O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

ข้อเสนอเพื่อการปฎิรูประบบการบริหารและพัฒนาประเทศไทย

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio

Confira estes a seguir

1 de 29 Anúncio

ข้อเสนอเพื่อการปฎิรูประบบการบริหารและพัฒนาประเทศไทย

Baixar para ler offline

Anúncio
Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Semelhante a ข้อเสนอเพื่อการปฎิรูประบบการบริหารและพัฒนาประเทศไทย (8)

Anúncio

ข้อเสนอเพื่อการปฎิรูประบบการบริหารและพัฒนาประเทศไทย

  1. 1. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 1 ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูประบบการบริหารและพัฒนาประเทศไทย: ระบบการบริหารการพัฒนา โดยยึดพื้นที่เป็นหลัก มิถุนายน 2558 พลเมือง ประชาสังคม เอกชน รัฐ (ส่วนกลาง ส่วนภูมิกาค) การบริหาร การพัฒนา โดยยึด พื้นที่ - มั่นคง - มั่งคั่ง - ยั่งยืน ท้องถิ่น
  2. 2. ถึงเวลาอย่างจริงจังแล้วหรือยัง? ที่ควรมีการปรับเปลี่ยน ‘แกน’ การบริหารงานจากการเน้นที่กระทรวง ทบวง กรม ไปสู่การให้ความสาคัญในระดับพื้นที่ โดยเปิดกว้างให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม  เรามีแต่กระทรวงที่ specialize งานในแต่ละ เรื่อง แต่ไม่มีกระทรวงที่ specialize งานของ พื้นที่ (แต่ละพี้นที่มีปัญหา/ความต้องการไม่ เหมือนกัน ต้องการ solutions ที่ต่างกัน)  ไม่มีกลไก (Backstopping Unit) ใน ส่วนกลางเพื่อบูรณาการ เชื่อมโยง และ ขับเคลื่อนการทางานของกระทรวง กรม ต่างๆ ให้ไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้ง สนับสนุนและตอบสนองยุทธศาสตร์ แผนงานและโครงการของพื้นที่ สภาพปัญหา  ขาดหน่วยงานรับผิดชอบการบริหาร การพัฒนาในแต่ละพี้นที่เป็นการเฉพาะ  การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหาร การพัฒนายังมีค่อนข้างน้อย A-F-P Revisited ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 2
  3. 3. จังหวัด ภาค ส่วนกลาง กระทรวง กรม ชุมชน เอกชน ภูมิภาคท้องถิ่น • วิเคราะห์/เสนอแนะนโยบาย • วางหลักเกณฑ์/มาตรฐาน • งานวิชาการ(วิจัยและพัฒนา) • ปฏิบัติการ (เท่าที่จาเป็น) • ประสานงาน/บูรณาการ • กากับดูแล/ติดตามประเมินผล • บริหารโครงการ(PMO) • ปฏิบัติการ • ดาเนินโครงการ โอนถ่าย สนับสนุน ส่งเสริม การออกแบบโครงสร้างและระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองใหม่ • กากับดูแล/ควบคุม • ดาเนินการ (เท่าที่จาเป็น) ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 3
  4. 4. ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการบริหารการพัฒนาโดยยึดพื้นที่เป็นหลัก วางกลไกบูรณาการและ สนับสนุนในส่วนกลาง จัดให้มีหน่วยประสานการบริหาร การพัฒนาในระดับภาค เพื่อเชื่อมโยงทั้งแนวดิ่ง-แนวนอน เน้นพื้นที่ ‘จังหวัด’ เป็น จุดโฟกัสของการดาเนินงาน มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 4
  5. 5. การวางกลไกบูรณาการในส่วนกลาง เพื่อสนับสนุนระบบการบริหารการพัฒนาในระดับพื้นที่ Regional ministers Inter- ministerial Committee Cross- ministry & boundary Collaboration HQ Regional Development Office 1….n สานักงานคณะกรรมการ บูรณาการและขับเคลื่อน การบริหารการพัฒนา สานักงานบริหาร การพัฒนาภาค 1…n คณะกรรมการบูรณาการ และขับเคลื่อน การบริหารการพัฒนา รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจา สานักนายกรัฐมนตรี (รับผิดชอบเขตพื้นที่) ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 5
  6. 6. กลไกการบูรณาการข้ามกระทรวง เพื่อสนับสนุนการทางานในระดับพื้นที่ ครม กท กท กท กท คณะกรรมการบูรณาการฯ สนง .ภาค 1 สนง.ภาค 2 สนง. ภาค.. สนง. HQ จว จว จวจว จว จว จว จวจว จว จว จว จวจว จว • นรม.ประธาน • รองนรม.และรมต.ประจาสานักนายกรัฐมนตรี ดูแลการบริหารเขตพื้นที่ • ผู้ทรงคุณวุฒิและหน.ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง Cross-agency collaboration กลุ่มจว. กลุ่มจว. กลุ่มจว. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 6 • ประสานนโยบายและทรัพยากรของส่วนกลางใน การพัฒนาพื้นที่ให้มีความสอดคล้องกัน • บูรณาการสรรพกาลังของฝ่าย ต่างๆ ในพี้นที่ให้มีความเชื่อมโยง และสนับสนุนซึ่งกันและกัน • ขับเคลื่อนการพัฒนาในระดับ พื้นที่ให้เป็นไปตามเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์
