SlideShare a Scribd company logo
Enviar pesquisa
Carregar
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
Denunciar
Compartilhar
Tongsamut vorasan
tongsamut Vorasan em tongsamut
Seguir
•
2 gostaram
•
3,155 visualizações
Educação
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
•
2 gostaram
•
3,155 visualizações
Tongsamut vorasan
tongsamut Vorasan em tongsamut
Seguir
Denunciar
Compartilhar
Educação
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
1 de 114
Baixar agora
Recomendados
บทสวดมนต์ por
บทสวดมนต์
Jintawat PornmanatsaweeKul
10.3K visualizações
•
14 slides
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์ por
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
Patchara Kornvanich
25.3K visualizações
•
59 slides
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ por
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
Kiat Chaloemkiat
13.4K visualizações
•
28 slides
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย por
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
Sarod Paichayonrittha
12.5K visualizações
•
208 slides
กรรมฐาน (เอกสาร ๑) por
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
6.8K visualizações
•
42 slides
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล por
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
Chavalit Deeudomwongsa
273.3K visualizações
•
263 slides
Mais conteúdo relacionado
Mais procurados
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่) por
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
บุญเจ้าไม่เคย ใครไหนเล่าจะช่วยเจ้าได้
13.5K visualizações
•
31 slides
การปกครองคณะสงฆ์ por
การปกครองคณะสงฆ์
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
22.5K visualizações
•
48 slides
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท por
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
Theeraphisith Candasaro
3.5K visualizações
•
58 slides
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก por
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
Theeraphisith Candasaro
66.8K visualizações
•
8 slides
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย por
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
7.6K visualizações
•
27 slides
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐ por
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
4.9K visualizações
•
18 slides
Mais procurados
(20)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่) por บุญเจ้าไม่เคย ใครไหนเล่าจะช่วยเจ้าได้
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
บุญเจ้าไม่เคย ใครไหนเล่าจะช่วยเจ้าได้
•
13.5K visualizações
การปกครองคณะสงฆ์ por พระอภิชัช ธมฺมโชโต
การปกครองคณะสงฆ์
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
•
22.5K visualizações
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท por Theeraphisith Candasaro
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
Theeraphisith Candasaro
•
3.5K visualizações
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก por Theeraphisith Candasaro
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
Theeraphisith Candasaro
•
66.8K visualizações
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย por วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
7.6K visualizações
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐ por วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
4.9K visualizações
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่ por Theeraphisith Candasaro
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
Theeraphisith Candasaro
•
2.2K visualizações
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf por PUise Thitalampoon
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
PUise Thitalampoon
•
251 visualizações
๙ พระสูตร ปฐมโพธิกาล por Peerasak C.
๙ พระสูตร ปฐมโพธิกาล
Peerasak C.
•
1.8K visualizações
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ por อุษณีษ์ ศรีสม
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
อุษณีษ์ ศรีสม
•
156.4K visualizações
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ por Phatphong Mahawattano
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
Phatphong Mahawattano
•
4.1K visualizações
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี por วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
32K visualizações
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf por สุเมธี ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
สุเมธี ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
•
10.6K visualizações
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒ por วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
3.4K visualizações
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล) por Kiat Chaloemkiat
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
Kiat Chaloemkiat
•
21K visualizações
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน por Anchalee BuddhaBucha
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Anchalee BuddhaBucha
•
15.6K visualizações
คู่มือเข้าค่ายมัธยม(3วัน) por niralai
คู่มือเข้าค่ายมัธยม(3วัน)
niralai
•
2.2K visualizações
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น por bmcweb072
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
bmcweb072
•
5.3K visualizações
ศาสนาคริสต์ por นายวินิตย์ ศรีทวี
ศาสนาคริสต์
นายวินิตย์ ศรีทวี
•
20.7K visualizações
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา por พระอภิชัช ธมฺมโชโต
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
•
14.9K visualizações
Destaque
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘ por
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘
Tongsamut vorasan
244 visualizações
•
117 slides
วิปัสสนานัย เล่ม1 por
วิปัสสนานัย เล่ม1
Tongsamut vorasan
1.2K visualizações
•
369 slides
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool por
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
Tongsamut vorasan
700 visualizações
•
152 slides
กลอนวันเด็กแห่งชาติ por
กลอนวันเด็กแห่งชาติ
Tongsamut vorasan
476 visualizações
•
3 slides
หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557 por
หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557
Tongsamut vorasan
637 visualizações
•
4 slides
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18 por
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
Tongsamut vorasan
443 visualizações
•
105 slides
Destaque
(8)
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘ por Tongsamut vorasan
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘
Tongsamut vorasan
•
244 visualizações
วิปัสสนานัย เล่ม1 por Tongsamut vorasan
วิปัสสนานัย เล่ม1
Tongsamut vorasan
•
1.2K visualizações
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool por Tongsamut vorasan
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
Tongsamut vorasan
•
700 visualizações
กลอนวันเด็กแห่งชาติ por Tongsamut vorasan
กลอนวันเด็กแห่งชาติ
Tongsamut vorasan
•
476 visualizações
หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557 por Tongsamut vorasan
หนังสือนิมนต์เข้าปริวาส สมัชชาสงฆ์ไทย ปี 2557
Tongsamut vorasan
•
637 visualizações
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18 por Tongsamut vorasan
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
Tongsamut vorasan
•
443 visualizações
3 ตามรอยธรรม dhamatrail por Tongsamut vorasan
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
Tongsamut vorasan
•
843 visualizações
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice por Tongsamut vorasan
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
Tongsamut vorasan
•
817 visualizações
Similar a 10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
มุตโตทัย por
มุตโตทัย
Natthapol Prachumsan
501 visualizações
•
12 slides
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม por
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
niralai
11.3K visualizações
•
50 slides
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน por
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
Tongsamut vorasan
985 visualizações
•
232 slides
9 mantra por
9 mantra
kruchayanon
3.1K visualizações
•
92 slides
คู่มือพุทธบริษัท por
คู่มือพุทธบริษัท
ว่าที่ ร.ต.ณัฐส? แก้วใจ
1.6K visualizações
•
48 slides
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th por
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
268 visualizações
•
567 slides
Similar a 10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
(20)
มุตโตทัย por Natthapol Prachumsan
มุตโตทัย
Natthapol Prachumsan
•
501 visualizações
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม por niralai
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
niralai
•
11.3K visualizações
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน por Tongsamut vorasan
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
Tongsamut vorasan
•
985 visualizações
9 mantra por kruchayanon
9 mantra
kruchayanon
•
3.1K visualizações
คู่มือพุทธบริษัท por ว่าที่ ร.ต.ณัฐส? แก้วใจ
คู่มือพุทธบริษัท
ว่าที่ ร.ต.ณัฐส? แก้วใจ
•
1.6K visualizações
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th por Tongsamut vorasan
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
•
268 visualizações
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th por Tongsamut vorasan
