SlideShare a Scribd company logo
Enviar pesquisa
Carregar
Entrar
Cadastre-se
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
Denunciar
CUPress
Seguir
Football em CUPress
2 de Jun de 2013
•
0 gostou
•
3,341 visualizações
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
2 de Jun de 2013
•
0 gostou
•
3,341 visualizações
CUPress
Seguir
Football em CUPress
Denunciar
Educação
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
1 de 10
1
de
10
Recomendados
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
3.7K visualizações
•
28 slides
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
Padvee Academy
87.1K visualizações
•
25 slides
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
Padvee Academy
79.2K visualizações
•
17 slides
พุทธศาสนานิกายมหายาน
Chainarong Maharak
19.5K visualizações
•
37 slides
ปรัชญาเบื้องต้น
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
14.9K visualizações
•
73 slides
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
Padvee Academy
6.3K visualizações
•
54 slides
Mais conteúdo relacionado
Mais procurados
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
Padvee Academy
104.3K visualizações
•
25 slides
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
7.1K visualizações
•
103 slides
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
14.2K visualizações
•
39 slides
พุทธศาสนามหายานในไทย
Padvee Academy
18.2K visualizações
•
56 slides
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
Padvee Academy
24.6K visualizações
•
43 slides
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
14.7K visualizações
•
43 slides
Mais procurados
(20)
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
Padvee Academy
•
104.3K visualizações
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
•
7.1K visualizações
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
•
14.2K visualizações
พุทธศาสนามหายานในไทย
Padvee Academy
•
18.2K visualizações
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
Padvee Academy
•
24.6K visualizações
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
•
14.7K visualizações
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
•
19K visualizações
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
3.3K visualizações
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
•
5.3K visualizações
บทที่ 2 วิราคะ
Onpa Akaradech
•
6.5K visualizações
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
3.1K visualizações
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
•
11.2K visualizações
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
Padvee Academy
•
6.5K visualizações
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
บรรพต แคไธสง
•
1.7K visualizações
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
chonlataz
•
15.5K visualizações
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
•
11.5K visualizações
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
Padvee Academy
•
83.6K visualizações
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
•
8.8K visualizações
ปฏิจจสมุปบาท
บรรพต แคไธสง
•
4.6K visualizações
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
Padvee Academy
•
92.5K visualizações
Similar a พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
Padvee Academy
16.8K visualizações
•
60 slides
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
freelance
580 visualizações
•
34 slides
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
freelance
459 visualizações
•
21 slides
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
pentanino
3.2K visualizações
•
23 slides
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
685 visualizações
•
18 slides
02life
etcenterrbru
693 visualizações
•
117 slides
Similar a พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
(20)
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
Padvee Academy
•
16.8K visualizações
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
freelance
•
580 visualizações
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
freelance
•
459 visualizações
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
pentanino
•
3.2K visualizações
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
•
685 visualizações
02life
etcenterrbru
•
693 visualizações
What is life
changnoi2518
•
1.1K visualizações
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
sarawu5
•
649 visualizações
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
Padvee Academy
•
26.7K visualizações
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
Muttakeen Che-leah
•
804 visualizações
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
•
329 visualizações
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.
•
4K visualizações
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino
•
1.6K visualizações
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
•
17.5K visualizações
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
pyopyo
•
550 visualizações
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
Tongsamut vorasan
•
843 visualizações
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
Tongsamut vorasan
•
81 visualizações
Saengdhamma in august 2010
Wat Thai Washington, D.C.
