SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
ประเพ
ประเพณ ทย
ณีไ
ความหมายของ
ประเพณี

ความสำา คัญ ของ
ประเพณี
ประเภทของ
ประเพณี
ความเชื่อ ความคิด การกระทำา ค่า
นิยม ทัศนคติ ศีลธรรม ระเบียบ
แบบแผน และวิธีการกระทำาสิงต่าง ๆ
่
ตลอดจนถึงการประกอบพิธีกรรมใน
โอกาสต่าง ๆ ทีกระทำากันมาในอดีต
่
ลักษณะสำาคัญของประเพณี คือเป็น
สิงทีเชือถือปฏิบตกันมาจนกลายเป็น
่ ่ ่
ั ิ
แบบอย่างความคิดหรือการกระทำาที่
>> ประเพณีเป็นกฎเกณฑ์หรือแบบแผนที่
สังคมกำาหนดขึ้นใช้ร่วมกันในหมู่สมาชิก
ประเพณี จึงเป็นเครื่องหมายบอกความเป็นพวก
เดียวกันของพวกที่ยึดถือในประเพณีเดียวกัน
>> ประเพณีจัดว่าเป็นวัฒนธรรมประจำาชาติ
หรือเป็นเอกลักษณ์ของสังคม แสดงว่า สังคม
นั้นมีความเจริญมาตั้งแต่อดีตหรือมีลักษณะ
เฉพาะของตนมาเป็นเวลานาน ดังนั้นการมี
ประเพณี เป็นของตนเองจึงนับเป็นความภาค
ภูมิใจอย่างยิ่ง
>> ประเพณีมีส่วนสนับสนุนให้ประเทศชาติ
เจริญรุ่งเรือง
>> ประเพณีเป็นสิงเชือมโยงให้คนในสังคมมี
่ ่
ความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
>> ประเพณีเป็นรากฐานของกฎหมายของ
ประเทศ
ประเพณีที่เกี่ยวกับ
ชีวิตหรือประเพณี
ส่วนบุคคล หมายถึง
ประเพณีที่เกี่ยวข้อง
เฉพาะ บุคคลภายใน
ครอบครัว
ประเพณีเกี่ยวกับการ
เกิด การบวช การ
แต่งงาน การปลูกเรือน
การจัดงานศพ

ประเพณีที่เกี่ยวกับ
กลุ่มบุคคลหรือ
ประเพณีเกี่ยวกับ
เทศกาล  หมายถึง
ประเพณีใน ส่วน
รวมที่กลุ่มบุคคลร่วม
กันจัดขึ้น อาจจะ
เกี่ยวกับการทำาบุญ
หรือเพื่อความ
มกราคม ฤดูเก็บเกี่ยว
เดือนยีเมือการเก็บเกี่ยวข้าวในนาเเละนวดข้าวเสร็จสิ้นลง
่ ่
เกษตรกรชาวนาซึ่งทำางานหนัก เพราะต้องทำางานตรากตรำา
กลางเเดดฝนอยู่ในโคลนตมเป็นเวลานานๆ เมือไถหว่านปัก
่
ดำา จนต้นข้าวงอกงามเติบโตเเละออกรวง ได้เก็บเกี่ยวพืช
ผลทีลงเเรงไว้ เมือนวดข้าวเเละเก็บข้าวขึ้นใส่ยุ้งฉางเรียบ
่
่
ร้อยเเล้ว เสร็จสิ้น การทำางานอีกครั้งหนึง ก็ร่วมกันทำาบุญ
่
ให้ทานเพือความเป็นสิริมงคล เเก่ตนเอง ครอบครัวเเละ
่
กุม ภาพัน ธ์ เดือ นมาฆะ
"มาฆะ" เเปลว่า เดือน ๓ ทางจันทรคติเรียกว่า มาฆ
มาส หรือ มาฆบูชาจาตุรงคสันนิบาต วันมาฆบูชา
กำาหนดตรงกับวันเพ็ญเดือน ๓ ของทุกๆปี พระราช
พิธีกุศลวันมาฆบูชานี้ เกิดเมื่อครั้งรัชกาล พระบาท
สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรงมีพระ
ราชดำาริว่า วันเพ็ญกลางเดือน ๓ เป็นวันพระจันทร์
เสวยมาฆศกษ์ มีเหตุการณ์สำาคัญยิ่ง จึงได้พระกรุณา
โปรดเกล้าให้จัดทำาพิธีมาฆบูชาขึ้น
มีน าคม วัน ตรุษ สิน ปี
้
พิธีทำาบุญวันตรุษเดือน ๔ หรือประเพณีการทำาบุญ
วันตรุษสิ้นปี เริ่มตั้งเเต่วันเเรม ๑๔ คำ่า เดือน ๔ ไป
จนถึง วันขึ้น ๑ คำ่า เดือน ๕ รวม ๓ วัน ตรุษนีบอก
้
กำาหนดสิ้นปี มีการทำาบุญให้ทาน เพื่อระลึกถึง
สังขารที่ล่วงมา ด้วยดีอีกปีเเล้ว มีการยิงปืนใหญ่ จุด
ประทัด ดอกไม้ไฟ ตีกลอง เคาะระฆัง เพื่อขับไล่ สิ่ง
ชัวร้ายต่างๆ ออกจากเมือง ชาวบ้านต่างก็ทำาความ
่
เมษายน รดนำ้า วัน สงกรานต์