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
•
124 visualizações
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒ por dentyomaraj
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
dentyomaraj
•
2K visualizações
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า por watpadongyai
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
watpadongyai
•
1.9K visualizações
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว por dentyomaraj
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
dentyomaraj
•
813 visualizações
ชาติสุดท้าย por Boonlert Aroonpiboon
ชาติสุดท้าย
Boonlert Aroonpiboon
•
519 visualizações
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว por Tum Nuttaporn Voonklinhom
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
Tum Nuttaporn Voonklinhom
•
799 visualizações
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว por Poramate Minsiri
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
Poramate Minsiri
•
1.6K visualizações
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว por Kaiwan Hongladaromp
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
Kaiwan Hongladaromp
•
364 visualizações
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม por Tongsamut vorasan
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
Tongsamut vorasan
•
360 visualizações
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา por New Nan
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
New Nan
•
1.2K visualizações
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี por Panuwat Beforetwo
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
Panuwat Beforetwo
•
1.1K visualizações
๐๕ โธตกปัญหา.pdf por maruay songtanin
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
maruay songtanin
•
3 visualizações
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว por Rachabodin Suwannakanthi
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
Rachabodin Suwannakanthi
•
1.7K visualizações
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf por maruay songtanin
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
•
33 visualizações
Mais de Tongsamut vorasan
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒ por
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
Tongsamut vorasan
1.1K visualizações
•
100 slides
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ por
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Tongsamut vorasan
590 visualizações
•
1 slide
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา por
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
684 visualizações
•
90 slides
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ por
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
490 visualizações
•
177 slides
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์ por
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
303 visualizações
•
124 slides
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ por
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
Tongsamut vorasan
237 visualizações
•
34 slides
Mais de Tongsamut vorasan
(20)
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒ por Tongsamut vorasan
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
Tongsamut vorasan
•
1.1K visualizações
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ por Tongsamut vorasan
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Tongsamut vorasan
•
590 visualizações
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา por Tongsamut vorasan
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
•
684 visualizações
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ por Tongsamut vorasan
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
•
490 visualizações
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์ por Tongsamut vorasan
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
•
303 visualizações
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ por Tongsamut vorasan
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
Tongsamut vorasan
•
237 visualizações
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต por Tongsamut vorasan
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
Tongsamut vorasan
•
257 visualizações
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม por Tongsamut vorasan
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
Tongsamut vorasan
•
124 visualizações
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔ por Tongsamut vorasan
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
Tongsamut vorasan
•
477 visualizações
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4) por Tongsamut vorasan
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
Tongsamut vorasan
•
431 visualizações
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา por Tongsamut vorasan
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
•
396 visualizações
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ por Tongsamut vorasan
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
Tongsamut vorasan
•
150 visualizações
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018 por Tongsamut vorasan
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
Tongsamut vorasan
•
250 visualizações
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ por Tongsamut vorasan
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
Tongsamut vorasan
•
72 visualizações
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา por Tongsamut vorasan
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
•
243 visualizações
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ por Tongsamut vorasan
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
Tongsamut vorasan
•
18.1K visualizações
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น por Tongsamut vorasan
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
Tongsamut vorasan
•
101 visualizações
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท por Tongsamut vorasan
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
Tongsamut vorasan
•
1.6K visualizações
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2 por Tongsamut vorasan
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
Tongsamut vorasan
•
1.5K visualizações
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ por Tongsamut vorasan
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
Tongsamut vorasan
•
843 visualizações
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
2.
พุ ท ธวจน สาธยายธรรม
3.
TITUTE
4.
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต
อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง Homage to the Blessed, Noble and Perfectly, Enlighten One.
5.
บทน�ำ ประโยชน์ของกำรสำธยำยธรรม
๑. เพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม (หนึงในเหตุห้าประการเพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม) ่ อํ. ปญฺจก. ๒๒/๑๖๑/๑๕๕ ๒. เป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ (หนึงในธรรมให้ถึงวิมุตติห้าประการ) ่ อํ ปญฺจก. ๒๒/๒๓/๒๖ ๓. เป็นอาหารของความเป็นพหูสูตร อํ. ทสก. ๒๔/๑๒๐/๗๓ ๔. เป็นองค์ประกอบของการเป็นบริษัทที่เลิศ อํ. ทุก. ๒๐/๖๘/๒๙๒ ๕. ทําให้ไม่เป็นมลทิน อํ. อฎฺก. ๒๓/๑๔๙/๑๐๕ ๖. เป็นบริขารของจิตเพื่อความไม่มีเวรไม่เบียดเบียน (หนึงในห้าบริขารของจิต) ่ ม. มู. ๑๓/๕๐๐/๗๒๘ ๗. เป็นเหตุให้ละความง่วงได้ (หนึงในแปดวิธีละความง่วง) ่ อํ. สตฺตก. ๒๓/๗๓/๕๘
6.
วิธีกำรสำธยำยธรรมให้แจ่มแจ้งได้นำน
ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่ถูกเหนี่ยวรั้ง ย่อมรู้ย่อมเห็นอุบายเป็นเครื่องสลัด ออกซึ่งนิวรณ์ทั้งห้า (กามราคะ, พยาบาท, ถีนมิทธะ, อุทธัจจกุกกุจจะ, วิจิกิจฉา) ทําให้รู้เห็นประโยชน์ตามที่เป็นจริง สํ. มหาวาร. ๑๙/๑๖๖/๖๐๓ ข้อควรระวังและวิธีป้องกันในกำรสำธยำยธรรม .....อี ก อย่ า งหนึ่ง , ภิ ก ษุ ทํ า การสาธยายธรรม ตามที่ ฟ ั ง ได้เรียนมาโดยพิสดาร, แต่เธอไม่รู้ทั่วถึงความหมายอันยิ่งแห่งธรรมนันๆ ้ ด้วยปัญญา. ภิกษุนี้ เราเรียกว่า ผู้มากด้วยการสวด (นักสวด) ยังมิใช่ ธรรมวิหารี (ผู้อยู่ด้วยธรรม).... ....เธอไม่ ใช้ วั นทั้ ง วั น ให้ เปลื อ งไปด้ ว ยการเรี ย นธรรมนั้น ๆ ไม่เริดร้างจากการหลีกเร้น, ประกอบตามซึ่งธรรมเป็นเครื่องสงบใจ ในภายในเนืองๆ. ภิกษุอย่างนี้แล ชื่อว่า ธรรมวิหารี (ผู้อยู่ด้วยธรรม).... อํ. ปญฺจก. ๒๒/๙๙-๑๐๐/๗๓-๗๔
7.
รวบรวมโดย: พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
(วัดนาป่าพง) พระไพบูลย์ อภิปุณฺโณ (วัดป่าดอนหายโศก) พระชัยณรงค์ ถาวโร (วัดนาป่าพง) รูปเล่มโดย: คณะสงฆ์วัดนาป่าพง พิมพ์ครั้งที่ ๑ : ธันวาคม ๒๕๕๒ ๓,๕๐๐ เล่ม พิมพ์ครั้งที่ ๒ : มกราคม ๒๕๕๓ ๕,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ครั้งที่ ๓ : มกราคม ๒๕๕๓ ๑๐,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ครั้งที่ ๔ : กันยายน ๒๕๕๓ ๑๐,๐๐๐ เล่ม
8.
สำรบั ญ ๑๐
บทสวด ระลึกถึงพระพุทธเจ้า 1๔ บทสวด ระลึกถึงพระธรรม 1๖ บทสวด ระลึกถึงพระสงฆ์ 1๙ บทสวด แก้ความหวาดกลัว ๒๒ บทสวด ปฏิจจสมุปบาท ๒๙ บทสวด อริยมรรคมีองค์แปด ๔๔ บทสวด ความสิ้นสุดแห่งโลก ๔๖ บทสวด อธิษฐานความเพียร ๕๑ บทสวด ละนันทิ ๕๓ บทสวด ข้อปฏิบตอนไม่เสือมเสีย ั ิั ่ ๖๓ บทสวด อานาปานสติ ๘๑ บทสวด เพื่อผู้เจ็บไข้ ๘๕ บทสวด ที่สุดแห่งทุกข์ ๘๘ บทสวด อินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศ ๙๒ บทสวด ก่อนนอน ๙๕ บทสวด ธรรมวินัยคือศาสดา ๙๗ บทสวด พึ่งตนพึ่งธรรม ๙๙ บทสวด ปัจฉิมวาจา ๑๐๐ การเจริญเมตตา ๑๐๕ ค�าชี้ชวนวิงวอน
10.
....ภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอีก พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี องค์ใดองค์หนึงซึงควรแก่ตาแหน่งครู
หาได้แสดงธรรมแก่ภกษุไม่เลย ่ ่ ํ ิ แต่เธอกระทําการ “สาธยายธรรม” ตามที่ได้ฟังได้เรียนไว้แล้วโดย พิสดาร ภิกษุนนย่อมรู้แจ้งอรรถรู้แจ้งธรรมในธรรมนัน โดยอาการที่ ั้ ้ ตนกระทําการสาธยายนัน ความปราโมทย์ยอมเกิดแก่เธอผูรแจ้ง ้ ่ ้ ู้ อรรถรูแจ้งธรรม ความอิมใจ (ปิต)ิ ย่อมเกิดแก่เธอผูปราโมทย์แล้ว ้ ่ ้ กายของเธอผูมใจประกอบด้วยปีติ ย่อมสงบระงับ เธอผูมกายสงบ ้ ี ้ ี ระงับแล้ว ย่อมเสวยความสุข จิตของเธอผูมความสุข ย่อมตังมัน ้ ี ้ ่ นีคือธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติข้อที่สาม.... ้ อํ. ปญฺจก. ๒๒/๒๓/๒๖, ....โมคคัลลานะ เพราะเหตุนนแหละ เมื่อเธอมีสัญญาอย่างไรอยู่ ั้ ความง่วงนันย่อมครอบงําได้ เธอพึงทําไว้ในใจซึงสัญญานันให้มาก ้ ่ ้ ข้อนีจะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนันได้ ถ้าเธอยังละไม่ได้ แต่นนเธอพึง ้ ้ ั้ ตรึกตรองพิจารณาถึงธรรมตามทีตนได้สดับแล้ว ได้เรียนมาแล้วด้วยใจ ่ ข้อนีจะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนันได้ ถ้ายังละไม่ได้ แต่นนเธอพึง ้ ้ ั้ “สาธยายธรรม” ตามทีตนได้สดับมาแล้วได้เรียนมาแล้วโดยพิสดาร ่ ข้อนีจะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนันได้.... ้ ้ อํ. สตฺตก. ๒๓/๘๗/๕๘
11.
บทสวดระลึ ก ถึ
ง พระพุ ท ธเจ้ำ สาธยายธรรม k อิธะ ตะถำคะโต โลเก อุปปัชชะติ ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้ อะระหัง เป็นผู้ไกลจากกิเลส สัมมำสัมพุทโธ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง วิชชำจะระณะสัมปันโน เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ สุคะโต เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี โลกะวิทู เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง 10
12.
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสำระถิ
เป็นผู้สามารถฝึกคนที่ควรฝึก อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า สัตถำ เทวะมะนุสสำนัง เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พุทโธ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยธรรม ภะคะวำ เป็นผูมความจําเริญ จําแนกธรรมสังสอนสัตว์ ้ ี ่ โส อิมัง โลกัง ตถาคตนันทําให้แจ้งซึ่งโลกนี้ ้ สะเทวะกัง สะมำระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง๎ สัสสะมะณะพ๎รำห๎มะณิง กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ 11
13.
ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง
สาธยายธรรม เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ สะยัง อภิญญำ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว สัจฉิกัต๎วำ ปะเวเทสิ สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม โส ธัมมัง เทเสสิ ตถาคตนันแสดงธรรม ้ อำทิกัล๎ยำณัง ไพเราะในเบื้องต้น มัชเฌกัล๎ยำณัง ไพเราะในท่ามกลาง ปะริโยสำนะกัล๎ยำณัง ไพเราะในที่สุด 12
14.
สำตถัง สะพ๎ยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง
พ๎รัห๎มะจะริยัง ปะกำเสติ ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือ แบบแห่งการปฏิบัติอันประเสริฐ บริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง พร้อมทั้งอรรถะ พร้อมทั้งพยัญชนะ ดังนี้ ม. อุปริ. ๑๔/๑๗/๑๖ hhh 13
15.
บทสวดระลึ ก ถึ
ง พระธรรม สาธยายธรรม k ส๎วำกขำโต ภะคะวะตำ ธัมโม พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสไว้ดีแล้ว สันทิฏฐิโก เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง อะกำลิโก เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ ไม่จํากัดกาล เอหิปัสสิโก เป็นสิงทีควรกล่าวกับผูอนว่า ท่านจงมาดูเถิด ่ ่ ้ ื่ โอปะนะยิโก เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว 14
16.
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ
เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ดังนี้ สํ. มหาวาร. ๑๙/๔๒๗/๑๔๑๒ hhh 15
17.
บทสวดระลึ ก ถึ
ง พระสงฆ์ สาธยายธรรม k สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว ญำยะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรม เป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว 16
18.
สำมีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติสมควรแล้ว ยะทิทัง ได้แก่บุคคลเหล่านีคือ ้ จัตตำริ ปุริสะยุคำนิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลำ คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวได้แปดบุรุษ เอสะ ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ นันแหละ คือสงฆ์สาวก ่ ของพระผู้มีพระภาคเจ้า อำหุเนยโย เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานํามาบูชา ปำหุเนยโย เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ 17
19.
ทักขิเณยโย
สาธยายธรรม เป็นสงฆ์ควรรับทักษิณาทาน อัญชะลิกะระณีโย เป็นสงฆ์ที่บุคคลทั่วไปจะพึงทําอัญชลี อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสำติ เป็นสงฆ์ที่เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้ สํ. มหาวาร. ๑๙/๔๒๗/๑๔๑๒ hhh 18
20.
บทสวดแก้ ค วำมหวำดกลั
ว k อะรั ญ เญ รุ ก ขะมู เ ล วำ สุ ญ ญำคำเรวะ ภิกขะโว ภิกษุทั้งหลาย เมื่อเธอทั้งหลายอยู่ในป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่ในเรือนว่างก็ตาม อะนุสสะเรถะ สัมพุทธัง ภะยัง ตุมหำกัง โน สิยำ พึงระลึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเถิด ความกลัวก็จะไม่พึงมีแก่พวกเธอทั้งหลาย โน เจ พุทธัง สะเรยยำถะ โลกะเชฏฐัง นะรำสะภัง แต่ถ้าเธอทั้งหลาย ระลึกถึงพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้เจริญแห่งโลก เป็นผู้ประเสริฐ แห่งนรชน มิได้ไซร้ 19
21.
อะถะ ธัมมัง สะเรยยำถะ
นิยยำนิกัง สาธยายธรรม สุเทสิตัง ก็พึงระลึกถึงพระธรรม อันเป็นเครื่องนําออกจากทุกข์ ที่เราแสดงไว้ดีแล้วเถิด โน เจ ธัมมัง สะเรยยำถะ นิยยำนิกัง สุเทสิตัง แต่ถ้าเธอทั้งหลาย ระลึกถึงพระธรรม อันเป็นเครื่องนําออกจากทุกข์ ที่เราแสดงไว้ดีแล้ว มิได้ไซร้ อะถะ สังฆัง สะเรยยำถะ ปุ ญญั ก เขตตัง อะนุตตะรัง ก็พึงระลึกถึงพระสงฆ์ ผู้เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่าเถิด 20
22.
เอวัง พุทธัง สะรันตำนง
ธัมมัง สังฆัญจะ ั ภิกขะโว ภิกษุทั้งหลาย เมื่อเธอทั้งหลาย ระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ ภะยัง วำ ฉัมภิตัตตัง วำ โลมะหังโส นะ เหสสะตีติ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ความขนพองสยองเกล้าก็ดี จักไม่มีเลย ดังนี้. สํ. มหาวาร. ๑๙/๔๒๗/๑๔๑๒ hhh 21
23.