•
762 visualizações
Bhaddhatath Dhamma
Sarayuth Codeblue
•
111 visualizações
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
1.9K visualizações
Mais de CUPress
9789740337737
CUPress
2.3K visualizações
•
12 slides
9789740337560
CUPress
1.6K visualizações
•
14 slides
9789740337478
CUPress
1.5K visualizações
•
10 slides
9789740337270
CUPress
412 visualizações
•
1 slide
9789740337102
CUPress
564 visualizações
•
10 slides
9789740337096
CUPress
468 visualizações
•
10 slides
Mais de CUPress
(20)
9789740337737
CUPress
•
2.3K visualizações
9789740337560
CUPress
•
1.6K visualizações
9789740337478
CUPress
•
1.5K visualizações
9789740337270
CUPress
•
412 visualizações
9789740337102
CUPress
•
564 visualizações
9789740337096
CUPress
•
468 visualizações
9789740337072
CUPress
•
806 visualizações
9789740337027
CUPress
•
3.3K visualizações
9789740336914
CUPress
•
323 visualizações
9789740336907
CUPress
•
492 visualizações
9789740336686
CUPress
•
562 visualizações
9789740336457
CUPress
•
971 visualizações
9789740336440
CUPress
•
1.1K visualizações
9789740336389
CUPress
•
309 visualizações
9789740336280
CUPress
•
312 visualizações
9789740336365
CUPress
•
1.7K visualizações
9789740336303
CUPress
•
345 visualizações
9789740336242
CUPress
•
439 visualizações
9789740336235
CUPress
•
314 visualizações
9789740336099
CUPress
•
289 visualizações
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
1.
บทที่ ๑.๑ ความนำ พุทธปรัชญา เปนปรัชญาระบบหนึ่งของปรัชญาตะวันออก กอกำเนิดขึ้นในประเทศอินเดียโบราณ
เมื่อ ๒,๕๐๐ กวาปกอน ประเทศ อินเดียในสมัยนั้นเรียกวา ชมพูทวีป โดยเจาชายสิทธัตถะแหงกรุง กบิลพัสดุ แควนสักกะ ผูที่เกิดความสงสัยในสภาพปญหาชีวิตของมนุษย คือ ความแก ความเจ็บ และความตาย วา ทำไม มนุษยตองตกอยูในสภาพ เชนนั้น แมปญหาเหลานี้เปนสภาพปญหาที่ประจักษในชีวิต แตก็ไมมีใคร ตั้งขอสงสัยวา ทำไม จึงเปนเชนนั้น ไมมีใครคิดที่จะแกปญหานี้ อาจเพราะ ไมไดมองไมไดคิดวา มันเปนปญหาชีวิต จึงมองวาเปนเรื่องธรรมดาของ ชีวิต แตสำหรับเจาชายสิทธัตถะเมื่อไดพบเห็นสภาพปญหาเหลานี้ กลับ ทรงเห็นวา นี่คือปญหาใหญสำหรับมนุษย เมื่อทรงมองยอนกลับเขาหา พระองควา จะทรงตกอยูในสภาวะเชนนั้นดวยเชนกัน ยิ่งทรงไมสามารถ ยอมรับสภาพปญหาเชนนี้ได ยิ่งไปกวานี้ ทรงไมตองการใหมวลมนุษยตอง ตกอยูในสภาวะเชนนั้น จึงทรงมีความคิดที่จะหาทางแกไขปญหาที่วา จะ ทำอยางไร มนุษยจึงจะไมแก ไมเจ็บ และไมตาย สภาวะที่ไมมีความแก ความเจ็บ และความตาย มีอยูหรือไม ? บทนำ AW_Bhuddhist#4.indd 1AW_Bhuddhist#4.indd 1 4/23/13 12:43:09 PM4/23/13 12:43:09 PM
2.