  7. 7. สานักงานคณะกรรมการ บูรณาการและขับเคลื่อนฯ -สานักงานบริหารการพัฒนา ภาค 1…n Governance & Management Unit Regional Development Unit ภาครัฐ สถาบัน การ ศึกษา ภาค เอกชน Vertical Collaboration ส่วนกลาง-ภูมิภาค-ท้องถิ่น Horizontal Collaboration ท้องถิ่น-ท้องถิ่น; ภาค-ภาค ภาครัฐ-ภาคเอกชน สานักนายกรัฐมนตรี ประสานสรรพกาลังทุกภาคส่วน Excellence Center Science Park SMEs Regional attractiveness Investment promotion R&DTraining Special Zone Regional Competitiveness Rural Development OTOP ปิดทองหลังพระ ฯลฯ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 7
  8. 8. แนวทางการบริหารการพัฒนา โดยยึดพื้นที่เป็นหลัก กระทรวง กรม ราชการส่วนภูมิภาค ท้องถิ่น ภาคเอกชนและ ภาคส่วนอื่นๆ คณะกรรมการบูรณาการ และขับเคลื่อนการบริหาร การพัฒนา สานักงานคณะกรรมการ บูรณาการและขับเคลื่อน การบริหารการพัฒนา สานักงาน บริหารการพัฒนา ภาค… แกนกลางประสานเชื่อมโยงและบูรณาการทั้งในระดับชาติและในระดับพี้นที่ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 8
  9. 9. แผนยุทธศาสตร์ พัฒนาภาค แผนงาน/โครงการพัฒนาของส่วนท้องถิ่น แผนงาน/ โครงการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด และจังหวัด แผนงาน/โครงการพัฒนา – ขอรับการสนับสนุนจากกระทรวง/กรมต่างๆ Special Development Initiatives Regional Development Objectives 1. ……………………… 2. .……………………. 3. ..……………………. รูปแบบการบริหารการพัฒนา โดยยึดพื้นที่เป็นหลัก Competitiveness (R&D) Fund สานักงาน บริหาร การพัฒนา ภาค… สานักงาน คณะกรรมการ บูรณาการและ ขับเคลื่อน การบริหาร การพัฒนา งบประมาณ กระจายอานาจ* งบประมาณ กนจ. งบประมาณ ส่วนราชการ* ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 9 *เฉพาะในส่วนของงบพัฒนาที่จัดสรรให้แก่พี้นที่
  10. 10. ให้กลไกระดับ ‘ภาค’ เป็นจุดเชื่อมประสานและบูรณาการการทางานในระดับพื้นที่: แนวดิ่ง (บน-ล่าง ล่าง-บน) และ แนวนอน ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 10 ภาค: การรวมกันของ1-3 กลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด 1 = 18 กลุ่มจังหวัด
  11. 11. หมายเหตุ:สถานะของกลไกในระดับ ‘ภาค’ ควรเป็นอย่างไร? 1 • ท้องถิ่นรูปแบบใหม่ ตัวอย่างเช่น Region ของฝรั่งเศส • เพิ่ม tier ของท้องถิ่น อาจทาให้เกิดปัญหาการแบ่งหน้าที่และการประสานงานติดตามมาอีก 2 • ราชการบริหารส่วนภูมิภาค (นอกเหนือไปจาก จังหวัด อาเภอ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน) • เพิ่ม hierarchy ทางการบริหารอาจทาให้เกิดปัญหาความล่าช้าไม่มีประสิทธิภาพ 3 • ราชการบริหารภาค(จากเดิมที่มีแค่ราชการบริหารส่วนกลางส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น) • เพี่ม layer ทางการบริหาร อาจทาให้เกิดปัญหาความซ้าซ้อนไม่สอดคล้องกับการกระจายอานาจ 4 • ราชการบริหารส่วนกลาง (แต่มี field office ในแต่ละภาค) • คณะกรรมการบูรณาการและขับเคลื่อนการบริหารการพัฒนา • สานักงานคณะกรรมการคณะกรรมการบูรณาการและขับเคลื่อนการบริหารการพัฒนา สานักนายกรัฐมนตรี ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 11
  12. 12. ให้ ‘จังหวัด’ เป็นจุดโฟกัสในการดาเนินงาน: โครงสร้างและระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองในเขตพื้นที่จังหวัด  ท้องถิ่น และ ภูมิภาค สามารถคงอยู่/ ทางานร่วมกันได้ในเขตพื้นที่จังหวัด • ระวัง ‘กับดัก’ ของการกระจาย อานาจ • ตัวอย่างของประเทศฝรั่งเศส  จังหวัดและอาเภอในฐานะราชการ บริหารส่วนภูมิภาคยังมีความจาเป็น แต่ต้องปรับแต่งบทบาทภารกิจใหม่  การปกครองส่วนท้องถิ่นยังคงต้องมี การปฏิรูปให้เหมาะสมต่อไป  Non-government sector ต้อง ได้รับการเสริมพลังให้เข้มแข็ง เพื่อร่วม ทางานกับภาครัฐและท้องถิ่น ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 12 สานักงานบริหารการพัฒนาภาค สนง.คณะกรรมการบูรณาการและขับเคลื่อนการบริหาร การพัฒนา
