเนินการต่ อส้ ู
• ใ ้ มาตรการลวง
  ใช้
• ใช้ มาตรฐานการข่มข่
  ใชมาตรฐานการขมขู
• การสร้ างความขัดแย้ ง แตกแยก
  การสรางความขดแยง
• การบ่อนทําลายชื่อเสียง เกียรติยศ และความน่าเชื่อถือ
• มาตรการถ่วงการดําเนินงาน
• ดําเนินการลบล้ างด้ วยการดําเนินการสงครามนอกแบบ
                                                        74
การปฏิบตการข่ าว
                               ฏ ั ิ
หมายถึง การดํําเนิินการทุกวิิธี เพืื่อใ ้ ได้้ ขาวที่ีต้ องการจากฝ่ ายอืื่นใ ้ มากทีี่สดใ
        ึ                             ให้ ่                                ให้         ุ ใน
ขณะเดียวกันต้ องปองกันมิให้ ฝ่ายอื่นได้ ขาวจากฝ่ ายเรา การ
                  ้                            ่
ดําเนินการดังกล่าวนี ้ต้ องกระทําโดยต่อเนื่องทังยามปกติ และยามสงคราม
                                                   ้
ความมุ่ งหมาย เมืื่อทราบข่าวเกีี่ยวกับบุคคลข่ายงาน การดาเนิินงาน การ
                             ่         ั             ่            ํ
• ติดต่อสื่อสาร การสนับสนุน ตลอดจนความเคลื่อนไหวและแผนการดําเนินงาน
                               ุ
   ของฝ่ ายตรงข้ ามอย่างถูกต้ อง ทันเวลา
• กําจัดบคคล โครงสร้ างและข่ายงานการข่าวของฝ่ ายตรงข้ าม
   กาจดบุคคล โครงสรางและขายงานการขาวของฝายตรงขาม
• ปองกัน รักษา ความลับของฝ่ ายเรา
    ้
• รปภ .บุคคล เอกสาร สถานที่ฝ่ายเรา                                                       75
การ ปจว. และ ปชส.
หมายถึง กิจกรรมทีี่ปฏิบตอย่างต่อเนืื่องตามแผนทีี่ ไ ้ วางไว้้ เพื่ือ
          ึ               ัิ                      ได้ ไ
เสริ มสร้ างความเชื่อถือศรัทธาในบุคคลและสถาบันตลอดจนความเข้ าใจ
                                  ุ
อันดีระหว่างรัฐบาลกับประชาชนในชาติ
วัตถุประสงค์ เพื่อ
• สนับสนนการดําเนินงานของชาติ
  สนบสนุนการดาเนนงานของชาต
• เผยแพร่กิจกรรมของรัฐบาล
• ต่อต้ านการโฆษณาชวนเชื่อของฝ่ ายตรงข้ าม
                                                                   76
77
สงครามเสือสี
                             ้
มีีการโพสต์์ ตามเว็บไซต์์ ต่าง
        โ            ็ ไ
• สีชมพบอกว่า อยาดงฟาตา
   สชมพูบอกวา อย่าดึงฟาตํ่า
                          ้
• สีนํ ้าเงินบอกว่า ผมตามเนวินมาเฉยๆ
   สนาเงนบอกวา ผมตามเนวนมาเฉยๆ
• สีแดงบอกว่า อย่ามาสองมาตรฐาน   ฐ
• สีเหลืองบอกว่า ผมมากู้ชาติ
• สีเขียวหัวเราะแห้ งแล้ วบอกว่า ผมเอารถถังมาวิงเล่น"
                                               ่
ส่ วนหนึ่งของจุุดเริ่มแห่ งความขัดแย้ ง
การปะทะกันระหว่ างกลุุ่มผลประโยชน์
ฉากทัศน์ ท่ เลวร้ ายที่สุด เมื่อ (20 ก.พ. 53)
            ี
การวิเคราะความเสี่ยงที่จะเกิดขึน
                               ้
ความเป็ นไปได้ ของสถานการณ์ ประเทศไทย
ขันตอนในการจัดตังกองโจร
  ้             ้
รูปแบบการดําเนินการที่อาจเกิดขึน
                               ้
แนวนโยบายที่ควรดําเนินการ
ฉากทัศน์ ใหม่ ของความขัดแย้ ง
ฉากทัศน์ ใหม่ ของความขัดแย้ ง
สรุุ ปสงครามการเมือง
สรุุ ปสงครามการเมือง
• สงครามการเมืืองทีี่ผานมา มุงไ ี่การรักษาผลประโยชน์ของ
                        ่         ่ ไปที
  ชาต
  ชาติ
• ปั จจุบน สงครามการเมือง นันมีหลายระดับ ภายในรัฐ ระหว่าง
        ุ ั                     ้
  รัฐกับรัฐ และ รัฐกับองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ
• สงครามการเมือง สามารถใช้ ได้ ทงความรุนแรงและไม่รุนแรง
                                        ั้
• การสือสารทางการเมืือง ผ่านนวัตกรรมและเทคโนโลยีี
          ื่                          ั        โ โ
  สมยใหมเปนเครองมอหลงในการดาเนนสงครามการเมอง
  สมัยใหม่เป็ นเครื่ องมือหลังในการดําเนินสงครามการเมือง
สรุุ ปสงครามการเมือง
• การรับรู้ ของกลุมเปาหมายเป็็ นสิงสําคัญของสงครามการเมืือง
                 ่ ้              ่ ํ
• สงครามการเมือง ไม่มีรปแบบตายตัว มีความสลับซับซ้ อนใน
  สงครามการเมอง ไมมรูปแบบตายตว มความสลบซบซอนใน
  ตัวเอง ตามบริ บทของมันเอง
• แนวทางที่จะเผชิญสงครามการเมืองที่ดีที่สดคือ การใช้
                                           ุ
  วิจารณญาณ ของปั จเจก
บทส่ งท้ าย



• A politician will do anything to keep his
  job - even become a patriot.