2 พุทธอภิปรัชญา เพื่อจะไขปญหาดังกลาว พระองคไดทรงตั้งสมมติฐานจากสภาพ แวดลอมที่ประจักษอันมีภาวะที่ตรงกันขามวา
สรรพสิ่งในโลกมีภาวะที่ ตรงกันขามกัน เชน มีความรอน มีความเย็น มีความมืด มีความสวาง มีขาว มีดำ ดังนั้น เมื่อมีความแก ความเจ็บ และความตาย จึงตองมีความไมแก ความไมเจ็บ และความไมตายดวยเชนกัน ในที่สุดทรงเห็นวา หนทางที่จะ สามารถขบคิด แสวงหาคำตอบนี้ได ตองเปนหนทางที่สงบ ไมมีภาระหรือ พันธะหนาที่ที่จะตองรับผิดชอบมากนัก ไมมีความวุนวาย แนวทางแกไขปญหา นี้ ตองเอื้ออำนวยดวย และแนวทางที่วานี้ ทรงตระหนักชัดวา เพศของความ เปนนักบวชเทานั้น ที่จะเอื้อใหทำหนาที่นี้สำเร็จลุลวงได เพราะเสนทางของ ความเปนฆราวาสหรือคนที่ครองเรือนคับแคบไมเอื้อตอการทำภารกิจนี้๑ เจาชายสิทธัตถะจึงทรงเลือกเพศสมณะแลวเสด็จออกผนวช ใชเวลา ประมาณ ๖ ป ในการคิดคนวิเคราะหคำตอบของโจทยที่ตั้งไว ในที่สุด ทรง พบวา ปญหาชีวิตเรื่องความแก ความเจ็บ และความตายของมนุษยนั้น มี ความเชื่อมโยงถึงกัน การที่มนุษยตองตายนั้น เพราะมีสภาวะรางกายตก อยูในความเจ็บปวย ที่เกิดขึ้นเมื่อรางกายไดทรุดโทรมไปดวยเงื่อนไขดาน กาลเวลาและปจจัยอื่น ๆ และความแกทรุดโทรมนี้เกิดขึ้นสืบเนื่องมาจาก การเกิด หากมนุษยมีการเกิดขึ้น จึงหลีกเลี่ยงไมไดที่จะตองแก เจ็บ และ ตายในที่สุด ดังนั้น หากมนุษยไมตองการแก เจ็บ และตายอีกตอไป ตองไม เกิดอีก ไมวาในภพภูมิไหน ๆ พระพุทธเจาทรงตรัสย้ำเสมอวา การเกิด เปนความทุกข๒ ทั้งในตัว ของมันเองและเหตุปจจัยใหความทุกขอื่นตามมาอีก เชน ความทุกขเพราะ ความแก ความเจ็บ ความตาย ยิ่งการเกิดขึ้นมีบอยมากเทาไร ชีวิตมนุษยมี ๑ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก ๑๓/๗๓๘/๖๖๙. ๒ วินัยปฎก มหาวรรค ๔/๑๔/๑๘. AW_Bhuddhist#4.indd 2AW_Bhuddhist#4.indd 2 4/23/13 12:43:09 PM4/23/13 12:43:09 PM
3.
พุทธอภิปรัชญา 3 ๓ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ
๒๕/๒๑/๓๕. ๔ อังคุตรนิกาย จตุกกนิบาต ๒๑/๕/๗., ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๓๔/๖๑. ๕ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๔๔/๓๙. ความทุกขมากขึ้นเทานั้น๓ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ชีวิตของมนุษยปุถุชนที่ ไมสำรวมในกามคุณทั้งหลาย ผูที่ยังมีตัณหาอยู๔ อยางไรก็ตาม ทรงคนพบวา ความเกิดเปนมนุษยและสัตว ไมใชเปนการเกิดขึ้นลอย ๆ โดยไมมีเหตุ ไมมีปจจัย และเหตุปจจัยที่ทำใหเกิดชีวิตมนุษยและสัตวนั้น มีทั้งเหตุ ปจจัยภายในและเหตุปจจัยภายนอกประกอบกันขึ้น เหตุปจจัยภายนอกนั้น ไดแก การมีเพศสัมพันธทุกรูปแบบที่ไมมีการปองกันการเกิด แมกระทั่ง กระบวนการทางวิทยาศาสตรที่นำกระบวนการธรรมชาติมาดำเนินการใน หองทดลอง โดยผานเครื่องมือทางเทคโนโลยีสมัยใหมที่นำมาใชประกอบ กับวิทยาการที่พัฒนาขึ้นหรือที่เรียนรูกฎเกณฑของธรรมชาติมากขึ้น เหตุ ปจจัยภายใน ไดแก กระแสความอยาก ความใคร ความกระสันทางกามารมณ ที่อยูในใจของมนุษย ตลอดจนบุญกุศลที่สะสมอบรมมาใหถือกำเนิด ในมนุษย ดวยเหตุปจจัยหลากหลายดังกลาว การเกิดเปนมนุษยจึงเปน เรื่องยาก๕ อยางไรก็ตาม การเกิดเปนมนุษย แมเปนเรื่องยากก็จริง แตเมื่อเกิด เปนมนุษยแลว การจะไมเกิดในภพอื่นอีกตอไป ยิ่งยากกวา เพราะการไม เกิดอีกตอไปนั้น จะตองควบคุม ขจัด ขัดเกลาเหตุปจจัยทั้งภายนอกและ ภายในดังกลาวไปพรอม ๆ กัน การควบคุมปองกันเหตุปจจัยภายนอกนั้น สามารถทำไดทั้งวิธีการตามธรรมชาติและวิธีการทางเทคโนโลยีการแพทย สมัยใหมมีการพัฒนาขึ้นตามลำดับ แตกระนั้นก็ตาม วิธีการที่วานี้ยังไม ปลอดภัยรอยเปอรเซ็นต และตองใชตนทุนทางวัตถุสูง อาจตองเสียทั้งเงิน จำนวนมากและความรูสึก ตลอดจนผลกระทบดานรางกาย โดยเฉพาะ AW_Bhuddhist#4.indd 3AW_Bhuddhist#4.indd 3 4/23/13 12:43:09 PM4/23/13 12:43:09 PM
4.