บทสวด ปฏิ จ
จสมุ ป บำท สาธยายธรรม k อิธะ ภิกขะเว อะริยะสำวะโก ปะฏิจจะ- สะมุปปำทัญเญวะ สำธุกัง โยนิโส มะนะสิกะโรติ ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ย่อมกระทําไว้ในใจโดยแยบคายเป็นอย่างดี ซึ่งปฏิจจสมุปบาทนันเทียว ดังนี้ว่า ่ อิมัส๎มิง สะติ อิทัง โหติ ด้วยอาการอย่างนี้ เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้ย่อมมี อิมัสสุปปำทำ อิทัง อุปปัชชะติ เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนีจึงเกิดขึ้น ้ อิมัส๎มิง อะสะติ อิทัง นะ โหติ เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ย่อมไม่มี 22
24.
อิมัส๎îสะ นิโรธำ อิทัง
นิรุชฌะติ เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนีจึงดับไป ้ ยะทิทัง ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ อะวิชชำปัจจะยำ สังขำรำ เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย สังขำระปัจจะยำ วิญญำณัง เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ วิญญำณะปัจจะยำ นำมะรูปัง เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป นำมะรูปะปัจจะยำ สะฬำยะตะนัง เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ 23
25.
สะฬำยะตะนะปัจจะยำ ผัสโส
สาธยายธรรม เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ผัสสะปัจจะยำ เวทะนำ เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เวทะนำปัจจะยำ ตัณหำ เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ตัณหำปัจจะยำ อุปำทำนัง เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน อุปำทำนะปัจจะยำ ภะโว เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ภะวะปัจจะยำ ชำติ เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ชำติ ป ั จ จะยำ ชะรำมะระณัง โสกะปะริ - เทวะทุกขะโทมะนัสสุปำยำสำ สัมภะวันติ 24
26.
เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกะ-
ปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสะทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ สะมุทะโย โหติ ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้ อะวิ ช ชำยะเต๎ ว วะ อเสสะวิ ร ำคะนิ โ รธำ สังขำระนิโรโธ เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานันนันเทียว จึงมีความดับ ้ ่ แห่งสังขาร สังขำระนิโรธำ วิญญำณะนิโรโธ เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ 25
27.
วิญญำณะนิโรธำ นำมะรูปะนิโรโธ
สาธยายธรรม เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป นำมะรูปะนิโรธำ สะฬำยะตะนะนิโรโธ เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ สะฬำยะตะนะนิโรธำ ผัสสะนิโรโธ เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ผัสสะนิโรธำ เวทะนำนิโรโธ เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา เวทะนำนิโรธำ ตัณหำนิโรโธ เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา 26
28.
ตัณหำนิโรธำ อุปำทำนะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน อุปำทำนะนิโรธำ ภะวะนิโรโธ เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ภะวะนิโรธำ ชำตินิโรโธ เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ชำตินิโรธำ ชะรำมะระณัง โสกะปะริเทวะ- ทุกขะโทมะนัสสุปำยำสำ นิรุชฌันติ เพราะมีความดับแห่งชาตินนแล ชรามรณะ ั่ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสะ ทั้งหลายจึงดับสิ้น 27
29.
เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ
สาธยายธรรม นิโรโธ โหตีติ ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีิ ด้วยอาการอย่างนี้ ดังนี้ สํ. นิทาน. ๑๖/๘๕/๑๕๙ hhh 28
30.
บทสวด อริ ย
มรรคมี อ งค์ แ ปด k กะตะมัญจะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคำมินี ปะฏิปะทำ อะริยะสัจจัง ภิกษุทั้งหลาย ก็อริยสัจ คือหนทาง เป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า อะยะเมวะ อะรโิ ย อัฏฐังคิโก มัคโค เสยยะถีทัง คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง องค์แปด คือ สัมมำทิฏฐิ สัมมำสังกัปโป ความเห็นชอบ ความดําริชอบ 29
31.
สาธยายธรรม สัมมำวำจำ สัมมำกัมมันโต สัมมำอำชีโว
วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ สัมมำวำยำโม สัมมำสะติ สัมมำสะมำธิ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ กะตะมำ จะ ภิกขะเว สัมมำทิฏฐิ ภิกษุทั้งหลาย ความเห็นชอบเป็นอย่างไร ยัง โข ภิกขะเว ทุกเข ญำณัง ภิกษุทั้งหลาย ความรู้ในทุกข์ ทุกขะสะมุทะเย ญำณัง ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ทุกขะนิโรเธ ญำณัง ความรู้ในความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ 30
32.
ทุกขะนิโรธะคำมินิยำ ปะฏิปะทำยะ ญำณัง
ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับ ไม่เหลือแห่งทุกข์ อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมำทิฏฐิ ภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมำสังกัปโป ภิกษุทั้งหลาย ความดําริชอบ เป็นอย่างไร เนกขัมมะสังกัปโป ความดําริในการออกจากกาม อัพ๎ยำปำทะสังกัปโป ความดําริในการไม่พยาบาท อะวิหิงสำสังกัปโป ความดําริในการไม่เบียดเบียน 31
33.
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว
สัมมำสังกัปโป สาธยายธรรม ภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่า ความดําริชอบ กะตะมำ จะ ภิกขะเว สัมมำวำจำ ภิกษุทั้งหลาย วาจาชอบเป็นอย่างไร มุสำวำทำ เวระมะณี เจตนาเป็นเหตุงดเว้น จากการพูดเท็จ ปิสุณำยะ วำจำยะ เวระมะณี เจตนาเป็นเหตุงดเว้น จากการพูดยุให้แตกกัน ผะรุสำยะ วำจำยะ เวระมะณี เจตนาเป็นเหตุงดเว้น จากการพูดหยาบ สัมผัปปะลำปำ เวระมะณี เจตนาเป็นเหตุงดเว้น จากการพูดเพ้อเจ้อ อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมำวำจำ ภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ 32
34.
กะตะโม จะ ภิกขะเว
สัมมำกัมมันโต ภิกษุทั้งหลาย การงานชอบเป็นอย่างไร ปำณำติปำตำ เวระมะณี เจตนาเป็นเหตุงดเว้น จากการฆ่าสัตว์ อะทินนำทำนำ เวระมะณี เจตนาเป็นเหตุงดเว้น จากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ กำเมสุ มิจฉำจำรำ เวระมะณี เจตนาเป็นเหตุงดเว้น จากการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมำกัมมันโต ภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่า การงานชอบ กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมำอำชีโว ภิกษุทั้งหลาย อาชีวะชอบเป็นอย่างไร 33
35.
อิธะ ภิกขะเว อะริยะสำวะโก
สาธยายธรรม มิจฉำอำชีวัง ปะหำยะ ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ละการหาเลี้ยงชีพที่ผิดเสีย สัมมำอำชีเวนะ ชีวิกัง กัปเปติ สําเร็จความเป็นอยูดวยการหาเลียงชีพทีชอบ ่ ้ ้ ่ อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมำอำชีโว ภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมำวำยำโม ภิกษุทั้งหลาย ความเพียรชอบเป็นอย่างไร อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ อะนุปปันนำนัง ปำปะกำนัง อะกุสะลำนัง ธัมมำนัง อะนุปปำทำยะ ฉันทัง ชะเนติ วำยะมะติ วิริยัง อำระภะติ จิตตัง ปัคคัณหำติ ปะทะหะติ 34
36.
ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิด แห่งอกุศลธรรมอันเป็นบาปทั้งหลาย ที่ยังไม่ได้บังเกิด อุปปันนำนง ปำปะกำนง อะกุสะลำนัง ั ั ธัมมำนง ปะหำนำยะ ฉันทัง ชะเนติ ั วำยะมะติ วิริยัง อำระภะติ จิตตัง ปัคคัณหำติ ปะทะหะติ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสีย ซึ่งอกุศลธรรมอันเป็นบาปทั้งหลาย ที่บังเกิดขึ้นแล้ว 35
37.