                  William Randolph Hearst
Political warfare

Mais conteúdo relacionado

Mais de Teeranan

Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern thTeeranan
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Teeranan
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTeeranan
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contentsTeeranan
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Teeranan
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Teeranan
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Teeranan
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Teeranan
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTeeranan
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social networkTeeranan
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailandTeeranan
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalismTeeranan
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนTeeranan
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflictTeeranan
 
The unfamiliar war
The unfamiliar warThe unfamiliar war
The unfamiliar warTeeranan
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155Teeranan
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 

Mais de Teeranan (20)

Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern th
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airport
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Atfl
AtflAtfl
Atfl
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in Thailand
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social network
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailand
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalism
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflict
 
The unfamiliar war
The unfamiliar warThe unfamiliar war
The unfamiliar war
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 

Political warfare

  • 1. พันเอก ดร. ธีรนันท์ นันทขว้ าง รองผูอานวยการกองการเมอง, วทยาลยปองกนราชอาณาจกร รองผ้ านวยการกองการเมือง วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ํ ้ สถาบันวิชาการปองกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย ้ Mobile: 089‐893‐3126, Web Site: http://tortaharn.net  teeranan@rtarf.mi.th, teeranan@nandhakwang.info Twitter :  @tortaharn Facebook : http://facebook.com/tortaharn http://facebook.com/dr.teeranan
  • 2. กรอบการนําเสนอ • ความหมายของสงครามการเมืือง • พฒนาการของคาทมความสมพนธกน พัฒนาการของคําที่มีความสัมพันธ์กน ั • แนวคดของสงครามการเมอง แนวคิดของสงครามการเมือง • แนวคิดสงครามการเมืองของไทย • สงครามการเมืองในประเทศไทย
  • 3.
  • 4. ความหมายของสงครามการเมือง • ในเอกสาร The Department of Defense Dictionary of Military and Associated Terms (Joint Publication 1-02) ของสหรฐอเมรกา 1 02) ของสหรัฐอเมริกา • ได้ ให้ ความหมายไว้ ในหน้ า 422 ว่ า
  • 5. ความหมายของสงครามการเมือง political warfare — Aggressive use of political means to achieve national objectives. ถอดความเป็ นภาษาไทย ป็ ไ สงครามการเมือง — การใช้ เครื่องมือ สงครามการเมอง การใชเครองมอ ทางการเมืองในบรรลุุวัตถุุประสงค์ ของชาติ
  • 6. ความหมายของสงครามการเมือง Political warfare is the use of political means to compel an opponent to do one's will, based on hostile intent. ถอดความเปนภาษาไทย ถอดความเป็ นภาษาไทย สงครามการเมือง คือ การใช้ เครื่ องมือทาง การเมืองในการบังคับให้ ฝ่ายตรงข้ ามทําสิงใด ่ สงหนงตามความตองการทฝายทเปนปรปกษ สิงหนึงตามความต้ องการที่ฝ่ายที่เป็ นปรปั กษ์ ่ ่ ได้ วางไว้ http://en.wikipedia.org/wiki/Political_warfare
  • 7. ความหมายของสงครามการเมือง เจ้ าหน้ าทีฝ่ายความมั่นคงของสหรั ฐฯ ได ่ เจาหนาทฝายความมนคงของสหรฐฯ ได้ ให้ ความหมายไว้ ในคําสั่ง สภาความมั่นคง แห่่ งชาติสหรัั ฐ NSC 10/2 (มิถุนายน ิ ิ 1948) ว่ า ) “‘The employment of all the means at a nation's command, short of war, to achieve its national objectives. Such operations are both overt and covert”. George F. Kennan g http://www.49thparallel.bham.ac.uk/back/issue22/2_Pee.pdf
  • 8. ความหมายของสงครามการเมือง สงครามการเมอง หมายถึง การดําเนินการทั้ง • สงครามการเมือง หมายถง การดาเนนการทง ปวง เพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ ของชาติทท้ังใน ิ ยามปกตและยามสงคราม โดยมตองใชกาลง ยามปกติและยามสงคราม โดยมิต้องใช้ กาลัง ํ ทหารเข้ าทําการสู้รบโดยตรง • การดําเนินการทั้งปวง หมายรวมถง การ การดาเนนการทงปวง หมายรวมถึง ดําเนินการด้ านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เอกสารประกอบการบรรยาย ิ ิ ้ั จตวทยา การทหาร ทงภายในและภายนอก ใ วิชาสงครามการเมือง เพื่อความมั่นคงและมั่งคั่งของประเทศด้ วย โรงเรี ยนเสนาธิการทหารบก http://www.geocities.ws/cgscsos/pwppt.pdf
  • 9. ความหมายของสงครามการเมือง • กล่ าวโดยรวม ้ • สงครามการเมืือง เป็็ น การดําเนินการทังปวง เพื่อให้ บรรลวัตถประสงค์ ทผ้ใชตองการ ่ี เพอใหบรรลุวตถุประสงคทผู ช้ ต้องการ • ส่ วนใหญ่ จะเกี่ยวพันกับ “ความมั่นคงของชาติ” สวนใหญจะเกยวพนกบ ความมนคงของชาต
  • 10.