4 พุทธอภิปรัชญา อยางยิ่ง หากใชวิธีการนี้เปนผลสำเร็จจริง
คือ ไมมีการเกิดขึ้นของมนุษย แตสัมฤทธิผลที่วานี้ เปนเพียงวิธีการทำไมใหคนอื่นเกิดขึ้นเทานั้น ไมได ทำใหมนุษยผูเกิดมาแลวหมดสาเหตุแหงการเกิดตอไปแตประการใด วิธีการ ทางวิทยาศาสตรจึงปองกันไดเฉพาะการเกิดของผูอื่นเทานั้น ไมไดปองกัน การเกิดของตนเอง แตเปาหมายสูงสุดของพุทธปรัชญามิไดประสงค เพียงการไมใหผูอื่นเกิดเทานั้น แตเปาหมายที่แทจริงคือ การทำใหตนเอง ไมตองเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏอีกตอไปดวย การจะทำใหบรรลุ เปาหมายดังกลาวนี้ ไมมีใครสามารถทำแทนได ไมวาจะเปนพรหม เทวดา ยักษ หรือมาร นอกจากมนุษยจะทำดวยตนเองเทานั้น ดังนั้น การขจัด ขัดเกลาปจจัยภายในใจของมนุษยนั้น มนุษยตองกระทำดวยตนเอง แมพระสัมมาสัมพุทธเจาก็ทรงเปนเพียงผูบอกทางใหเทานั้น การดำเนิน ตามทางนั้นเปนหนาที่ของผูจะดำเนินตาม๖ ดวยเหตุผลนี้ พระพุทธเจาจึงทรงชี้แนะวิธีการเพื่อบรรลุเปาหมาย ดังกลาวใหครอบคลุม ปองกันและจัดการกับเหตุปจจัยทั้ง ๒ อยางไป พรอมๆ กัน เพื่อใหไดผลทั้งตนเองและผูอื่น หลังจากพระองคทรงไดขอคิด นี้จากอุปมา ๓ ขอ คือ เปรียบเสมือนไมสดที่แชน้ำ (ชีวิตที่ครองเรือน) ไม สามารถนำมาสีใหเกิดไฟได (ไมสามารถทำที่สุดแหงทุกขได) หรือไมสดที่อยู บนบก (ชีวิตที่ไมครองเรือน) ไมสามารถนำมาสีใหเกิดไฟได (เพราะยังมีเหตุ ภายในที่เปนกิเลสตัณหาอยู) ไมที่จะนำสีใหเกิดไฟไดนั้น ตองเปนไมแหง และอยูบนบก ลำพังชีวิตนักบวชที่ไมครองเรือนอยางเดียวหากยังมียาง เหนียวแหงทุกขอยูในใจยอมไมถึงที่สุดแหงทุกขเชนกัน๗ ระบบความคิด แบบพุทธปรัชญาจึงเกิดขึ้นดวยเหตุผลดังกลาว ๖ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๓๐/๕๑. ๗ มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก ๑๒/๔๑๔/๓๑๖-๓๑๗. AW_Bhuddhist#4.indd 4AW_Bhuddhist#4.indd 4 4/23/13 12:43:10 PM4/23/13 12:43:10 PM
5.