ในวันเเละเวลาที่พระอาทิตย์ยกขึ้นสู่ราศีเมษ เฉพาะในเดือน ๕
เรียกว่าวันมหาสงกรานต์ เพราะถือว่าเป็นวัน เเละ เวลาตั้งต้นปีใหม่
คือ วันที่ ๑๓ เป็นวันต้น คือวันสงกรานต์ วันที่ ๑๔ วันกลาง คือ
วันเนา เเละ วันที่ ๑๕ วันสุดท้าย คือวันเถลิงศก วันสงกรานต์์ เป็น
ประเพณีที่ผู้คนมีความ สนุกสนานกัน หลังงานเก็บเกี่ยวว่างเว้นจาก
การทำาไร่ทำานา เป็นเวลาที่ ชาวเกษตรกร ได้พักผ่อน เวลาที่จะ
หาความสนุกใส่ตน ก่อนที่เวลา ที่จะต้องไปทำาการเพาะปลูก อีกครั้ง
ผู้คนสาดนำ้าใส่กัน ซึ่งหมายถึงอวยพร ให้เเก่กัน เเละขอให้โชคดี
พฤษภาคม วิส าขบูช า
"วิสาขะ" เเปลว่า เดือนที่ ๖ หรือ เรียกว่า "วิสาขมาส" ใน
รัชกาลทีสอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย หรง
่
โปรดเกล้าให้ทำาพิธี ถวายพระพร เนื่องในวันวิสาขบูชา
เป็นครั้งเเรกเมือ พศ 2360 (ในราชวงศ์รัตน์โกสินทร์ตอน
่
ต้น), ซึ่งเป็นประเพณีนิยมของชาวไทย มาครั้งตั้งเเต่ใน
สมัยกรุงสุโขทัย ในวันเพ็ญขึ้น ๑๕ คำ่า เดือน ๖ นี้ ชาวบ้าน
ร่วมกันประดับตกเเต่งบ้านเรือน เเละ วัดวาอาราม ด้วยโคม
มิถ ุน ายน หล่อ เทีย นพรรษา
ก่อนเข้าพรรษา ๑ เดือน ประมาณเดือน ๗ ชาว
บ้านจัดการเรี่ยไรขึ้ผง เเละ ร่วมกันทำาพิธหล่อ
ึ้
ี
เทียน เเละ เเกะสลัก ปิดทองอย่างสวยงาม เเห่
ขบวน เทียนประกวดเเข่งขันกันสนุกสนาน ในสมัย
กรุงรัตนโกสินทร์ มีพระราชพิธี ถวายเทียนพรรษา
ไปตามพระอารามหลวงที่สำาคัญๆ ซึ่งได้ปฏิบัติ
กรกฎาคม เข้า พรรษา
พรรษา เเปลว่า ฝน หรือ ฤดูฝน ฤดูเข้าพรรษาเริ่ม
ต้นเเต่วันเเรม ๑ คำ่า เดือน ๘ ราวกลางเดือน
กรกฎาคมของทุกๆปี จนถึงวันขึ้น ๑๕ คำ่า เดือน ๑๑
รวมเป็นเวลา ๓ เดือน เรียกว่า ไตรมาส ตลอดเวลา
เข้าพรรษานี้ ชาวบ้าน ตั้งใจละเว้นอบายมุขทั้งปวง
ทำาจิตใจให้ผ่องเเผ้ว เยือกเย็น เป็นการสร้าง กุศล
สิง หาคม โกนจุก
"โกนจุก" เป็นประเพณีไทยเเต่โบราณ เมือ เด็ก อายุค รบ
่
เดือ นได้ท ำา ขวัญ เดือ น เเละโกนผมไฟ เมื่อผมมีผม
ขึ้นใหม่ก็จะเอารัดจุกไว้ตรงกลางศรีษะ ทำาทังเด็กหญิง
้
เเละชาย, ซึ่งมีความหมายว่าเด็กทีมผมจุกนันเป็นผู้
่ ี
้
บริสุทธิ์ ไร้เดียงสา ก็จะได้รับความเมตตากรุณาตาม
สภาวะทีเป็นเด็ก เมือเด็กผู้หญิงอายุได้ ๑๑ ปี เเละ เด็ก
่
่
ผู้ชาย ๑๓ ปี บิดามารดาก็จะจัดงาน เเละตัดผมจุกออก
กัน ยายน สารท
"สารท " เเปลว่า ฤดูใ บไม้ร ่ว ง ประเพณีทำาบุญในวัน
สารทนี้ กำาหนดตรงสิ้นเดือน ๑๐ ชาวบ้านจะนำาโภชนาหาร
ทานวัตถุในพิธี เช่น ข้าวมทุปายาท ข้าวยาคุ ข้าวทิพย์