  • 11. พัฒนาการของคําที่มีความสัมพันธ์ กัน • สงครามการเมอง (P liti l Warfare) ส ื (Political W f ) • สงครามจตวทยา สงครามจิตวิทยา (Psychological Warfare) • ปฏิบติการจิตวิทยา (Psychological Operations) ฏ ั ( y g p ) • สงครามสารสนเทศ (Information Warfare) • ปฏิบติการข่าวสาร (Information Operations) ั • การจัดการรับรู้ (Perception Management) ่ ทีมา Prof. Philip M. Taylor, University of Leeds
  • 12.
  • 13. ระดับของสงครามการเมือง • ภายในรฐ เชน การแข่งขันทางการเมืืองในประเทศ การเมืืองโดย ใ ั ่ ่ ั ใ ป โ ใชการตลาดนา การกอความไมสงบ การลอบสงหาร รฐประหาร ใช้ การตลาดนํา การก่อความไม่สงบ การลอบสังหาร รัฐประหาร ฯลฯ • ระหว่างรัฐ กับ รัฐ เช่น การดําเนินนโยบายต่างประเทศ การ ลอบสังหาร สงครามนอกแบบ ฯลฯ • ระหว่างรฐ กบ องค์์กรทไม่ใช่รัฐ เช่น การก่่อการร้้ าย การลอบ ่ ั ั ี่ไ ่ ่ ่ สังหาร การเคลือนไหวของ NGO การเคลือนไหวผ่านองค์กรเหนือ สงหาร การเคลอนไหวของ ่ การเคลอนไหวผานองคกรเหนอ ่ รัฐ ฯลฯ
  • 14. แนวทางในการดําเนินการสงครามการเมือง • การดําเนินสงครามการเมืองโดยสันติ การดาเนนสงครามการเมองโดยสนต • การดําเนินสงครามการเมืองด้ วยความรุุนแรง
  • 15. การดําเนินสงครามการเมืองโดยสันติ • การดํําเนิินนโยบายต่างประเทศ โ ่ ป – โดยใช้ มาตรการกีดกันต่างๆ โดยใชมาตรการกดกนตางๆ – การแทรกแซงการเมืองในประเทศอื่น • การใช้ ปฏิบติการข่าวสาร/ปฏิบติการจิตวิทยา ั ั • การสร้ างพันธมิตรทางยุทธศาสตร์ • การสือสารทางการเมืองและการเมืองโดยใช้ การตลาดนํา ่ • ฯลฯ
  • 17. การสื่อสารทางการเมือง Political Communication • รปแบบการสื่อสารทกอย่างถกกระทําโดย ตัวแสดงทางการเมือง เพื่อให้ รูปแบบการสอสารทุกอยางถูกกระทาโดย ตวแสดงทางการเมอง เพอให บรรลุวตประสงค์เฉพาะด้ านหนึงๆ ั ุ ่ • การสื่อสารที่กระทําเน้ นโดยกลุมที่ไม่ได้ เป็ นนักการเมือง เช่น ผู้มีสทธิ ่ ิ ลงคะแนน • การสื่อสารเรื่ องราวของตัวแสดงต่างๆ กจกรรมและการดาเนนการดาน การสอสารเรองราวของตวแสดงตางๆ กิจกรรมและการดําเนินการด้ าน การเมืองของตัวแสดงต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง
  • 19. การเมืองโดยใช้ การตลาดนํา Political Marketing • การเมืองที่ใช้ การตลาดนํา" (M k ti Orientation in Politics) การเมองทใชการตลาดนา" (Marketing O i t ti i P liti ) • ยึดแนวทางการตลาดนํา (Marketing Oriented) ของภาคธุรกิจ เพียงแต่ ( g ) ุ ต่างกันที่เปาหมาย เพราะการเมืองมิได้ มีเปาหมายเพื่อมุงสร้ างผลกําไร ้ ้ ่ หรอความมงคงสูงสดดงเชนภาคธุรกจ ื ั่ ั่ ส สุ ั ่ ิ • กล่มเปาหมายของการเมอง คอ ผ้ ออกเสียงเลือกตัง้ (Voter) โดยผ้ กลุ เปาหมายของการเมือง คือ ผู อกเสยงเลอกตง ้ โดยผู เลือกตังจ่ายเป็ นคะแนนเสียงแทนเงินเพื่อซื ้อ "ความเชื่อในแนวนโยบาย ้ และสัญญาต่างๆ ของพรรคการเมืืองนันๆ" เช่น นโยบายประชานิิยม ั ่ ั้ ่ โ ป