พุทธอภิปรัชญา 5 พุทธปรัชญาจึงเสนอวา สาเหตุที่แทจริงของการเกิดและความทุกข ของมนุษย
คือ ตัณหา๘ ดังนั้น การที่มนุษยตองการที่จะไมเกิดอีกตอไป จำตองฝกฝนอบรมตนเพื่อขัดเกลาตัณหา ขจัดใหหมดไปจากจิตใจอยาง สิ้นเชิง เมื่อทำไดเชนนั้น มนุษยจะปราศจากความทุกขเพราะการเกิดและ ความทุกขอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องดวยการเกิดนั้น การคุมกำเนิดจึงไมใชการคุมการเกิดของตนเอง แตเปนการคุมการ เกิดของบุคคลอื่น การคุมการเกิดของตนเอง มนุษยตองทำดวยตนเอง พุทธปรัชญานำเสนอมรรควิธีในการขจัดตัณหาพาใหเกิดนั้นเรียกวา อริย- มรรคมีองค ๘ หากมนุษยไมอยากจะเกิดอีกตอไปดวยเล็งเห็นชัดดวย ปญญาวา การเกิดเปนความทุกข ทั้งของผูทำใหเกิดและของผูเกิดมาเอง จึงควรอยางยิ่งที่จะดำเนินตามแนวทางแหงอริยมรรคมีองค ๘ ดังกลาว ๘ วินัยปฎก มหาวรรค ๔/๑๔/๑๙. AW_Bhuddhist#4.indd 5AW_Bhuddhist#4.indd 5 4/23/13 12:43:10 PM4/23/13 12:43:10 PM
6.
6 พุทธอภิปรัชญา ๑.๒ ลักษณะเดนของพุทธปรัชญา ลักษณะที่เดนของพุทธปรัชญา
คือ การมองชีวิตโลกตามความเปนจริง ไมไดมองดวยความตองการใหมันเปนไปตามที่ประสงค ความเปนจริงที่วา นั้นมีเหตุปจจัยที่โยงใยกันอยูเปนเครือขาย พุทธปรัชญาจึงมุงชี้ใหเห็น ความเปนจริงถึงความมีเหตุปจจัยนั้น และวิธีการจัดการกับเหตุปจจัยเหลานั้น อยางเทาทัน๙ พุทธปรัชญาจะเปนระบบปรัชญาที่เสนอความจริง ความรู และการปฏิบัติเพื่อเขาถึงความจริงนั้นในกระบวนเดียวกัน เปนระบบปรัชญา ที่เสนอเฉพาะความจริงที่มีประโยชนตอการดำเนินชีวิตพรอมวิธีการ ทำความเขาใจและการปฏิบัติไปดวยในตัว พุทธปรัชญามองภาพชีวิตมนุษยตามความเปนจริง ๒ ภาพใหญ คือ (๑) ภาพที่เห็นวาเปนปญหาชีวิต เรียกวา ทุกข (๒) ภาพชีวิตที่เห็นวาเปนสภาวะ ที่ปราศจากปญหาเรียกวา สุข ไมวาจะภาพชีวิตในดานไหน พุทธปรัชญา ไดแสดงเหตุผลแหงความเปนเชนนั้น เพื่อชี้ใหเห็นวา ทุกขหรือสุขก็ตาม ไมได เกิดขึ้นเองโดยไมมีเหตุปจจัยใด ๆ การแสดงเหตุปจจัยแหงความทุกขและ ความสุขนี้ จึงเปนการแสดงถึงระบบการปฏิบัติหรือระบบจริยธรรมเพื่อให บรรลุถึงเปาหมายไวดวย พุทธปรัชญาจึงมีลักษณะเปนปรัชญาชีวิต ที่มุงสรางสรรคภูมิปญญา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและแกไขปญหาชีวิตของมนุษยใหมากที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่ง พุทธปรัชญาเถรวาท จะเนนเรื่องนี้เปนประการสำคัญ ดังนั้น หากมีประเด็นปญหาที่ไมเกี่ยวกับการแกปญหาชีวิต เมื่อถกเถียง ปญหาใดกันแลว คุณภาพชีวิตไมไดดีขึ้น ปญหานั้น พุทธปรัชญาจะไมให ความสนใจมากนัก มีหลักฐานในคัมภีรที่บงชี้วา พระพุทธองคทรงปฏิเสธ ๙ วินัยปฎก มหาวรรค ๔/๖๘/๗๖. AW_Bhuddhist#4.indd 6AW_Bhuddhist#4.indd 6 4/23/13 12:43:10 PM4/23/13 12:43:10 PM
7.