กระยาสารท เเละ กล้วยไข่ ซึ่งพอดีเป็นหน้ากล้วยไข่สุก ไป
ตักบาตรธารณะ เสร็จเเล้วก็จะเเจกจ่าย ให้ปันกระยาสารท
ทีเหลือเเก่เพือนบ้าน พิธ ีส ารทเป็น ระยะทีต ้น ข้า วออก
่
่
่
รวง เป็น นำ้า นม จึง จัด ทำา พิธ ีข ึ้น เพือ เป็น การรับ ขวัญ
รวงข้า ว เเละ เป็น ฤกษสิร ิม งคล เเก่ต ้น ข้า วในนาอีก
ด้ว ย
ตุล าคม เทศกาลทอดกฐิน
ประเพณีทอดกฐินนี้ได้ถือปฏิบัติมาตั้งเเต่สมัยกรุงสุโขทัย
เเละสืบทอด มาถึงปัจจุบัน ระยะเวลาทีให้มการทอดกระฐิน
่
ี
คือ ตั้ง เเต่ว ัน เเรม ๑ คำ่า เดือ น ๑๑ ไปจนถึง วัน ขึ้น
๑๕ คำ่า เดือ น ๑๒ เทศกาลทอดกฐินเป็นงานรื่นเริง ของ
ชาวบ้านในโอกาสทีจะได้ทำาบุญควบคู่ไปกับความ
่
สนุกสนาน ด้วยเป็นระยะทีหว่าน เเละ ดำาข้าวเเล้ว อีกไม่ชา
่
้
ก็จะเก็บได้ จึงเป็นช่วงที่ จะได้พักผ่อนก่อนงานเก็บเกี่ยว
การเลือกไปทอดกฐินที่ต่างถิ่น เพือเป็นการท่องเที่ยว
่
พฤศจิก ายน ลอยกระทง
ลอยกระทง คือวันเพ็ญเดือน ๑๒ ฤดูนำ้าหลาก อากาศปลอด
โปร่งเเจ่มใส ด้วยหมดฤดูฝนเเล้ว ชาวบ้านได้ประดิษฐ์
ประดอยกระทงด้วยใบตอง ตกเเต่งด้วยดอกไม้ เมือ
่
พระอาทิตย์ตกดิน ผู้คนก็เเต่งกายสวยงาม เเละนำากระทงออก
ไปด้วย จุดธูปเทียนในกระทงสว่างสวยงาม ลอยไปตามลำานำ้า
อย่างสวยงาม เพือเป็นการขอขมาต่อพระเเม่คงคา จุด
่
ประสงค์ของประเพณีลอยกระทงก็คือ เปิดโอกาสให้
ประชาชนได้นึก ถึง พระคุณ ของนำ้า เเละขออภัย พระ
เเม่ค งคาทีต นได้ใ ช้น ำ้า มาตลอด ในการดำารงชีพของตน
่
ธัน วาคม ตรุษ เลี้ย ง ขนมเบื้อ ง
ขนมเบื้อง คืออาหารชนิดหนึ่งทีมใส่ใส้ดวยกุ้ง พิธีเลี้ยงขนม
่ ี
้
เบื้อง เดือนอ้าย นับเป็นตรุษอย่างหนึง เฉพาะต้องเป็น หน้า
่
หนาว ตรุษเลี้ยงขนมเบื้องจะต้องเป็นฤดูห นาว เป็น เวลา ที่
นำ้าลดมีกุ้งชุกชุม เเละ ยังเป็นฤดูทกุ้งมีมนมากน่า จะทำาขนม
ี่
ั
เบื้องไส้กุ้ง เเต่กอนนัน การละเลงขนมเบื้องนีนบเป็น
่
้
้ ั
คุณสมบัติทได้รับความนิยมชมเชยด้วย อย่างหนึงของหญิง
ี่
่
สาวในความสามารถ ถึงในสมัย รัชกาลที่ ๔ ยังถือกันว่า
หญิงใดละเลงขนมเบื้องได้ จีบขนมจีบได้ ปอกมะปรางริ้วได้
จีบใบพลูได้ยาว คนนันมีค่าถึง ๑๐ ชั่ง ในสมัยนัน ๑๐ ชั่ง =
้
้
800 บาท, ซึงหมายความว่า ผู้หญิงคนนันมีคุณสมบัติที่ดี
่
้
ประเพณีท อ งถิ่น
้
ได้แ ก่ ประเพณีท ี่
เกี่ย วกับ อาชีพ เช่น
การลงแขกเกี่ย วข้า ว
ของภาคกลาง
ประเพณีก ารแต่ง
กาย ประเพณีก าร
แต่ง กาย ประเพณี
การละเล่น ในงาน
นัก ขัต ฤกษ์ เช่น การ
ละเล่น หนัง ตะลุง