  • 20. การเมืองโดยใช้ การตลาดนํา เครื่องมือ และกลยุทธของ Political Marketing เครองมอ และกลยทธ์ ของ • ไม่แตกต่างจากการประกอบธรกิจ ไมแตกตางจากการประกอบธุรกจ • Research, Segmentation,Targeting, Positioning, Marketing Strategies Marketing Program ,Implementation and Control ฯลฯ • ผ้ ออกเสยงเลอกตง้ง คือผ้ บรโภค (Consumer) สามารถใช้ ความร้ ผู อกเสียงเลือกตั คอผู ริ โภค สามารถใชความรู ทางด้ านพฤติกรรมของผู้บริ โภค (Consumer Behavior) มา ประยุกต์ใช้ ได้
  • 21. การเมืองโดยใช้ การตลาดนํา • ผ้ ออกเสียงเลือกตั้งในฐานะทีเป็ นผ้ ซื้อ ผู อกเสยงเลอกตงในฐานะทเปนผู ่ • ความเชื่อในแนวนโยบายและสัญญาต่างๆ ของพรรคการเมืองนันๆ ด้ วย ๆ ้ๆ การไปหย่อนบัตรเลือกตัง้ • จะได้้ รับประโยชน์์จากการซืือสินค้้ านีีมากน้้ อยเพีียงไร ไ ป โ ้ ิ ้ ไ • จะมีความมันใจขนาดไหนว่านักการเมืองและพรรคการเมืองจะส่งมอบ จะมความมนใจขนาดไหนวานกการเมองและพรรคการเมองจะสงมอบ ่ สินค้ าหรื อบริ การทางการเมืองให้ แก่ผ้ ออกเสียงเลือกตังได้ ู ้ • ในตลาดการเมืองนันผู้ออกเสียงเลือกตังจะต้ องจ่าย "เงิน" ซึงในที่นี ้ คือ ้ ้ ่ "คะแนนเสียง" ไปก่อน และหวงวาจะไดรบสนคาหรอบรการการเมองใน คะแนนเสยง ไปกอน และหวังว่าจะได้ รับสินค้ าหรื อบริ การการเมืองใน ภายหลัง
  • 22. ภาวะความไม่ แน่ นอน 3 ระดับ • ระดับแรก คือ นักการเมืองและพรรคการเมืองที่เลือกจะชนะการเลือกตังหรื อไม่ ระดบแรก คอ นกการเมองและพรรคการเมองทเลอกจะชนะการเลอกตงหรอไม ้ หากนักการเมืองและพรรคการเมืองที่เลือกตังพ่ายแพ้ การเลือกตัง้ ผู้ซื ้อย่อมหมด ้ โอกาสทจะไดรบการสงมอบสนคา ""บรการการเมอง“ โ ส ี่ ไ ้ ั ส่ สิ ้ ิ ื “ • ระดับที่สอง ถึงนักการเมืองและพรรคการเมืองที่ตนเลือกจะชนะ แต่จะมีโอกาส ในการร่วมจัดตังรัฐบาลเพื่อผลักดันนโยบายที่ได้ หาเสียงเข้ าสูการปฏิบตหรื อไม่ ถ้ า ้ ่ ัิ ไม ผู ้อก็ยอมหมดโอกาสที่จะได้ รับสินค้ า บรการการเมอง เปนผลตางตอบแทน ไม่ ผ้ ซือกยอมหมดโอกาสทจะไดรบสนคา "บริ การการเมือง" เป็ นผลต่างตอบแทน ่ • ระดับที่สาม ถึงแม้ นกการเมืองและพรรคการเมืองที่ตนเลือกได้ รับเลือกตังและได้ ั ้ ร่่วมรััฐบาล ปประชาชนอาจจะเสีี่ยงต่อการ "เบีียว" สัญญา โดยการไม่ดําเนิินตาม ่ ้ ั โ ไ ่ นโยบายตามที่ให้ สญญาไว้ กบประชาชน ั ั
  • 23. การดําเนินสงครามการเมืองด้ วยความรุ นแรง • การลอบสังหาร ั • รฐประหาร รัฐประหาร • การปฏวต การปฏิวติ ั • สงครามกองโจร • สงครามกลางเมือง
  • 24.
  • 25. สงครามนอกแบบ • คือการปฏิบติการทางทหารและกึงทหาร ในดินแดนที่ ั ่ ขาศกยดครองอยู หรอพนททขาศกมอทธพล มุ กระทํา ข้ าศึกยึดครองอย่ หรื อพื ้นที่ที่ข้าศึกมีอิทธิพล ม่งกระทา ตอเปาหมายทางทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ต่อเปาหมายทางทหาร การเมอง เศรษฐกจ สงคม ้ จิตวิทยา โดยใช้ กําลังหน่วยรบพิเศษล้ วนๆ หรื อการ ปฏิบติร่วมกับกําลังประชาชนในท้ องถิ่น รวมทัง้ ั ปฏิ ั ป ิบติการร่่วมกับมิิตรประเทศในดิินแดนภายนอก ั ป ใ ประเทศ ที่มา : เอกสารบรรยาย รร.สธ.ทบ. ของ พ.อ.นิพนธ์ บุญศิริ 25
  • 27. ผลของสงครามนอกแบบ 1. ชนะ 6. บาดเจ็บ 2. แพ้้ 6. ทุพลภาพ 3.วี 3 ีระบุรุษ 7. ภาระทางสังคม ั 4. 4 ตาย 27