อะนุปปันนำนง กุสะละนง ธัมมำนัง
ั ั สาธยายธรรม อปปำทำยะ ฉนทัง ชะเนติ วำยะมะติ วิริยัง ุ ั อำระภะติจิตตัง ปัคคัณหำติ ปะทะหะติ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้เพื่อการบังเกิดขึ้น แห่งกุศลธรรมทั้งหลายที่ยังไม่ได้บังเกิด อุปปันนำนัง กุสะลำนัง ธัมมำนัง ฐิติยำ อะสัมโมสำยะ ภิยโยภำวำยะ เวปุลลำยะ ภำวะนำยะ ปำริปูริยำ ฉันทัง ชะเนติ วำยะมะติ วิริยัง อำระภะติ จิตตัง ปัคคัณหำติ ปะทะหะติ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น 36
38.
ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ
แห่งกุศลธรรมทั้งหลายที่บังเกิดขึ้นแล้ว อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมำวำยำโม ภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ กะตะมำ จะ ภิกขะเว สัมมำสะติ ภิกษุทั้งหลาย ความระลึกชอบเป็นอย่างไร อิธ ะ ภิกขะเว ภิกขุ กำเย กำยำนุปัสสี วิหะระติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีปกติพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นําความพอใจ และความไม่พอใจ ในโลกออกเสียได้ 37
39.
เวทะนำสุ เวทะนำนุปัสสี วิหะระติ
สาธยายธรรม เป็นผู้มีปกติพิจารณาเห็นเวทนา ในเวทนาทั้งหลายอยู่ อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นําความพอใจ และความไม่พอใจ ในโลกออกเสียได้ จิตเต จิตตำนุปัสสี วิหะระติ เป็นผู้มีปกติพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นําความพอใจ และความไม่พอใจ ในโลกออกเสียได้ 38
40.
ธัมเมสุ ธัมมำนุปัสสี วิหะระติ
เป็นผูมปกติพจารณาเห็นธรรม ้ ี ิ ในธรรมทังหลายอยู่ ้ อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นําความพอใจ และความไม่พอใจ ในโลกออกเสียได้ อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมำสะติ ภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่า ความระลึกชอบ กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมำสะมำธิ ภิกษุทั้งหลาย ความตั้งใจมั่นชอบ เป็นอย่างไร 39
41.
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ
วิวิจเจวะ กำเมหิ สาธยายธรรม วิวิจจะ อะกุสะเลหิ ธัมเมหิ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย สะวิตักกัง สะวิจำรัง วิเวกะชัง ปีติสุขัง ปะฐะมัง ฌำนัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ เข้าถึงฌานที่หนึง อันมีวิตกวิจาร ่ มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่ วิตักกะวิจำรำนัง วูปะสะมำ อัชฌัตตัง สัมปะสำทะนัง เจตะโส เอโกทิภำวัง อะวิตักกัง อะวิจำรัง สะมำธิชัง ปีติสุขัง ทุติยัง ฌำนัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ เพราะวิตกวิจารรํางับลง เธอเข้าถึงฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน 40
42.
ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น
ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่ ปีติยำ จะ วิรำคำ อุเปกขะโก จะ วิหะระติ สะโต จะ สัมปะชำโน สุขัญจะ กำเยนะ ปะฏิสังเวเทติ ยันตัง อะริยำ อำจิกขันติ อุเปกขะโก สะติมำ สุขะวิหำรีติ ตะติยัง ฌำนัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ เพราะปีติจางหายไป เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม และได้เสวยสุข ด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึงฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย กล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุว่า เป็นผู้เฉยอยู่ได้ มีสติ มีความเป็นอยู่เป็นปกติสุข แล้วแลอยู่ 41
43.
สาธยายธรรม สุขัสสะ จะ ปะหำนำ
ทุกขัสสะ จะ ปะหำนำ ปพเพวะ โสมะนสสะโทมะนสสำนง ุ ั ั ั อัตถังคะมำ อะทุกขะมะสุขัง อุเปกขำสะติปำริสุทธิง จะตุตถัง ฌำนัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัส ในกาลก่อน เธอย่อมเข้าถึงฌานที่สี่ อั น ไม่ ทุ ก ข์ แ ละไม่ สุ ข มี แต่ ส ติ อั น บริ สุ ท ธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมำสะมำธิ ภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ 42
44.
อิทัง วุจจะติ ภิกขะเว
ทุกขะนิโรธะคำมินี ปะฏิปะทำ อะริยะสัจจัง ภิกษุทั้งหลาย เหล่านี้แลเราเรียกว่า อริยสัจ คือ หนทางเป็นเครื่องให้ถึง ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ที. มหา. ๑๐/๓๔๓/๒๙๙ hhh 43
45.
บทสวด ควำมสิ้ น
สุ ด แห่ง โลก สาธยายธรรม k นิสสิตัสสะ จะลิตัง ความหวั่นไหว ย่อมมีแก่บุคคล ผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยแล้ว อะนิสสิตัสสะ จะลิตัง นัตถิ ความหวั่นไหว ย่อมไม่มีแก่บุคคล ผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยแล้ว จะลิเต อะสะติ ปัสสัทธิ เมื่อความหวั่นไหวไม่มี ปัสสัทธิ ย่อมมี ปัสสัทธิยำ สะติ นะติ นะ โหติ เมื่อปัสสัทธิมี ความน้อมไป ย่อมไม่มี นะติยำ อะสะติ อำคะติคะติ นะ โหติ เมื่อความน้อมไปไม่มี การมาและการไปย่อมไม่มี 44
46.
อำคะติคะติยำ อะสะติ จุตูปะปำโต นะ
โหติ เมื่อการมาและการไปไม่มี การเคลื่อน และการเกิดขึ้น ย่อมไม่มี จุตูปะปำเต อะสะติ เนวิธะ นะ หุรัง นะ อุภะยะมันตะเร เมื่อการเคลื่อนและการเกิดขึ้นไม่มี อะไรๆ ก็ไม่มีในโลกนี้ ไม่มีในโลกอื่น ไม่มีในระหว่างแห่งโลกทั้งสอง เอเสวันโต ทุกขัสสะ นันแหละ คือ ที่สุดแห่งทุกข์ละ ่ ขุ. อุ. ๒๕/๒๐๘/๑๖๑ hhh 45
47.
บทสวด อธิ ษ
ฐำนควำมเพี ย ร สาธยายธรรม k ท๎วินนำหัง ภิกขะเว ธัมมำนัง อุปัญญำสิง ภิกษุทงหลาย เรายังรูสกได้อยู่ ั้ ้ึ ซึ่งธรรมสองอย่าง คือ ยำ จะ อะสันตุฏฐิตำ กุสะเลสุ ธัมเมสุ ความไม่รจกอิมจักพอ ในกุศลธรรมทังหลาย ู้ ั ่ ้ ยำ จะ อัปปะฏิวำณิตำ ปะธำนัส๎มิง ความเป็นผู้ไม่ถอยกลับ ในการตั้งความเพียร อัปปะฏิวำณัง สุทำหัง ภิกขะเว ปะทะหำมิ เราย่อมตั้งไว้ ซึ่งความเพียร อันไม่ถอยกลับว่า 46
48.
กำมัง ตะโจ นะหำรุ
จะ อัฏฐิ จะ อะวะสิสสะตุ สะรีเร อุปะสุสสะตุ มังสะโลหิตัง หนัง เอ็น กระดูกจักเหลืออยู่ เนือและเลือด ในสรีระจักเหือดแห้งไปก็ตามที ้ ยันตัง ปุริสัตถำเมนะ ปุริสะวิริเยนะ ปุริสะปะรักกะเมนะ ปัตตัพพัง ประโยชน์ใดอันบุคคลจะพึงลุได้ด้วยกําลัง ด้วยความเพียร ด้วยความบากบันของบุรษ ่ ุ นะ ตัง อะปำปุณิต๎วำ วิริยัสสะ สัณฐำนัง ภะวิสสะตีติ หากยังไม่บรรลุถึงประโยชน์นนแล้ว ั้ จักหยุดความเพียรนันเสียเป็นไม่มี ดังนี้ ้ 47
49.