ประเพณีร าชการ คือ
ประเพณีท ี่ท าง
ราชการเป็น ผู้
กำา หนดขึ้น จำา แนก
ได้เ ป็น 2 ประเภท
คือ รัฐ พิธ ีแ ละพระ
ราชพิธ ี
ความแตกต่างระหว่างพระราชพิธี
และรัฐพิธี
พระราชพิธี คือ
พิธการที่พระมหา
ี
กษัตริยทรงปฏิบติ
์
ั
พระราชกรณียกิจ
ตามกำาหนดที่เป็น
แบบแผนพระราช
ประเพณีมาแต่
โบราณ เป็นงาน

รัฐพิธี คือ พิธที่รัฐ
ี
จัดขึ้น เป็นงานพิธี
ของรัฐบาล ตลอด
จนกระทรวง ทบวง
กรม เป็นผูดาริจัด
้
ขึ้น แล้วกราบ
บังคมทูลขอ
พระราชทานพระ
พระราชพิธทรงบำาเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐ
ี
พระราชพิธีทรงบำาเพ็ญพระราชกุศลวิสาขบูชา
พระราชพิธีพชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
ื
พระราชพิธีฉัตรมงคล
พระราชพิธีสงกรานต์
พระราชพิธปใหม่
ี ี
อารยธรรมของชาติต ะวัน ตก
ที่ม ีต ่อ ไทยในสมัย
กรุง รัต นโกสิน ทร์
ก ารป รั บ ตั วขอ งไท ยด้ าน ต่ า งๆ ให้ ส อ ด ค ล้ อ งกั บ ส ถ าน ก ารณ์
การผ่ อ น ห นั กเ ป็ น เ บ า