  13. 13. ภาคผนวก ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 13 ตัวอย่างการบริหารการพัฒนาพื้นที่ของต่างประเทศ*  อังกฤษ  ฝรั่งเศส  ญี่ปุ่น * ข้อมูลจนถึงปี ค.ศ. 2010
  14. 14. อังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ผู้รับผิดชอบฝ่ายการเมือง Regional Minister N/A Minister for regional revitalization (Abe, 2014) กลไกในส่วนกลาง (ระดับประเทศ) Council of Regional Minister CIACT (Comité interministériel d’aménagement et de développement du territoire) Advisory Committee on Vitalizing Towns, People and Jobs (Abe, 2014) หน่วยงานบูรณาการในส่วนกลาง Regional Coordination Unit (ปีค.ศ. 2000 ถูกยุบรวมไว้ใน Office of Deputy Prime Minister) DATAR (Délégation interministérielle à l'aménagement du territoire et à l'attractivité régionale) Office for the Promotion of Regional Revitalization HQ ในสังกัด Cabinet Secretariat Office กลไกในระดับภาค (ทางานร่วมกับท้องถิ่น และภาคส่วน อื่นๆ) เครื่องมือในการประสานงานแนวดิ่ง และแนวนอน • Government Office (9 ภาค) • Regional Development Agency (9 แห่ง) • PSAs • Multi-area & Local-area agreements • Préfet de région (26 ภาค) (ภาคมีสถานะเป็นท้องถิ่น Conseil Régional) • PASER (Projet d'Action Stratégique de l'État en Région) • CPER (Contrat de projets Etat/Région) Regional Revitalization Liaison Office (8 ภาค) • Regional Revitalization Law • Program for the promotion of regional revitalization การวางแผนระดับภาค แผนยุทธศาสตร์พัฒนาภาค SRDE (Schéma régional de développement économique) Regional revitalization plan สรุปเปรียบเทียบโครงสร้างกลไกและระบบการบริหารการพัฒนาแบบยึดพื้นที่ของบางประเทศ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 14
  15. 15. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 15
  16. 16. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 16
  17. 17. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 17 Example
  18. 18. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 18
  19. 19. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 19
  20. 20. 20 Île-de-France เป็นหนึ่งใน 26 Region ของประเทศฝรั่งเศส มี Cluster ทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ Global Competitiveness Clusters, Globally-Oriented Competitiveness Clusters และ Competitiveness Clusters Cluster Sector FINANCE INNOVATION - MEDICEN - Sophisticated health technologies - new medications and new cell - gene and molecular therapies SYSTEMATIC - Telecoms - Automobiles et Transport - Security and Defence - Design tools and Systems development - Free Software CAP DIGITAC - ICT - Digital Content Technologies MOV’EO - Automobile - Collective transport Astech - Aviation d’affaires - Transport Spatial - Motorisation & équipements Ville et mobilite durables - Buildings - Infrastructures - Urban planning - Transport 1 2 3 1 2 3 หมายเหตุ:Île-de-France มี 8 Départementsได้แก่ Essonne, Hauts-de-Seine, Paris, Seine-Saint-Denis, Seine-et-Marne, Val-de-Marne,Val-d’Oise และ Yvelines Ville et mobilite’ durables MEDICEN CAP DIGITAL Astech FINANCE INNOVATION MEDICEN SYSTEMATIC Astech FINANCE INNOVATION Île-de-France