พุทธอภิปรัชญา 7 ที่จะตอบปญหาที่ไมชวยแกไขปญหาชีวิตหรือไมชวยใหมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น เชน อัพยากตปญหา
ที่มุงใหยืนยันแนวคิดแบบสุดขั้ว๑๐ เนื่องจากพุทธปรัชญาเปนปรัชญาตะวันออก จึงมีลักษณะบางประการ ที่แตกตางจากตะวันตก ประการแรก พุทธปรัชญาจะสนใจศึกษาเรื่อง ที่เกี่ยวกับมนุษย โดยเฉพาะแนวทางที่จะทำใหชีวิตมนุษยมีความสุข ปราศจากความทุกข ประการที่ ๒ พุทธปรัชญาไมไดมุงเนนแตเพียงทฤษฎี เทานั้น แตมุงใหนำความรูไปปฏิบัติใหไดผลจริงดวย ซึ่งปรัชญาตะวันตก จะไมเนนใหประพฤติปฏิบัติ แตใหอิสระในการเลือกปฏิบัติ กลาวคือจะนำ ไปใชในชีวิตประจำวันหรือไมก็ได กระนั้นก็ตาม พุทธปรัชญา แมมีเนื้อหา สาระที่บอกวา อะไรดี อะไรไมดี ควรทำอะไร ไมควรทำอะไร แตก็ยังใหอิสระ ในการเลือกปฏิบัติ โดยปลอยเปนหนาที่ของผูฟงหรือสาวกในการตัดสินใจ พระพุทธเจาเปนแตเพียงผูบอกชี้แนะเทานั้น๑๑ ลักษณะหลังนี้ ทำให พระพุทธศาสนามีความเหมือนกับปรัชญาตามแนวคิดทางตะวันตก อยางไรก็ตาม ลักษณะการใหอิสระในการเลือกถือปฏิบัตินี้ ดูเหมือน ในลักษณะที่เดนของปรัชญาทุกระบบ แมวาจะไมมีขอผูกมัดในการนำไป ปฏิบัติก็ตาม แตหากผูศึกษาเกิดความรูตามที่ศึกษาวิเคราะหแลว อาจนำ ไปเปนแนวทางในการดำเนินชีวิตได โดยเฉพาะอยางยิ่ง การถือวามนุษยมี ความรู มีเกณฑการตัดสินอยูประการหนึ่ง คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ใหสอดคลองกับความรูนั้นอยางมีเปาหมายและอยางตั้งใจ ดังนั้น โดยนัยนี้ หากมนุษยมีความรูมากมายหลายสาขา แตมีพฤติกรรมที่ไมสอดคลองกับ ความรูนั้น หรือไมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีที่พึงประสงคแลว ยังไมนับวาเปนผูที่มีความรูสมบูรณ ถือไดวาเปนเพียงผูมีความรูจำมาก ๑๐ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค ๙/๒๙๒/๒๓๒. ๑๑ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๓๐/๕๑. AW_Bhuddhist#4.indd 7AW_Bhuddhist#4.indd 7 4/23/13 12:43:11 PM4/23/13 12:43:11 PM
8.