การป ฏิ รู ป บ้ าน เ มื อ งให้ ทั น ส มั ย การผู ก มิ ต รกั บ ช าติ ม ห าอำา น าจยุ โ รป
การผ่อ นหนัก เป็น เบา
กระแสความกดดันในการล่า
อาณานิคมของชาติตะวันตก เริ่ม
รุนแรงมากในสมัยรัชกาลที่ 4 และ
ยิ่งทวีความรุนแรงในสมัยรัชกาลที่
5 ทำาให้กษัตริย์ทง 2 พระองค์ตอง
ั้
้
พยายามลดความกดดัน โดยทรง
ยอมทำาตามความต้องการของชาติ
มหาอำานาจตะวันตก
การปฏิร ูป บ้า น
เมือ งให้ท ัน สมัย

ด้า นการแต่ง กาย - รัช กาลที่ 4 โปรดให้
ใส่เ สือ เข้า เฝ้า และพัฒ นา การแต่ง กาย เช่น
้
เดีย วกับ ชาวยุโ รปใน สมัย รัช กาลที่ 5,6,7
2.1
2.2 ด้า นการศึก ษา

-ในสมัย รัช กาลที่ 4 แห่ง กรุง
รัต นโกสิน ทร์ ได้เ ชิญ แหม่ม แอนนามาสอน
ภาษาอัง กฤษ ให้ล ูก หลานรัช กาลที่ 4 แต่ก าร
ศึก ษาของไทย เริ่ม เป็น ทางการ ในสมัย
การปฏิร ูป ด้า นการปกครอง
รัช กาลที่ 4 ถึง รัช กาล
ที่ 7 รวมระยะเวลา
83 ปี นับ ว่า มีก าร
เปลี่ย นแปลงอย่า ง
ใหญ่ห ลวงถึง 2 ครั้ง
คือ ครั้ง แรกในสมัย
รัช กาลที่ 5 และใน
สมัย รัช กาลที่ 7
2.4 การจัด กองทัพ
- เป็น กอง
ทหารยุโ รป
การปฏิร ูป ทหาร
บกของไทย
แบบตะวัน ตก
เริ่ม ขึ้น ในสมัย
รัช กาลที่ 4 โดย
ปรับ ปรุง กองทัพ
ตามแบบ ยุโ รป
ไปทีล ะขั้น ตาม
2
2.5 การจัด ตัง ธนาคาร
้
และคลัง ออมสิน

- การ
ปรับ ปรุง
กฎหมายของ
ชาติอ ย่า งขนาน
ใหญ่ มิไ ด้
ดำา เนิน แก้ไ ข
ปรับ ปรุง ในทาง
ตัว บทกฎหมาย
อย่า งเดีย ว โดย
เฉพาะผู้ท ี่อ ยูใ น
่
6 ทรงปฏิร ูป ระบบเงิน ตรา
- การที่ม ีเ รือ
สิน ค้า ต่า งประเทศเข้า
มา จำา หน่า ยและซื้อ
สิน ค้า ไทยออกไป
เป็น เงิน คราวละมากๆ
ทำา ให้เ งิน พดด้ว งเป็น
สือ กลางในการซื้อ
่
ขายมีไ ม่เ พีย งพอ กับ
ความต้อ งการ เพราะ
พระคลัง มหาสมบัต ไ ม่
ิ
สามารถผลิต ได้ท ัน
การจัด ตั้ง ธนาคารและคลัง ออมสิน

