Anúncio
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Último(20)

Destaque(20)

Anúncio

Solar Cell in Thai.pdf

  1. Solar cell โ หลักการทางาน/ชนิดโซล่าเซลล์ By..Solarder (โซล่าเด้อ) อิสราวุธ ทองคา 088 294 9477 FB: โซล่าเด้อ ดีอีหลี
  2. หลักการทางานของโซล่าเซลล์
  3. ชนิดของแผงโซล่าเซลล์
  4. แผงที่มีอยู่ในท้องตลาดมีกี่อย่าง 1) แผงTier 1 เกรด A 2) แผงTier 1 เกรด B 3) แผงTier 1 ปลอม 4) แผงTier 2 เกรด A 5) แผงTier 2 เกรด B 6) แผงTier 3 เกรด A 7) แผงTier 3 เกรด B 8) แผง ของทิ้งที่ประสิทธิภาพไม่ได้นามาติดแบรนด์เทียร์1 ขาย
  5. ทดลองดูว่าเป็นอย่างไร?
  6. ประการตรงตอนทาใหม่ๆ
  7. เที่ยบสติกเกอร์ของปลอมกับของแท้
  8. ของแท้เอกสารที่ต้องได้มา
  9. ทำไมต้องใช้แผงโซลำร์เซลล์ Tier 1 • การจัดอันดับแผงโซลลาร์เซลล์ตามมาตรฐาน Tier 1 โดยบลูมเบิร์กนั้นเป็น ที่ยอมรับกันทั่วโลก ทาให้ยอดการสั่งซื้อแผงโซลาร์เซลล์จากบริษัทผู้ผลิต แบบ Tier 1 นั่นสูงที่สุด ทั้งนี้เพราะผู้ลงทุนจะสามารถมั่นใจได้ว่า นอกเหนือจากประสิทธิภาพตามกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐานแล้ว หาก อนาคตเกิดปัญหากับแผงโซลาร์เซลล์ในระยะยาวจะยังมีผู้ผลิตที่ที่คอยดูแล และบารุงรักษาให้ตลอดอายุที่รับประกันอย่างแน่นอน นอกจากนี้ โครงการ ใดหรือบริษัทใดเลือกใช้แผงโซลาร์เซลล์แบบ Tier1 มีโอกาสได้รับการ อนุมัติเงินกู้ได้ง่ายกว่าแผงมาตรฐานอื่นอีกด้วย • แผงโซลาร์เซลล์ระดับ Tier 1 คือแผงที่ผลิตจากบริษัทที่น่าเชื่อถือที่สุด • แผงโซลาร์เซลล์ระดับ Tier 2 คือแผงที่ผลิตจากบริษัทที่น่าเชื่อรองลงมษ • แผงโซลาร์เซลล์ระดับ Tier 3 คือแผงที่ผลิตจากบริษัทที่ไม่น่าไว้วางใจและมี ความเสี่ยงสูง โดยคุณภาพแผงโซลาร์เซลล์อาจไม่ได้มาตรฐาน หรือ บริษัทผู้ผลิตหรือติดตั้งอาจล้มละลายไปก่อนครบระยะรับประกัน
  10. รำยชื่อแผงโซลำร์เซลล์ เทียร์ 1 ไตรมำส 4 ปี 2563 Manufacturer Capacity Mkw. LONGi 35,200 Jinko 27,500 Trina Solar 23,650 JA Solar 16,500 Canadian Solar 15,400 Risen 13,860 Qcells 11,770 Suntech 11,000 GCL Systems 7,920 Talesun 7,700 First Solar 7,150 Eging 5,720 ZNShine 5,500 Seraphim 5,500 Haitai New Energy 5,500 Jolywood 3,300 SunPower/ Maxeon 3,080 Jinergy 2,970 Jenton 2,750 LG Electronics 2,640 VSUN Solar 2,310 Manufacturer Capacity Mkw. Waaree 2,200 Phono Solar 2,200 Neo Solar 1,980 REC Group 1,980 Hengdian 1,760 ET Solar 1,760 HT-SAAE 1,650 Adani 1,650 Renesola 1,650 Vikram 1,320 Boviet 1,320 Ulica 1,100 Hansol 660 Leapton 660 Goldi Solar 550 S-Energy 583 Heliene 429 Shinsung 330 Sharp 231 Swelect 154
  11. อุณหภูมิกับประสิทธิภาพแผ่นโซลาร์เซลล์
  12. กาลังไฟฟ้า = แรงดัน x กระแส
  13. ศักยภาพแดดในไทย 1 M² = 1,000W /Day 320 W = 2 M² 2 M² = 2,000 W/Day Capacity factor = 17% 320 x 24 x 17% = 1,300 W/Day สภาพแสง และการติดตั้ง
  14. ระบบเชื่อมต่อกับสายส่งของการไฟฟ้า และเป็นระบบผสมไฟฟ้า คืนทุนภายใน 5-7 ปี แต่ใช้ได้25-35 ปี ให้ผลตอบแทนสูงกว่า การฝากเงินในธนาคารมากกว่า 30 เท่า
  15. ON-Grid Inverter