  • 29. การทําสงครามปฏิวัติ ฏ • กองโจรไม่ใช่่กําลังรบแตกหัก โ ไ ่ ั ั • กองโจรรบยึดเยื ้อสร้ างความ กองโจรรบยดเยอสรางความ สูญเสียระยะยาว • ชัยชนะขันสุดท้ ายต้ องรบตาม ้ แบบ • แต่อาจใช้ กองโจรสนับสนนการรบ แตอาจใชกองโจรสนบสนุนการรบ ตามแบบ
  • 31. ชุุดปฏิบตการรบพิเศษ ฏ ั ิ ชุุดปฏิบัตการพิเศษ (A-Team) ฏ ิ Operational Detachment-Alpha (ODA)
  • 32. หน้ าที่ของชุุดปฏิบตการรบพิเศษ ฏ ั ิ 1. ผู้ บงคับชุดป ิบติการรบพิิเศษ ชันยศ ร้้ อยเอก ั ั ปฏิ ั ั้ 2. รอง ผู้บงคับชุดปฏิบติการรบพิเศษ ชันยศ ร้ อยโท ู ั ุ ฏ ั ้ 3. นายสิบยุทธการ ชันยศ จ่าสิบเอก ไม่จํากัดเหล่าแต่ต้องผ่านการฝึ ก ความ ้ ชานาญการของนายสิบยุทธการ ชป.รพศ.มาก่่อน ํ ิ ป 4. นายสิบการข่าว ชันยศ จ่าสิบเอก ไม่จํากัดเหล่าแต่ต้องผ่านการฝึ ก ความ ้ ชํานาญการของนายสิบการข่าว ชป.รพศ.มาก่อน 5. พนกงานวทยุ เปนตาแหนงทไมจากดเหลาเชนกน ชนยศ สบเอก พนกงาน 5 พนักงานวิทย เป็ นตําแหน่งที่ไม่จํากัดเหล่าเช่นกัน ชันยศ สิบเอก พนักงาน ้ วิทยุจะต้ องปฏิบติงาน รับ - ส่ง วิทยุ โดยใช้ รหัสได้ ั
  • 33. หน้ าที่ของชุุดปฏิบตการรบพิเศษ ฏ ั ิ • นายสิิบพยาบาล ชันยศ สิิบเอกเหล่าแพทย์์ปฏิิบติงานในหน้้ าที่ีเสนารัักษ์์ ของ ั้ ั ใ ชป.รพศ. • นายสิบอาวุธหนัก และ นายสิบอาวุธเบา ชันยศ สิบเอกไม่จํากัดเหล่า ทํา ้ หนาเปนครูฝกในการยิง เครื่ องยิงลกระเบิดหนัก ยงจรวดแซม หน้ าเป็ นครฝึ กในการยง เครองยงลูกระเบดหนก ยิงจรวดแซม เป็ นผู้ตรวจการหน้ าปรับการยิงเครื่ องยิงลูกระเบิดและปื นใหญ่สนาม • นายสิบการช่างและทําลาย ชันยศ สิบเอกไม่จํากัดเหล่าทําหน้ าที่ผลิตและกู้ ้ กับระเบิดแสวงเครื่ อง ตลอดจนอุปกรณ์การขจัดขัดขวางทําลายล้ างฝ่ ายตรง ุ ข้ าม
  • 34. การปฏิบตของสงครามนอกแบบ ฏ ั ิ 1. 1 การเตรีี ยมการทางจิิตวิิทยา 2. การติดต่อเริ่ มแรก การตดตอเรมแรก 3. การแทรกซึมเข้ า 4. การจัดตัง้ 5. ส ิ ส ้ ํ ั 5 การเสรมสรางกาลง 6. การใช้ กองโจรทําการรบ การใชกองโจรทาการรบ 7. การปลดปล่อย
  • 35.
  • 37. 37
  • 38. ความหมายของสงครามอสมมาตร “สงครามอสมมาตรคืือความขัดแย้้ งระหว่างคูปรปั กษ์ ที่ ่ พยายามหาจดอ่ อนของอีกฝ่ ายหนึ่ง แล้ วใช้ ยทธศาสตร์ พยายามหาจุดออนของอกฝายหนง แลวใชยุทธศาสตร และยุทธวิธีของสงครามนอกแบบเข้ าดําเนินการเพื่อ ชดเชยจุดอ่อนของตน ก่อให้ เกิดประโยชน์กบฝ่ ายของตน ให้ ั ฝ่ ายตนเป็ นฝ่ ายดํํารงความริิ เริ่ิ ม และมีีเสรีี ในการปฏิิบติ โ ป็ ป ั โดย แสวงประโยชนจากจุดออนของฝายตรงขาม อันนําไปส่ แสวงประโยชน์จากจดอ่อนของฝ่ ายตรงข้ าม อนนาไปสู ความเท่ าเทียมกันในการทําสงคราม” 38
  • 42.
  • 46.
  • 48. เขียน BLOG การใช้ เวลา 9 ชม.ใน 1 วัน 0.75 ชม. http://www.wired.com เล่ มเกม 1 ชม. Social Networking 1.25 ชม. ขาว 2.5 ชม. ข่ าว 2 5 ชม ความบันเทิง 3.5 ชม.
  • 49. การรั บร้ ู ข้อมูลข่ าวสาร
  • 50. สงครามสารสนเทศ สิ่ งที่ เกี่ ียวข้้ องกับ ิ ี ั การตดสนใจของผู การตัดสินใจของผ้ นํา และผู้ท่ เกี่ยวข้ อง ี สิ่งที่เกี่ยวข้ องกับ สงครามสารสนเทศ ความเชื่อของผู้นํา ไมมอะไรมากไปกวาสงเหลาน ไม่ มีอะไรมากไปกว่ าสิ่งเหล่ านี ้ และผู เกยวของ และผ้ ท่ เกี่ยวข้ อง ี
  • 52. 52
  • 53. 53
  • 54.