BOOK CLUB
2.7 การจัด ตั้ง ธนาคารและคลัง
ออมสิน - ในสมัย รัช กาลที่ 5 ได้ม ก าร
ี
จัด ตั้ง ธนาคารขึ้น ครั้ง แรก ใน พ .ศ.
2431 ดำา เนิน การโดย ชาวต่า ง
ประเทศ ต่อ มาใน พ.ศ. 2449 พระเจ้า
น้อ งยาเธอกรมหมื่น มหิศ ราชหฤทัย (
พระองค์เ จ้า ไชยัน ตมงคล ) ได้เ ป็น ผู้
ก่อ ตั้ง ธนาคารแห่ง แรกที่ด ำา เนิน การ
โดยคนไทย ชือ บุค คลัภ ย์ (Book clu
่
b) ต่อ มาได้ร ับ พระบรมราชานุญ าต
ให้จ ดทะเบีย นตั้ง เป็น ธนาคาร ให้ถ ูก
2.8 การเลิก ทาส

หนัง สือ สัญ ญาซือ
้
ขายทาส
สมัย รัช กาลที่5

-

“ระบบทาส ” ใน

ประเทศไทยเป็น ส่ว น
หนึง ทีถ ่ว งความเจริญ
่ ่
ของบ้า นเมือ ง เพราะ
ขณะนัน ประเทศ
้
ตะวัน ตกได้ม ก ารตื่น
ี
ตัว เรื่อ งสิท ธิ เสรีภ าพ
พระองค์จ ึง แสดงให้
เห็น ว่า ทาสเป็น การ
แสดงให้เ ห็น ถึง
ความแตกต่า ง
ระหว่า ง มนุษ ย์ด ว ย
้
กัน และทำา ให้ค นไทย
ไม่ร ู้จ ัก หาวิธ ีก าร
การผูก มิต รกับ
ชาตมหาอำา นาจ

พระบาทสมเด็จ พระ
จุล จอมเกล้า เจ้า อยู่ห ว
ั
พระองค์ท รงมี
ประสบการณ์จ ากการ
เสด็จ ประพาส ประเทศ
ต่า งๆ ทัง ในทวีป เอเชีย
้
ทวีป ยุโ รป จึง ได้น ำา สิ่ง ที่
ได้พ บเห็น มาปรับ ปรุง
พัฒ นาประเทศให้ เจริญ
ก้า วหน้า แบบชาติต ะวัน
ตก เพือ สร้า งความ
่
สัม พัน ธ์อ ัน ดี ระหว่า ง
สรุป ผลที่ไ ทยได้ร ับ จากการรับ อารยธรรม
ตะวัน ตก
ส่ง ผลต่อ การพัฒ นาการด้า นต่า ง ๆ
1. ส่งผลต่อการปฏิรูปสังคมไทยให้ทันยุคทัน
เหตุการณ์
2. ส่งผลต่อการศึกษาของไทยให้ทันยุคทันสมัย
ยิ่งขึ้น
3. ส่งผลต่อการเปลี่ยนวัฒนธรรมประเพณีไทย
และศิลปกรรมเพื่อ
ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล

More Related Content

Similar to ประเพณีไทย

วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
Tongsamut vorasan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Cake WhiteChocolate
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
Dinhin Rakpong-Asoke
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
Chinnakorn Pawannay
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
Thammasat University
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
supreedada
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
pentanino
 
บุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟบุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟ
KruRatchy
 

Similar to ประเพณีไทย (20)

วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
เต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบเต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
9789740328667
97897403286679789740328667
9789740328667
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุการจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
บุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟบุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟ
 
Tha464 6
Tha464 6Tha464 6
Tha464 6
 

More from Thaiway Thanathep

รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์
Thaiway Thanathep
 
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาการค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
Thaiway Thanathep
 