ตัสสะ มัยหัง ภิกขะเว
อัปปะมำทำธิคะตำ สาธยายธรรม โพธิ อัปปะมำทำธิคะโต อะนุตตะโร โยคักเขโม ภิกษุทั้งหลาย การตรัสรู้เป็นสิ่งที่เรา ถึงทับแล้วด้วยความไม่ประมาท อนุตตรโยคักเขมธรรม ก็เป็นสิ่งที่เรา ถึงทับแล้วด้วยความไม่ประมาท ตุเม๎หะ เจปิ ภิกขะเว อัปปะฏิวำณัง ปะทะเหยยำถะ ภิกษุทั้งหลาย ถ้าแม้พวกเธอ พึงตั้งไว้ ซึ่งความเพียรอันไม่ถอยกลับว่า กำมัง ตะโจ นะหำรุ จะ อัฏฐิ จะ อะวะสิสสะตุ สะรีเร อุปะสุสสะตุ มังสะโลหิตัง หนัง เอ็น กระดูกจักเหลืออยู่ เนื้อและเลือดในสรีระจักเหือดแห้งไปก็ตามที 48
50.
ยันตัง ปุรสตถำเมนะ ปุรสะวิรเยนะ
ิ ั ิ ิ ปุริสะปะรักกะเมนะ ปัตตัพพัง ประโยชน์ใดอันบุคคลจะพึงลุได้ด้วยกําลัง ด้วยความเพียร ด้วยความบากบั่นของบุรุษ ๎ นะ ตัง อะปำปุณิตวำ วิริยัสสะ สัณฐำนัง ภะวิสสะตีติ หากยังไม่บรรลุถึงประโยชน์นนแล้ว ั้ จักหยุดความเพียรเสียเป็นไม่มี ดังนี้แล้วไซร้ ตุเม๎หะปิ ภิกขะเว นะ จิรัสเสวะ ยัสสัตถำยะ กุละปุตตำ สัมมะเทวะ อะคำรัส๎มำ อะนะคำริยัง ปัพพะชันติ ตะทะนุตตะรัง พ๎รัห๎มะจะริยะปะริโยสำนัง ทิฏเฐวะ ธัมเม สะยัง อะภิญญำ สัจฉิกัต๎วำ อุปะสัมปัชชะ วิหะริสสะถะ 49
51.
ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอก็จักกระทําให้แจ้ง
สาธยายธรรม ด้วยปัญญาอันยิงเอง ซึงทีสดแห่งพรหมจรรย์ ่ ่ ุ่ อันไม่มีอะไรอื่นยิ่งกว่า อันเป็นประโยชน์ ที่ต้องการของกุลบุตร ผู้ออกบวชจากเรือน เป็นผู้ไม่มีเรือนโดยชอบ ได้ต่อกาลไม่นาน ในทิฏฐธรรม เข้าถึงแล้วแลอยู่ เป็นแน่นอน อํ. ทุก. ๒๐/๖๔/๒๕๑ hhh 50
52.
บทสวด ละนั น
ทิ k สัมมำ ปัสสัง นิพพินทะติ เมื่อห็นอยู่โดยถูกต้อง ย่อมเบื่อหน่าย นันทิกขะยำ รำคักขะโย เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ (คือความเพลิน) จึงมีความสิ้นไปแห่งราคะ รำคักขะยำ นันทิกขะโย เพราะความสิ้นไปแห่งราคะ จึงมีความสิ้นไปแห่งนันทิ นันทิรำคักขะยำ จิตตัง สุวิมุตตันติ วุจจะติ เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิและราคะ กล่าวได้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี” ดังนี้ สํ. สฬา. ๑๘/๑๗๙/๒๔๕ 51
53.
บทสวด ข้ อ
ปฏิ บั ติ อั น ไม่ เ สื่ อ มเสี ย สาธยายธรรม k จะตูหิ ภิกขะเว ธัมเมหิ สะมันนำคะโต ภิกขุ อะภัพโพ ปะริหำนำยะ นิพพำนัสเสวะ สันติเก ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเมื่อประกอบพร้อมด้วย ธรรมสี่อย่างแล้ว ย่อมไม่อาจที่จะเสื่อมเสีย มีแต่จะอยู่ใกล้นิพพานอย่างเดียว กะตะเมหิ จะตูหิ อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ ธรรมสี่อย่าง อะไรบ้างเล่า สี่อย่างคือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สีละสัมปันโน โหติ เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยศีล อินทริเยสุ คุตตะท๎วำโร โหติ เป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย 52
54.
โภชะเน มัตตัญญู โหติ
เป็นผู้รู้ประมาณในโภชนะ ชำคะริยัง อะนุยุตโต โหติ เป็นผู้ตามประกอบในชาคริยธรรม อยู่เป็นประจํา กะถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ สีละสัมปันโน โหติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยศีล เป็นอย่างไรเล่า อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ สีละวำ โหติ ปำติโมกขะสังวะระสังวุโต วิหะระติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีศีล สํารวมในปาติโมกข์ อำจำระโคจะระสัมปันโน ถึงพร้อมด้วยมารยาทและโคจร 53
55.
อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสำวี
สาธยายธรรม เป็นผู้เห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลาย แม้เพียงเล็กน้อย สะมำทำยะ สิกขะติ สิกขำปะเทสุ สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย เอวัง โข ภิกขะเว ภิกขุ สีละสัมปันโน โหติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยศีล กะถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ อินท๎ริเยสุ คุตตะทวำโร โหติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้คุ้มครองทวาร ในอินทรีย์ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ จักขุนำ รูปัง ทิส๎วำ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้เห็นรูปด้วยตา 54
56.
โสเตนะ สัททัง สุต๎วำ
ฟังเสียงด้วยหู ฆำเนนะ คันธัง ฆำยิต๎วำ ดมกลิ่นด้วยจมูก ชิวหำยะ ระสัง สำยิต๎วำ ลิ้มรสด้วยลิ้น กำเยนะ โผฏฐัพพัง ผุสิต๎วำ สัมผัสโผฏฐัพพะด้วยกาย มะนะสำ ธัมมัง วิญญำยะ และได้รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ว นะ นิมิตตัคคำหี โหติ นำนุพ๎ยัญชะนัคคำหี ก็ไม่รับถือเอาทั้งหมด และไม่แยกถือเอาเป็นส่วนๆ ยัต๎วำธิกะระณะเมนัง จักขุนท๎ริยัง โสตินท๎ริยัง ฆำนินท๎ริยัง ชิวหินท๎ริยัง 55
57.
กำยินท๎ริยัง มะนินท๎ริยัง อะสังวุตัง
สาธยายธรรม วิหะรันตัง อะภิชฌำโทมะนัสสำ ปำปะกำ อะกุสะลำ ธัมมำ อันวำสสะเวยยุง สิ่งที่เป็นอกุศลธรรมอันเป็นบาป คือ อภิชฌาและโทมนัส มักไหลไปตามภิกษุ ผู้ไม่สํารวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพราะการไม่สํารวมอินทรีย์เหล่าใดเป็นเหตุ ตัสสะ สังวะรำยะ ปะฏิปัชชะติ รักขะติ จักขุนท๎ริยัง จักขุนท๎ริเย โสตินท๎ริยัง โสตินท๎ริเย๎ ฆำนินท๎ริยัง ฆำนินท๎ริเย ชิวหินท๎ริยัง ชิวหินท๎ริเย กำยินท๎ริยัง กำยินท๎ริเย มะนินท๎ริยัง มะนินท๎ริเย สังวะรัง อำปัชชะติ เธอปฏิบัติเพื่อปิดกั้นอินทรีย์นนไว้ ั้ เธอรักษา... และถึงความสํารวมซึ่ง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ 56
58.