  • 59.
  • 60. ความหมายของสงครามการเมือง •มีการสอนใน โรงเรี ยน เสนาธิการทหารบก •วิชาสงครามการเมือง http://www.geocities.ws/cgscsos/pwppt.pdf
  • 61. ลักษณะของสงครามการเมือง • การต่อสู้ ในด้้ านการเมืือง • การต่อสู้ ด้ านเศรษฐกิิจ ่ • การต่อสู้ ด้ านสังคมจิิตวิทยา ่ ั ิ 61
  • 62. การต่ อส้ ูในด้ านการเมือง • มุงบ่อนทําลายโดรงสร้้ างทางการเมืือง ระบบ แบบ ่ • แผนประสิทธิิภาพของฝ่ ายตรงข้้ าม ป ิ ฝ่ • มุงเสริิ มสร้้ างความมันคงของฝ่ ายตนและพันธมิิตร ่ ั่ ฝ่ ั 62
  • 63. การต่ อส้ ูด้านเศรษฐกิจ ฐ • มุงบ่อนทาลายความมนคงทางเศรษฐกิิจของฝ่ ายตรงข้้ าม ่ ่ ํ ั่ ฝ่ • ทาลายความเปนปกแผนของแรงงาน ทําลายความเป็ นปึ กแผ่นของแรงงาน • ทําลายฐานความมันคงทางการเงิน ่ • ทําลายทรัพยากร และการผลิต • ทาลายระบบวธการจดดาเนนงานทางเศรษฐกจ ทําลายระบบวิธีการจัดดําเนินงานทางเศรษฐกิจ • มุงเสริ มสร้ างความมันคงทางเศรษฐกิจของฝ่ ายตน และ ุ่ ่ ฐ พันธมิตร 63
  • 64. การต่ อส้ ูด้านสังคมจิตวิทยา • มุงบ่อนทําลายเกีียรติภมิของฝ่ ายตรงข้้ าม ่ ู • บุคคล, กลุมบุคคล ่ • หน่วยงานรััฐ + เอกชน ่ • ม่งเสรมสรางใช ปชช . เกิดศรัทธาในบคคล , มุ เสริ มสร้ างใช้ เกดศรทธาในบุคคล • กล่มบคคลและหน่วยงานของฝ่ ายเรา กลุ บุคคลและหนวยงานของฝายเรา 64
  • 65. สงครามการเมืองกับสงครามทางทหาร สงครามทางทหาร สงครามการเมืือง 1. เปาหมายเป็ นพื ้นที่ปฏิบติการ ้ ฏ ั 1. เปาหมายเป็ นบุคคล และพื ้นที่ ้ ุ แน่นอน ปฏิบติการไม่มีขอบเขตจํากัด ั ํ 2. กาหนดระยะเวลาค่อนข้้ างแน่นอน ่ ่ 2. ไ มีขีดจากัดเรืื่ องเวลาปฏิิบติการ ไม่่ ํ ั ป ั 3. กําลังพลหลักที่ใช้ เป็ นทหาร 3. กําลังพลที่ใช้ เป็ นจนท..ของรัฐ ประจําการ โดยทัวไป ่ 4. อาวุธทใชมอานาจทาลายทางวตถุ 4 อาวธที่ใช้ มีอํานาจทําลายทางวัตถ 4. ใชความคดเปนอาวุธเพอบอน 4 ใช้ ความคิดเป็ นอาวธเพื่อบ่อน และชีวิต ทําลายหรื อสร้ างสรรค์ด้านจิตใจ 65
  • 66. ขอบเขตของสงครามการเมือง 1. การต่อสู้ ด้ านอุดมการณ์์ ่ 2. การตอสู านการจัดตั 2 การต่อส้ ด้านการจดตง้ง 3. การตอสู านมวลชน 3 การต่อส้ ด้านมวลชน 4. การต่อสูู้ ด้ านกโล บาย 5. การต่อสู้ด้านการข่าว 6. การปฏิบติการจิตวิทยา และการประชาสัมพันธ์ ั 66
  • 67. การต่ อส้ ูด้านอุุดมการณ์ หมายถึง การต่อสู้ ทางความคิด ความศรััทธา ในระบอบการปกครองใน ึ ่ ิ ใ ป ใ ลทธนยม วิถีทางดําาเนินชีวีวิตของสังคมหนึงงกับอีกสังคมหนึ ลัทธินิยม วถทางดาาเนนชววตของสงคมหนงงกบอกสงคมหนง ่ ึ่ ึง ่่ หลักสําคัญ • ปลูกฝั งความเชื่อมันที่มีคณค่ายิ่งในสังคม ่ ุ • ให้ เป็ นสังคมที่มีคณธรรม มีระเบียบ วินย อดทน ประหยด เสียสละ ใหเปนสงคมทมคุณธรรม มระเบยบ วนย ั ประหยัด เสยสละ • มีความศรัทธา เชื่อถือในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริ ยิย์เป็ นประมุข 67