ประเพณีไทย การแต่งงาน เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทย
ประเพณีไทย การแต่งงาน   เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทยประเพณีไทย การแต่งงาน   เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทย
ประเพณีไทย การแต่งงาน เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทย
Thaiway Thanathep
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Thaiway Thanathep
 

More from Thaiway Thanathep (7)

สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
 
รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์
 
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาการค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
 
มารยาทไทย
มารยาทไทยมารยาทไทย
มารยาทไทย
 
ประเพณีไทย การแต่งงาน เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทย
ประเพณีไทย การแต่งงาน   เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทยประเพณีไทย การแต่งงาน   เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทย
ประเพณีไทย การแต่งงาน เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทย
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 

ประเพณีไทย

  • 2. ความเชื่อ ความคิด การกระทำา ค่า นิยม ทัศนคติ ศีลธรรม ระเบียบ แบบแผน และวิธีการกระทำาสิงต่าง ๆ ่ ตลอดจนถึงการประกอบพิธีกรรมใน โอกาสต่าง ๆ ทีกระทำากันมาในอดีต ่ ลักษณะสำาคัญของประเพณี คือเป็น สิงทีเชือถือปฏิบตกันมาจนกลายเป็น ่ ่ ่ ั ิ แบบอย่างความคิดหรือการกระทำาที่
  • 3. >> ประเพณีเป็นกฎเกณฑ์หรือแบบแผนที่ สังคมกำาหนดขึ้นใช้ร่วมกันในหมู่สมาชิก ประเพณี จึงเป็นเครื่องหมายบอกความเป็นพวก เดียวกันของพวกที่ยึดถือในประเพณีเดียวกัน >> ประเพณีจัดว่าเป็นวัฒนธรรมประจำาชาติ หรือเป็นเอกลักษณ์ของสังคม แสดงว่า สังคม นั้นมีความเจริญมาตั้งแต่อดีตหรือมีลักษณะ เฉพาะของตนมาเป็นเวลานาน ดังนั้นการมี ประเพณี เป็นของตนเองจึงนับเป็นความภาค ภูมิใจอย่างยิ่ง
  • 4. >> ประเพณีมีส่วนสนับสนุนให้ประเทศชาติ เจริญรุ่งเรือง >> ประเพณีเป็นสิงเชือมโยงให้คนในสังคมมี ่ ่ ความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน >> ประเพณีเป็นรากฐานของกฎหมายของ ประเทศ
  • 5. ประเพณีที่เกี่ยวกับ ชีวิตหรือประเพณี ส่วนบุคคล หมายถึง ประเพณีที่เกี่ยวข้อง เฉพาะ บุคคลภายใน ครอบครัว ประเพณีเกี่ยวกับการ เกิด การบวช การ แต่งงาน การปลูกเรือน การจัดงานศพ ประเพณีที่เกี่ยวกับ กลุ่มบุคคลหรือ ประเพณีเกี่ยวกับ เทศกาล  หมายถึง ประเพณีใน ส่วน รวมที่กลุ่มบุคคลร่วม กันจัดขึ้น อาจจะ เกี่ยวกับการทำาบุญ หรือเพื่อความ