8 พุทธอภิปรัชญา เทานั้น เพราะยังไมเปนหนึ่งเดียวกับความรูนั้น
ขอนี้นาขบคิดมากทีเดียว เพราะมิเชนนั้นแลว โลกจะคาดหวังสันติสุขไมไดจากการมีความรูของมนุษย ปรัชญาตะวันออกสวนมาก มักจะใหความสำคัญตอการมีประโยชน จริง การนำไปใชไดจริง แตไมถึงกับผูกขาด เพราะมีบางสำนักยังคงใหอิสระ ในการเลือกถือปฏิบัติ ดวยตระหนักและใหอิสระแกมนุษยไดเลือกดวย ตนเอง จากประเด็นนี้เองที่ทำใหปรัชญามีความแตกตางจากศาสนา เพราะ ศาสนาสวนมากจะผูกมัดอยูกับการปฏิบัติควบคูกับความเชื่อที่ตองไปดวยกัน การปฏิบัติหรือยอมดำเนินการในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สะทอนใหเห็นถึงความเชื่อ ในสิ่งนั้น การที่มนุษยมีความเชื่อในเรื่องใด มนุษยจะทำพฤติกรรมที่ สอดคลองกับความเชื่อนั้น กลาวอีกนัยหนึ่งวา การที่มนุษยไมประพฤติ ในเรื่องใด แสดงใหเห็นชัดวา มนุษยนั้น ไมมีความเชื่อในเรื่องนั้น เพราะ ความเชื่อจะแสดงออกเปนการยอมรับและปฏิบัติตาม มักจะไดยินผูใหญ พูดกันเสมอวา ใหเชื่อฟง หมายความวา การเชื่อฟงไมไดเปนเพียงการฟง เทานั้น หากตองมีการทำตามดวย ไมใชเปนเพียงรับรูตามที่ไดยินแลว ไมสนใจปฏิบัติ หากเปนเชนนี้ มนุษยมักถูกตำหนิเสมอวาเปนผูไมเชื่อฟง มนุษยจะเกี่ยวพันกับความเชื่อมากกวาความรู เพราะถึงแมจะมีความรู มากมาย แตถาไมมีความเชื่อถือในความรูนั้นวาใชใหเกิดประโยชนไดจริง มนุษยจะไมมีการนำความรูนั้นมาใช คงปลอยใหเปนความรูนอนนิ่งอยูใน ความทรงจำหรืออาจถูกลืมไปแลวก็ได ตรงกันขาม หากมนุษยนำความรู ที่มีอยูออกมาใช นั่นแสดงวา มนุษยไดยอมรับ คือ เชื่อในความรูนั้น โดย นัยนี้ จะเห็นวา ความรูกับความเชื่อมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด แตถา มองจากมุมสูง จะเห็นวา ความเชื่อจะมีบทบาทมากกวาความรู เพราะ ความเชื่อมีนัยแหงการยอมรับมาปฏิบัติดวย แมบางทานจะบอกวา ฉัน เรียนรูเพื่อที่จะเชื่อ หรือฉันเชื่อเพื่อที่จะรู ก็ตาม แตทายที่สุด เมื่อเกิด กระบวนการกระทำขึ้น กระบวนการกระทำนั้นเปนบทสรุปของความเชื่อ AW_Bhuddhist#4.indd 8AW_Bhuddhist#4.indd 8 4/23/13 12:43:11 PM4/23/13 12:43:11 PM
9.
พุทธอภิปรัชญา 9 เปนความเชื่อที่มีความรูและเปนความเชื่อในความรู พุทธปรัชญาจึงใหความสำคัญทั้งแกศรัทธาและปญญา (ความเชื่อ กับความรู)
วาจะตองฝกฝน พัฒนาใหมีในอัตราที่เทาเทียมกัน จะรูกอน แลวจึงเชื่อ หรือจะเชื่อกอนแลวจึงรู ไมเปนปญหา แตที่สำคัญ คือ ตอง ปรับทั้งความเชื่อและความรูใหเกิดขึ้นอยางเทาเทียม ไมควรใหโนมเอียงไป ในฝายหนึ่งฝายใด ทั้งในแงการดำเนินชีวิตในสังคมและการปฏิบัติเพื่อ บรรลุเปาหมายบางอยางในชีวิต เพราะมนุษยหากมีศรัทธามากไป หรือมีแต ศรัทธาแตขาดปญญา จะกลายเปนคนงมงายเชื่องาย ไมเปนตัวของตัวเอง หากมีปญญามากไปแตขาดศรัทธา จะกลายเปนคนกาวราว ถือดี ซึ่งมี ปญหาพอ ๆ กัน โดยนัยนี้ พุทธปรัชญาจึงมีทั้งลักษณะเปนศาสนาและ ปรัชญา อันเปนลักษณะประการหนึ่งของปรัชญาตะวันออก ที่สวนใหญ จะไมแยกศาสนาและปรัชญาออกจากกันอยางเด็ดขาด แนวคิดและทฤษฎี นั้นตองควบคูไปกับการปฏิบัติดวย ในความเปนจริง ไมใชเรื่องงายที่จะทำใหความเชื่อกับความรู เทาเทียมกัน และไมงายที่จะปรับใหมีความเสมอกัน ทั้งยังรูไดไมงายนักวา ทั้งสองนั้นเสมอกันแลวหรือยัง ทั้งของตนเองและของผูอื่น ยิ่งของบุคคลอื่น ยิ่งยากที่จะหยั่งรู ปรากฏการณชีวิตของมนุษยปจจุบันจึงมีความเหลื่อมล้ำ ระหวางศรัทธากับปญญาปรากฏใหเห็นอยูเสมอ เมื่อไรก็ตาม ที่มนุษย สามารถปรับศรัทธาและปญญาใหสมดุลกันไดแลว การดำเนินชีวิตของ มนุษยในโลกจะมีความเกี่ยวพันกับศรัทธาและปญญาอยางใกลจริง เพราะ ทั้งสองเปนพลังภายในที่คอยขับเคลื่อนใหเกิดการกระทำกิจกรรมของ มนุษยอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม ศรัทธาและปญญาเปนธรรมชาติประการหนึ่งของ มนุษย เปนธรรมชาติที่เปนนามธรรมอยูภายในจิตใจ ซึ่งพุทธปรัชญาเรียกวา เจตสิก หรือ เจตสิกธรรม คือ คุณสมบัติหนึ่งของจิตใจที่เกิด ดับพรอมกับ AW_Bhuddhist#4.indd 9AW_Bhuddhist#4.indd 9 4/23/13 12:43:11 PM4/23/13 12:43:11 PM
10.