  21. 21. 21 Contrat de projets Etat/Région (CPER)  สัญญาโครงการ (CPER) – แต่ละภาคทาขึ้นเพื่อวางแผนพัฒนา เขตพื้นที่ (ในช่วงระยะเวลา 5-7 ปี) โดยได้รับงบประมาณ สนับสนุนร่วมกันระหว่าง State และ Region ตัวอย่าง CPER ของภาค Île-de-France (2007-2013) ประกอบด้วยโครงการหลัก 8 ด้านได้แก่ 1). Acting on unemployment 2). To promote a more greater social cohesion 3). Strengthen the attractiveness 4). Search, Sport, Culture, Competitiveness 5). Promoting accessibility 6). Making agriculture and Forest 7). Fight against the climate change 8). Take into account environmental changes on the island of France หมายเหตุ: ได้รับงบประมาณจาก State (37%) และ Region (63%)
  22. 22. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 22
  23. 23. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 23
  24. 24. Government Office Network: Delivering National Policy Local Authorities Police Regional Assemblies Regional and Local Partners RIEPS Public Service Agreements (& Departmental Strategic Objectives) Regional Spatial & Economic Strategies Multi Area Agreements Local Area Agreements Regional National Local Cross cutting policy delivery Sub-Regional Government Agencies and NDBPs Regional Development Agencies • Strengthen National Policies • Integrate Regional Strategies • Drive Local Delivery ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 24
  25. 25. 25 Regional Development Agencies in England Regional Development Agencies aim to bring economic prosperity to all parts of England by: • Leading the economic regeneration and support business support agenda in each region • Analysing the different economic, social and environmental circumstance and producing a Regional Economic Strategy for each region • Working with public, private and voluntary sector partners and especially with local government • Developing the economic potential of their regions places and people ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
  26. 26. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 2626 East Midlands เป็นหนึ่งใน 9 Regions ของอังกฤษ ประกอบด้วย 6 พื้นที่ คือ Derbyshire, Leicestershire, Lincolnshire, Northamptonshire, Nottinghamshire, and Rutland (มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของอังกฤษ) GO-East Midlands วาง Regional Economic Strategy ปี 2006 – 2020 ดังนี้ Vision Performance Management Framework  One of Europe’s Top 20 regions by 2010 3 Structural Themes 10 Strategic Priorities Actions Raising productivity Employment, learning & skill  …. Enterprise & business support  …. Innovation  …. Ensuring sustainability Transport & Logistics  …. Energy & resources  …. Environmental protection  …. Land % development  …. Achieving equality Cohesive communities  …. Economic renewal  …. Economic inclusion  ….  Economic Wellbeing  Productivity Employment Rate  Strategic Priorities, Indications of Success  Programmes, Projects & Activities
  27. 27. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 2727 ญี่ปุ่ น ญี่ปุ่นแบ่งเขตพื้นที่เป็น 8 ภาค (Regions) และ 47 จังหวัด (Prefectures) การแบ่งเขตพื้นที่ของญี่ปุ่น Regional level Regions (地方; Chihō) ไม่ได ้เป็นหน่วยปกครอง Prefectural level Prefectures (都道府県; To-dō-fu-ken ) Subprefectural level Subprefectures (支庁; Shichō) Designated Cities (政令指定都市; Seirei-shitei-toshi) Districts (郡; Gun) Municipal level Core Cities (中核市; Chūkaku-shi) Special Cities (特例市; Tokurei-shi) Cities (市; Shi) Special Wards (特別区; Tokubetsu-ku) Wards (区; Ku) Towns (町; Chō / Machi) Villages (村; Son / Mura)
  28. 28. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 28
  29. 29. ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ 29

×