  16. Hybrid system
  17. ระบบ Hybrid On – Off Grid ที่ ก้ำวหน้ำที่สุด
  18. Off-Grid Inverter
  19. ชนิดหม้อแปลงของอินเวอร์เตอร์
  20. ลักษณะคลื่น Output
  21. แบตเตอรี่
  22. แบตเตอร์รี่ธรรมดา คายประจุ 50% แบตเตอร์รี่ดีพไซเคิล คายประจุ 70%
  23. สุขภาพแบตเตอรี่
  24. แบตเตอร์รี่ที่ใช้อยู่ และที่จะมาในอนาคตอันใกล้
  25. อุปกรณ์ติดตั้ง
  26. ความรู้ไฟฟ้าพื้นฐานที่ต้องมี
  27.  กาลังไฟฟ้า (p) มีหน่วยเป็น วัตต์ (W)  แรงดันไฟฟ้า (E) มีหน่วยเป็น โวลท์ (V)  กระแสไฟฟ้า (I) มีหน่วยเป็น แอมป์ (A) ทั้ง 3 ค่า ด้านบน จะมีความสัมพันธ์กัน โดยสามารถเขียนเป็นสูตร สมการได้ดังนี้  กาลังไฟฟ้า = แรงดันไฟฟ้า x กระแสไฟฟ้า P = E I / W = V x A  กระแสไฟฟ้า = กาลังไฟฟ้า ÷ แรงดันไฟฟ้า I = P/E / A = W ÷ V  แรงดันไฟฟ้า = กาลังไฟฟ้า ÷ กระแสไฟฟ้า E = P/I / A = W ÷ V
  28. การต่อระบบ การต่ออนุกรม แรงดัน V. เพิ่ม แต่กระแส A. ไม่เพิ่ม การต่อขนาน แรงดัน V. ไม่เพิ่ม แต่กระแส A. เพิ่ม
  29. การต่อแบบผสมทั้ง อนุกรม และขนาน แรงดัน V. เพิ่ม กระแส A. เพิ่ม ตามการออกแบบ ระบบให้เหมาะสมกับ อินเวอร์เตอร์ และ กาลังการใช้งาน
  30. ปั้มน้าในระบบโซล่าเซลล์
  31. จุดคุ้มทุนของปั้มน้าเมื่อใช้ระบบโซล่าเซลล์ • ปั้มน้าใช้น้ามัน คืนทุนภายใน 1 ปี 6 เดือน • ปั้มน้าใช้ไฟฟ้า คืนทุนภายใน 5 ปี 6 เดือน
  32. ระบบปั้มน้าที่ใช้ในระบบโซล่าเซลล์ ระบบ ปั้มน้า Motor ข้อดี ข้อด้อย AC ซิงเกิลเฟส หอยโข่ง,ซับเมิส ทุกชนิด ACใช้ อินเวอร์เตอร์รับ แรงดันได้กว้าง หาซื้อง่ายราคาถูก/แพง ,รับแรงดันไฟได้กว้าง.มี แบบใช้ได้ทั้ง ac/dc ใช้อินเวอร์เตอร์, อุปกรณ์ มาก กินกระแสสูงเปลือง แผง ซ่อมยาก AC 3 เฟส หอยโข่ง และ ซับเมิส ทุกชนิด AC ใช้ อินเวอร์เตอร์รับ แรงดันได้กว้าง กินกระแสต่า, ใช้แผง น้อยก ใช้ไฟได้ทั้ง 1และ3 เฟส ac และไฟdc เป็น ไฮบริดได้ทั้ง On/Off ใช้อินเวอร์เตอร์ , มี อุปกรณ์มาก,ซ่อมยาก DC ไม่มีระบบ ควบคุม หอยโข่ง ซับเมิส บัสเลส อุปกรณ์น้อย ซ่อมยาก แปลงถ่าน อุปกรณ์น้อย เปลืองแปลงถ่าน DC มีระบบ ควบคุม หอยโข่ง ซับเมิส Ac 1/3 เฟส บัสเลส ทางานตามแรงดันไฟฟ้า ราคาแพง ทนทานสูง ซ่อมยาก AC / DC ไม่ บัสเลส (ไร้แปลง ใช้ไฟฟ้าได้ทั้ง ac/dc
  33. การติดตั้ง
  34. อุปกรณ์เชื่อมต่อ
  35. อุปกรณ์ความปลอดภัย
  36. การต่อตู้คอมไบน์เนอร์
  37. อุปกรณ์ที่จาเป็นต้องมีในการทาโซล่าเซลล์
  38. ระบบที่น่าจะประหยัดที่สุด Hybrid Dc - Ac
  39. การบารุงรักษาระบบโซลาร์เซลล์
  40. • ระบบเราเป็นระบบอะไร? • มีอุปกรณ์อะไรบ้าง? • ใช้งานอะไร ช่วงเวลาใด ? • จะปรับใช้งานกับอย่างอื่นได้อย่างไรบ้าง? • ต้องเพิ่มอุปกรณ์อะไรบ้าง? • งบประมาณเท่าไหร่? • จะคุ้มค่าแค่ไหน? • เราต้องมีความรู้อะไรบ้าง เพื่อการใช้งานที่มากขึ้น?
  41. ชุด กยท. แผง 330 w. 16 แผง
  42. แนวทางการปรับใช้ให้คุ้มค่ามากขึ้น 1) ปรับให้เป็นระบบออนกริดขนาด 5.28 Kw. จะผลิตไฟฟ้าใช้ได้วันละ ประมาณ 20 หน่วย 2) ปรับเป็นระบบ Off Grid 3) ปรับเป็นระบบปั้มน้า 3Hp.3 Ph. 220 V. จะสามารถทางานรดสวน ได้ทั้งวัน ดันน้าได้ไม่น้อยกว่าวันละ 200,000 ลิตร ในแนวราบ
  43. โซล่าเซลล์จงเจริญ สวัสดี...อย่าลืมโซล่าเด้อ....
Anúncio