10 พุทธอภิปรัชญา จิต มีที่อยูอันเดียวกันกับจิต๑๒ และมีอารมณสำหรับยึดเหนี่ยวอันเดียวกัน กับจิต
เรียกอีกอยางหนึ่งวา สังขารขันธ อันเปนขันธหนึ่งในขันธ ๕ ที่เปน องคประกอบหนึ่งของมนุษย เปนธรรมชาติอยางหนึ่งของมนุษยที่เปนการ ปรุงแตงจิต ในมหาสติปฏฐานสูตร๑๓ มีขอความกลาวถึงธรรมชาตินี้วา จิตในจิต ในแงปฏิบัติเพื่อขัดเกลากิเลส ฝกฝนอบรมตน ผูปฏิบัติตองใสใจ กับจิตในจิตนี้อยางเครงครัด เฝาระวังและกำหนดความคิดตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ใหเทากัน พูดโดยภาษาสามัญทั่วไป คือ กำหนดรูเทาทันความคิด (จิต) ของผูคิด (ในจิต) รูเทาทันความคิดในความคิด พุทธปรัชญาเถรวาทจะใหความสำคัญแกศรัทธาและปญญาทั้งสองนี้ อยางมาก หากเราศึกษาคนควาดูในพระไตรปฎก โดยเฉพาะพระสุตตันต- ปฎกจะพบวา ทุกครั้งที่พระพุทธเจาตรัสสอนคำสอนที่ขึ้นตนดวยศรัทธาและ ตอดวยคำสอนอื่น ๆ เชน ความเพียร (วิริยะ) หรืออื่น ๆ ใด เมื่อจบการตรัส สอนในชุดนี้ ทรงลงทายดวยคำสอนเรื่องปญญาเสมอ เชน พละ ๕ (ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา) อินทรีย ๕ (ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา) อิทธิบาท ๔ (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) พรหมวิหาร ๔ (เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา) หมวดธรรมที่ยกเปนตัวอยางนี้ แสดงใหเห็นถึงการให คุณคาของศรัทธาและปญญา และที่สำคัญหมวดธรรมตองดำเนินไปเปนชุด และปฏิบัติใหครบชุด จึงใหผลอยางสมบูรณได ไมใชเนนเฉพาะขอใด ขอหนึ่งในหมวดธรรมนั้น ๆ แสดงใหเห็นวา หลักการเบื้องตนของพุทธ- ปรัชญาถือวา ชีวิตมนุษยจะเขาสูภาวะความสมดุลไดตองมีความเพียบพรอม ทั้งศรัทธาและปญญา การดำเนินชีวิตของผูนั้น ยอมเปนแนวทางที่สงบสุขได ๑๒ อภิธรรมปฎก กถาวัตถุ ๓๗/๑๑๓๖/๔๖๐-๔๖๑. ๑๓ ทีฆนิกาย มหาวรรค ๑๐/๒๘๙/๒๒๒. AW_Bhuddhist#4.indd 10AW_Bhuddhist#4.indd 10 4/23/13 12:43:12 PM4/23/13 12:43:12 PM