เอวัง โข ภิกขะเว
ภิกขุ อินท๎ริเยสุ คุตตะท๎วำโร โหติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้คุ้มครองทวาร ในอินทรีย์ทั้งหลาย กะถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ โภชะเน มัตตัญญู โหติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้รู้ประมาณ ในโภชนะเป็นอย่างไรเล่า อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ ปะฏิสังขำ โยนิโส อำหำรัง อำหำเรติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาโดยแยบคายแล้วจึงฉันอาหาร เนวะ ทะวำยะ นะ มะทำยะ นะ มัณฑะนำยะ นะ วิภูสะนำยะ ไม่ฉนเพื่อเล่น ไม่ฉนเพื่อมัวเมา ั ั ไม่ฉนเพื่อประดับ ไม่ฉนเพื่อตกแต่ง ั ั 57
59.
ยำวะเทวะ อิมัสสะ กำยัสสะ
ฐิติยำ สาธยายธรรม ยำปะนำยะ วิหิงสุปะระติยำ พ๎รัห๎มะจะริยำนุคคะหำยะ แต่ฉนเพียงเพื่อให้กายนีตั้งอยู่ได้ ั ้ เพื่อให้ชีวิตเป็นไป เพื่อป้องกันความลําบาก เพื่ออนุเคราะห์พรหมจรรย์ อิติ ปุรำณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขำมิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปำเทสสำมิ โดยกําหนดรู้ว่า เราจักกําจัดเวทนาเก่า (คือ ความหิว) เสีย แล้วไม่ทําเวทนาใหม่ (คือ อิ่มจนอึดอัด) ให้เกิดขึ้น ยำต๎รำ จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตำ จะ ผำสุ วิหำโร จำติ ความที่อายุดําเนินไปได้ ความไม่มีโทษเพราะอาหาร และความอยู่ผาสุกสําราญจะมีแก่เรา ดังนี้ 58
60.
เอวัง โข ภิกขะเว
ภิกขุ โภชะเน มัตตัญญู โหติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้รู้ประมาณในโภชนะ กะถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ ชำคะริยัง อะนุยุตโต โหติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้ตามประกอบ ในชาคริยธรรมอยู่เนืองนิตย์ เป็นอย่างไรเล่า อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ ทิวะสัง จังกะเมนะ นิสัชชำยะ อำวะระณิเยหิ ธัมเมหิ จิตตัง ปะรโิ สเธติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมชําระจิตให้หมดจดสิ้นเชิง จากกิเลสที่กั้นจิต ด้วยการเดินจงกรม ด้วยการนัง ตลอดวัน ่ 59
61.
รัตติยำ ปะฐะมัง ยำมัง
จังกะเมนะ สาธยายธรรม นิสัชชำยะ อำวะระณิเยหิ ธัมเมหิ จิตตัง ปะริโสเธติ ครั้นถึงยามแรกแห่งราตรี ก็ชาระจิตให้หมดจดสินเชิง จากกิเลสทีกนจิต ํ ้ ่ ั้ ด้วยการเดินจงกรม และด้วยการนังอีก ่ รัตติยำ มัชฌิมัง ยำมัง ทักขิเณนะ ปัสเสนะ สีหะเสยยัง กัปเปติ ครั้นยามกลางแห่งราตรี ย่อมสําเร็จการนอนอย่างราชสีห์ คือตะแคงข้างขวา ปำเทนะ ปำทัง อัจจำธำยะ สะโต สัมปะชำโน อุฏฐำนะสัญญัง มะนะสิกะริตวำ เท้าเหลื่อมเท้า ตั้งสติสัมปชัญญะ ในการที่จะลุกขึ้น 60
62.
รัตติยำ ปัจฉิมัง ยำมัง
ปัจจุฏฐำยะ จังกะเมนะ นิสัชชำยะ อำวะระณิเยหิ ธัมเมหิ จิตตัง ปะริโสเธติ ครั้นยามสุดท้ายแห่งราตรี กลับลุกขึ้นแล้ว ก็ชาระจิตให้หมดจดสินเชิง จากกิเลสทีกนจิต ํ ้ ่ ั้ ด้วยการเดินจงกรม และด้วยการนังอีก ่ เอวัง โข ภิกขะเว ภิกขุ ชำคะริยัง อะนุยุตโต โหติ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุอย่างนีชื่อว่า ้ เป็นผู้ตามประกอบในชาคริยธรรม อยู่เนืองนิตย์ อิเมหิ โข ภิกขะเว จะตูหิ ธัมเมหิ สะมันนำคะโต ภิกขุ อะภัพโพ ปะริหำนำยะ นิพพำนัสเสวะ สันติเกติ 61
63.
ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเมื่อประกอบพร้อม
สาธยายธรรม ด้วยธรรมสี่อย่างเหล่านี้แล้ว ย่อมไม่อาจที่จะเสื่อมเสีย มีแต่จะอยู่ใกล้นิพพานอย่างเดียวแล อํ. จตุกฺก. ๒๑/๕๐/๓๗ hhh 62
64.
บทสวด อำนำปำนสติ
k กะถัง ภำวิตำ จะ ภิกขะเว อำนำปำนะสะติ ภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร กะถัง พะหุลีกะตำ จัตตำโร สะติปัฏฐำเน ปะริปูเรนติ ทําให้มากแล้วอย่างไร จึงทําสติปัฏฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ได้ (หมวดกายานุปัสสนา) ยัส๎มิง สะมะเย ภิกขะเว ภิกขุ ทีฆัง วำ อัสสะสันโต ทีฆัง อัสสะสำมีติ ปะชำนำติ ภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุ เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้สึกตัวทั่วพร้อม ว่าเราหายใจเข้ายาว ดังนี้ 63
65.
ทีฆัง วำ ปัสสะสันโต
ทีฆัง ปัสสะสำมีติ สาธยายธรรม ปะชำนำติ เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้สึกตัวทั่วพร้อม ว่าเราหายใจออกยาว ดังนี้ รัสสัง วำ อัสสะสันโต รัสสัง อัสสะสำมีติ ปะชำนำติ เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วพร้อม ว่าเราหายใจเข้าสั้น ดังนี้ รัสสัง วำ ปัสสะสันโต รัสสัง ปัสสะสำมีติ ปะชำนำติ เมื่อเราหายใจออกสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วพร้อม ว่าเราหายใจออกสั้น ดังนี้ สัพพะกำยะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจเข้า ดังนี้ 64
66.
สัพพะกำยะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ
ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจออก ดังนี้ ปัสสัมภะยัง กำยะสังขำรัง อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ทํากายสังขารให้รํางับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้ ปัสสัมภะยัง กำยะสังขำรัง ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ทํากายสังขารให้รํางับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ 65
67.
กำเย กำยำนุปัสสี ภิกขะเว
ตัสมิง สาธยายธรรม สะมะเย ภิกขุ วิหะระติ ภิกษุทั้งหลาย สมัยนัน ภิกษุชื่อว่า ้ เป็นผู้ตามเห็นกายในกายอยู่เป็นประจํา อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ กำเยสุ กำยัญญะตะรำหัง ภิกขะเว เอตัง วะทำมิ ยะทิทัง อัสสำสะปัสสำสัง ภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้า และลมหายใจออกว่า เป็นกายอันหนึง่ ในกายทั้งหลาย ตัส๎มำติหะ ภิกขะเว กำเย กำยำนุปัสสี ตัส๎มิงสะมะเย ภิกขุ วิหะระติ อำตำปี 66
68.
สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ
โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนน ในเรื่องนี้ ั้ ภิกษุนนย่อมชือว่า เป็นผู้ตามเห็นกายในกาย ั้ ่ อยู่เป็นประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได้ ในสมัยนัน ้ (หมวดเวทนานุปัสสนา) ยัส๎มิง สะมะเย ภิกขะเว ภิกขุ ปีติปะฏิสังเวที อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุย่อมทําการ ฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผูรพร้อมเฉพาะซึงปีติ ้ ู้ ่ จักหายใจเข้า ดังนี้ ปีติปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อม เฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจออก ดังนี้ 67
69.
สุขะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ
สาธยายธรรม ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อม เฉพาะซึ่งสุข จักหายใจเข้า ดังนี้ สุขะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อม เฉพาะซึ่งสุข จักหายใจออก ดังนี้ จิตตะสังขำระปะฏิสังเวที อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจเข้า ดังนี้ จิตตะสังขำระปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อม เฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจออก ดังนี้ 68
70.
ปัสสัมภะยัง จิตตะสังขำรัง อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ
ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ทํา จิตตสังขารให้รํางับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้ ปัสสัมภะยัง จิตตะสังขำรัง ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ทํา จิตตสังขารให้รํางับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ เวทะนำสุ เวทะนำนุปัสสี ภิกขะเว ตัส๎มิง สะมะเย ภิกขุ วิหะระติ ภิกษุทงหลาย สมัยนัน ภิกษุชอว่า เป็นผูตาม ั้ ้ ื่ ้ เห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจํา อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ 69
71.
เวทะนำสุ เวทะนำญญะตะรำหัง ภิกขะเว
สาธยายธรรม เอตัง วะทำมิ ยะทิทัง อัสสำสะปัสสำสำนัง สำธุกัง มะนะสิกำรัง ภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าว การทําในใจเป็นอย่างดีต่อลมหายใจเข้า และลมหายใจออกทั้งหลายว่า เป็นเวทนาอันหนึง ในเวทนาทั้งหลาย ่ ๎ ตัสมำติหะ ภิกขะเว เวทะนำสุ เวทะนำนุปสสี ั ตัส๎มิง สะมะเย ภิกขุ วิหะระติ อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนนในเรื่องนี้ ั้ ภิกษุนน ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นเวทนา ั้ ในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนัน ้ 70
72.
(หมวดจิตตานุปัสสนา) ยัส๎มิง สะมะเย ภิกขะเว
ภิกขุ จิตตะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ภิกษุทงหลาย สมัยใด ภิกษุยอมทําการ ั้ ่ ฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจเข้า ดังนี้ จิตตะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจออก ดังนี้ อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ทําจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้ 71
73.
อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง ปัสสะสิสสำมีติ
สาธยายธรรม สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ทําจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ สะมำทะหัง จิตตัง อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผูทาจิตให้ตงมันอยู่ ้ ํ ั้ ่ จักหายใจเข้า ดังนี้ สะมำทะหัง จิตตัง ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ทําจิตให้ตั้งมั่นอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ 72
74.
วิโมจะยัง จิตตัง อัสสะสิสสำมีติ
สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ทําจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้ วิโมจะยัง จิตตัง ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ทําจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ จิตเต จิตตำนุปัสสี ภิกขะเว ตัสมิง สะมะเย ภิกขุ วิหะระติ ภิกษุทั้งหลาย สมัยนัน ภิกษุชื่อว่า ้ เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจํา อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ 73
75.
นำหัง ภิกขะเว มุฏฐะสะติสสะ
สาธยายธรรม อะสัมปะชำนัสสะ อำนำปำนะสะติ วะทำมิ ภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล่าวอานาปานสติว่า เป็นสิ่งที่มีได้ แก่บุคคลผู้มีสติอันลืมหลงแล้ว ไม่มีสัมปชัญญะ ตัส๎มำติหะ ภิกขะเว จิตเต จิตตำนุปัสสี ตัส๎มิง สะมะเย ภิกขุ วิหะระติ อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนน ในเรื่องนี้ ั้ ภิกษุนนย่อมชื่อว่า ั้ เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนัน ้ 74
76.
( หมวดธัมมานุปัสสนา ) ยัส๎มิง
สะมะเย ภิกขะเว ภิกขุ อะนิจจำนุปัสสี อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ภิกษุทงหลาย สมัยใด ั้ ภิกษุยอมทําการฝึกหัดศึกษาว่า ่ เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่ง ความไม่เที่ยง อยู่เป็นประจํา จักหายใจเข้า ดังนี้ อนิจจำนุปัสสี ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่ง ความไม่เที่ยง อยู่เป็นประจํา จักหายใจออก ดังนี้ วิรำคำนุปัสสี อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึง ความจางคลาย ่ อยูเ่ ป็นประจํา จักหายใจเข้า ดังนี้ 75
77.
วิรำคำนุปัสสี ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ
สาธยายธรรม ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่ง ความจางคลาย อยู่เป็นประจํา จักหายใจออก ดังนี้ นิโรธำนุปัสสี อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่ง ความดับไม่เหลือ อยู่เป็นประจํา จักหายใจเข้า ดังนี้ นิโรธำนุปัสสี ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่ง ความดับไม่เหลือ อยู่เป็นประจํา จักหายใจออก ดังนี้ ปะฏินิสสัคคำนุปัสสี อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่ง ความสลัดคืน อยู่เป็นประจํา จักหายใจเข้า ดังนี้ 76
78.
ปะฏินิสสัคคำนุปัสสี ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ
ย่อมทําการฝึกหัดศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่ง ความสลัดคืน อยู่เป็นประจํา จักหายใจออก ดังนี้ ธัมเมสุ ธัมมำนุปัสสี ภิกขะเว ตัส๎มิง สะมะเย ภิกขุ วิหะระติ ภิกษุทั้งหลาย สมัยนัน ภิกษุชื่อว่า ้ เป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจํา อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ 77
79.
โส ยันตัง อะภิชฌำโทมะนัสสำนัง
สาธยายธรรม ปะหำนัง ปัญญำยะ ทิส๎วำ สำธุกัง อัชฌุเปกขิตำ โหติ ภิกษุนนเป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะ ั้ เป็นอย่างดีแล้ว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌา และโทมนัสทังหลาย ของเธอนันด้วยปัญญา ้ ้ ๎ ตัสมำติหะ ภิกขะเว ธัมเมสุ ธัมมำนุปัสสี ๎ ิ ตัสมง สะมะเย ภิกขุ วิหะระติ อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนนในเรื่องนี้ ั้ ภิกษุนนย่อมชื่อว่า เป็นผู้ตามเห็นธรรม ั้ ในธรรมทั้งหลาย อยเู่ ป็นประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสมปชัญญะ มีสติ ั นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนัน ้ 78
80.
เอวัง ภำวิตำ โข
ภิกขะเว อำนำปำนะสะติ ภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแล้วอย่างนี้ เอวัง พะหุลีกะตำ จัตตำโร สะติปัฏฐำเน ปะริปูเรนติ ทําให้มากแล้วอย่างนี้แล ชื่อว่า ย่อมทําสติปัฏฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ได้ เอวัง ภำวิตำยะ โข รำหุละ อำนำปำนะสะติยำ เอวัง พะหุลีกะตำยะ ราหุล เมื่อบุคคลเจริญกระทําให้มาก ซึ่งอานาปานสติอย่างนี้แล้ว เยปิ เต จะริมะกำ อัสสำสะปัสสำสำ ลมหายใจเข้าและลมหายใจออก อันจะมีเป็นครั้งสุดท้ายเมื่อจะดับจิตนัน ้ 79
81.
เตปิ วิทิตำวะ นิรุชฌันติ
โน อะวิทิตำติ สาธยายธรรม จะเป็นสิ่งที่เขารู้แจ้งแล้วดับไป หาใช่เป็นสิ่งที่เขาไม่รู้แจ้งไม่ ดังนี้ ม. อุปริ. ๑๔/๑๙๕/๒๘๙ ม. ม. ๑๓/๑๔๒/๖๘๙ hhh 80
Baixar agora