  • 68. การต่ อส้ ูด้านอุุดมการณ์ หมายถง การตอสู้ ทางความคด ความศรทธา ใ ึ ่ ิ ั ในระบอบการปกครองใน ป ใ ลัทธินิยม วิถีทางดําเนินชีวิตของสังคมหนึงกับอีกสังคมหนึง ่ ่ ความมุ่ งหมาย • เสริ มสร้ างความรู้ความเข้ าใจให้ ร้ ูเท่าทันอุบาย ลัทธิการเมืองที่เป็ นภัย • ให้ มีความเข้ าใจเกี่ยวกับลัทธิการปกครอง สามารถเปรี ยบเทียบได้ • เสริ มสร้ างกําลังใจในการต่อส้ เสรมสรางกาลงใจในการตอสู • ถ่ายทอดความรู้สกยึดมันในอุดมการณ์ ึ ่ 68
  • 69. การต่ อส้ ูด้านการจัดตัง ้ หมายถง การจดตงหนวยงาน หรอกลุ คนทมอุดมการณ์ตรงกัน หมายถึง การจัดตังหน่วยงาน หรื อกล่มคนที่มีอดมการณตรงกน ้ ขึ ้นเป็ นองค์กรที่มีระเบียบวินย และประสิทธิภาพ และรวมถึงการบ ั และบ่อนทําลายการจัดตังของฝ่ ทําฝายตรงข้ ามด้ วย ้ ความมุ่งหมาย • เพืื่อเป็ นพลังในการดาเนิินการตามวัตถุประสงค์์ท่ีกําหนดไว้้ ป็ ั ใ ํ ั ไ • เพื่อมิให้ ฝ่ายตรงข้ ามเข้ ามาจัดตัง้ แล้ วนําไปสนับสนนฝ่ ายตน เพอมใหฝายตรงขามเขามาจดตง แลวนาไปสนบสนุนฝายตน • เพื่อดึงกล่มชนที่ฝ่ายตรงข้ าม จัดตังไว้ ให้ กลับมาสนับสนนฝ่ าย เ ลุ น ร ้ ไวใ ล ม สน สนุน เรา 69
  • 70. การต่ อส้ ูด้านการจัดตัง ้ แบบของการจดตง แบบของการจัดตัง 2 แบบ ้ 1. การจัดตังหน่วยงานหรื อองค์การโดยทางราชการ ้ 1.1 ทางราชการเป็ นผู้อํานวยการจัดตังอย่างเปิ ดเผย เช่น ทสปช. ้ สสชบ. ทพ. ฯลฯ 1.2 ทางราชการเป็ นผู้สนับสนุนเอกชนให้ จดตังขึ ้น เช่น สมาคม ั ้ แม่บ้ านกองทัพบก ฯลฯ 2. การจดตงโดยประชาชนรวมตวจดตงขนเอง 2 การจัดตังโดยประชาชนรวมตัวจัดตังขึ ้นเอง ้ ้ - การจัดตังตามสิทธิขนพื ้นฐาน อาจมีการจดทะเบียนเป็ นรูป ้ ั้ องค์การ เช่น สมาคม นสพ. แห่งประเทศไทย สมาคมนักข่าว เป็ นต้ น 70
  • 71. การต่ อส้ ูด้านมวลชน หมายถึง การดํําเนินการทุกวิถีทาง เพืื่อดึงมวลชนมาสนับสนุนฝ่ ายเรา ณ ึ ึ สถานที่ และ วันเวลา ตามที่ต้องการ จะโดยสมัครใจหรื อไม่ก็ตาม ทังนี ้้ เพอให้ เกิดพลังในการต่อสู้ที่เหนือกว่าฝ่ ายตรงข้ าม ความมุ่งหมาย • รวมพลังมวลชน เขาปฏบตการชวงชงความไดเปรยบ รวมพลงมวลชน เข้ าปฏิบตการช่วงชิงความได้ เปรี ยบ ัิ • ดึงพลังมวลชน จากองค์กรอื่น ๆ มาอยูภายใต้ การอํานวยการเดียวกัน ู่ • ให้ ฝ่ายตรงข้ ามต้ องทบทวน ยับยังการดดําเนินการต่าง ๆ ที่ไม่เป็ นผลดี ้ ต่อฝายเรา ฝ่ 71
  • 72. การจัดสร้ างพลังมวลชน การรวมกลุ่มชนให้้ เกิดพลัง แบ่ งกลุ่มชนได้้ เป็็ น 3 ประเภท ไ • กลุมชนทมความสมพนธกนทางสายโลหต ่ ี่ ี สั ั ์ ั ส โ ิ • กล่มชนที่มีความสัมพันธ์กนทางอาชีพ และธรกิจ กลุ ชนทมความสมพนธกนทางอาชพ และธุรกจ ั • กล่มชนที่มีแนวความคิดหรื ออดมการณ์ร่วมกัน กลุ ชนทมแนวความคดหรออุดมการณรวมกน - ถ้ าเราสามารถควบคุมแนวความคิด พฤติกรรมของผู้นํา ุ ฤ ู กลุมชนได้ เราก็สามารถควบคุมกลุมชนได้ ่ ่ 72
  • 73. การต่ อส้ ูด้านกโลบาย หมายถึง การดํําเนินการโดยใช้้ กลวิธี หรืื อกลอุบายทัง้ ปวง ด้้ วยวิธีการอัน ึ โ ใ ชาญฉลาดเพื่อทําให้ ฝ่ายตรงข้ ามเข้ าใจผิดและตัดสินใจปฏิบตการอย่าง ญ ฏ ัิ ผิดพลาด ความมุ่งหมาย • ให้ ฝ่ายเราชนะโดยมีการสญเสียน้ อยที่สด โดย ใหฝายเราชนะโดยมการสูญเสยนอยทสุ – ลวงให้ ฝ่ายตรงข้ ามเกิดความสับสน – ลดขีดความสามารถของฝ่ ายตรงข้ าม – บันทอนความจงรัักภักดีี ขวัญ และวิินย ั่ ั ั ั 73
  • 74. การดําเนินการต่ อส้ ู • ใ ้ มาตรการลวง ใช้ • ใช้ มาตรฐานการข่มข่ ใชมาตรฐานการขมขู • การสร้ างความขัดแย้ ง แตกแยก การสรางความขดแยง • การบ่อนทําลายชื่อเสียง เกียรติยศ และความน่าเชื่อถือ • มาตรการถ่วงการดําเนินงาน • ดําเนินการลบล้ างด้ วยการดําเนินการสงครามนอกแบบ 74
  • 75. การปฏิบตการข่ าว ฏ ั ิ หมายถึง การดํําเนิินการทุกวิิธี เพืื่อใ ้ ได้้ ขาวที่ีต้ องการจากฝ่ ายอืื่นใ ้ มากทีี่สดใ ึ ให้ ่ ให้ ุ ใน ขณะเดียวกันต้ องปองกันมิให้ ฝ่ายอื่นได้ ขาวจากฝ่ ายเรา การ ้ ่ ดําเนินการดังกล่าวนี ้ต้ องกระทําโดยต่อเนื่องทังยามปกติ และยามสงคราม ้ ความมุ่ งหมาย เมืื่อทราบข่าวเกีี่ยวกับบุคคลข่ายงาน การดาเนิินงาน การ ่ ั ่ ํ • ติดต่อสื่อสาร การสนับสนุน ตลอดจนความเคลื่อนไหวและแผนการดําเนินงาน ุ ของฝ่ ายตรงข้ ามอย่างถูกต้ อง ทันเวลา • กําจัดบคคล โครงสร้ างและข่ายงานการข่าวของฝ่ ายตรงข้ าม กาจดบุคคล โครงสรางและขายงานการขาวของฝายตรงขาม • ปองกัน รักษา ความลับของฝ่ ายเรา ้ • รปภ .บุคคล เอกสาร สถานที่ฝ่ายเรา 75
  • 76. การ ปจว. และ ปชส. หมายถึง กิจกรรมทีี่ปฏิบตอย่างต่อเนืื่องตามแผนทีี่ ไ ้ วางไว้้ เพื่ือ ึ ัิ ได้ ไ เสริ มสร้ างความเชื่อถือศรัทธาในบุคคลและสถาบันตลอดจนความเข้ าใจ ุ อันดีระหว่างรัฐบาลกับประชาชนในชาติ วัตถุประสงค์ เพื่อ • สนับสนนการดําเนินงานของชาติ สนบสนุนการดาเนนงานของชาต • เผยแพร่กิจกรรมของรัฐบาล • ต่อต้ านการโฆษณาชวนเชื่อของฝ่ ายตรงข้ าม 76
  • 77. 77
  • 78. สงครามเสือสี ้ มีีการโพสต์์ ตามเว็บไซต์์ ต่าง โ ็ ไ • สีชมพบอกว่า อยาดงฟาตา สชมพูบอกวา อย่าดึงฟาตํ่า ้ • สีนํ ้าเงินบอกว่า ผมตามเนวินมาเฉยๆ สนาเงนบอกวา ผมตามเนวนมาเฉยๆ • สีแดงบอกว่า อย่ามาสองมาตรฐาน ฐ • สีเหลืองบอกว่า ผมมากู้ชาติ • สีเขียวหัวเราะแห้ งแล้ วบอกว่า ผมเอารถถังมาวิงเล่น" ่
  • 81. ฉากทัศน์ ท่ เลวร้ ายที่สุด เมื่อ (20 ก.พ. 53) ี
  • 89.
  • 90.
  • 92. สรุุ ปสงครามการเมือง • สงครามการเมืืองทีี่ผานมา มุงไ ี่การรักษาผลประโยชน์ของ ่ ่ ไปที ชาต ชาติ • ปั จจุบน สงครามการเมือง นันมีหลายระดับ ภายในรัฐ ระหว่าง ุ ั ้ รัฐกับรัฐ และ รัฐกับองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ • สงครามการเมือง สามารถใช้ ได้ ทงความรุนแรงและไม่รุนแรง ั้ • การสือสารทางการเมืือง ผ่านนวัตกรรมและเทคโนโลยีี ื่ ั โ โ สมยใหมเปนเครองมอหลงในการดาเนนสงครามการเมอง สมัยใหม่เป็ นเครื่ องมือหลังในการดําเนินสงครามการเมือง
  • 93. สรุุ ปสงครามการเมือง • การรับรู้ ของกลุมเปาหมายเป็็ นสิงสําคัญของสงครามการเมืือง ่ ้ ่ ํ • สงครามการเมือง ไม่มีรปแบบตายตัว มีความสลับซับซ้ อนใน สงครามการเมอง ไมมรูปแบบตายตว มความสลบซบซอนใน ตัวเอง ตามบริ บทของมันเอง • แนวทางที่จะเผชิญสงครามการเมืองที่ดีที่สดคือ การใช้ ุ วิจารณญาณ ของปั จเจก
  • 94. บทส่ งท้ าย • A politician will do anything to keep his job - even become a patriot. William Randolph Hearst