  • 6. มกราคม ฤดูเก็บเกี่ยว เดือนยีเมือการเก็บเกี่ยวข้าวในนาเเละนวดข้าวเสร็จสิ้นลง ่ ่ เกษตรกรชาวนาซึ่งทำางานหนัก เพราะต้องทำางานตรากตรำา กลางเเดดฝนอยู่ในโคลนตมเป็นเวลานานๆ เมือไถหว่านปัก ่ ดำา จนต้นข้าวงอกงามเติบโตเเละออกรวง ได้เก็บเกี่ยวพืช ผลทีลงเเรงไว้ เมือนวดข้าวเเละเก็บข้าวขึ้นใส่ยุ้งฉางเรียบ ่ ่ ร้อยเเล้ว เสร็จสิ้น การทำางานอีกครั้งหนึง ก็ร่วมกันทำาบุญ ่ ให้ทานเพือความเป็นสิริมงคล เเก่ตนเอง ครอบครัวเเละ ่
  • 7. กุม ภาพัน ธ์ เดือ นมาฆะ "มาฆะ" เเปลว่า เดือน ๓ ทางจันทรคติเรียกว่า มาฆ มาส หรือ มาฆบูชาจาตุรงคสันนิบาต วันมาฆบูชา กำาหนดตรงกับวันเพ็ญเดือน ๓ ของทุกๆปี พระราช พิธีกุศลวันมาฆบูชานี้ เกิดเมื่อครั้งรัชกาล พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรงมีพระ ราชดำาริว่า วันเพ็ญกลางเดือน ๓ เป็นวันพระจันทร์ เสวยมาฆศกษ์ มีเหตุการณ์สำาคัญยิ่ง จึงได้พระกรุณา โปรดเกล้าให้จัดทำาพิธีมาฆบูชาขึ้น
  • 8. มีน าคม วัน ตรุษ สิน ปี ้ พิธีทำาบุญวันตรุษเดือน ๔ หรือประเพณีการทำาบุญ วันตรุษสิ้นปี เริ่มตั้งเเต่วันเเรม ๑๔ คำ่า เดือน ๔ ไป จนถึง วันขึ้น ๑ คำ่า เดือน ๕ รวม ๓ วัน ตรุษนีบอก ้ กำาหนดสิ้นปี มีการทำาบุญให้ทาน เพื่อระลึกถึง สังขารที่ล่วงมา ด้วยดีอีกปีเเล้ว มีการยิงปืนใหญ่ จุด ประทัด ดอกไม้ไฟ ตีกลอง เคาะระฆัง เพื่อขับไล่ สิ่ง ชัวร้ายต่างๆ ออกจากเมือง ชาวบ้านต่างก็ทำาความ ่
  • 9. เมษายน รดนำ้า วัน สงกรานต์ ในวันเเละเวลาที่พระอาทิตย์ยกขึ้นสู่ราศีเมษ เฉพาะในเดือน ๕ เรียกว่าวันมหาสงกรานต์ เพราะถือว่าเป็นวัน เเละ เวลาตั้งต้นปีใหม่ คือ วันที่ ๑๓ เป็นวันต้น คือวันสงกรานต์ วันที่ ๑๔ วันกลาง คือ วันเนา เเละ วันที่ ๑๕ วันสุดท้าย คือวันเถลิงศก วันสงกรานต์์ เป็น ประเพณีที่ผู้คนมีความ สนุกสนานกัน หลังงานเก็บเกี่ยวว่างเว้นจาก การทำาไร่ทำานา เป็นเวลาที่ ชาวเกษตรกร ได้พักผ่อน เวลาที่จะ หาความสนุกใส่ตน ก่อนที่เวลา ที่จะต้องไปทำาการเพาะปลูก อีกครั้ง ผู้คนสาดนำ้าใส่กัน ซึ่งหมายถึงอวยพร ให้เเก่กัน เเละขอให้โชคดี
  • 10. พฤษภาคม วิส าขบูช า "วิสาขะ" เเปลว่า เดือนที่ ๖ หรือ เรียกว่า "วิสาขมาส" ใน รัชกาลทีสอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย หรง ่ โปรดเกล้าให้ทำาพิธี ถวายพระพร เนื่องในวันวิสาขบูชา เป็นครั้งเเรกเมือ พศ 2360 (ในราชวงศ์รัตน์โกสินทร์ตอน ่ ต้น), ซึ่งเป็นประเพณีนิยมของชาวไทย มาครั้งตั้งเเต่ใน สมัยกรุงสุโขทัย ในวันเพ็ญขึ้น ๑๕ คำ่า เดือน ๖ นี้ ชาวบ้าน ร่วมกันประดับตกเเต่งบ้านเรือน เเละ วัดวาอาราม ด้วยโคม
  • 11. มิถ ุน ายน หล่อ เทีย นพรรษา ก่อนเข้าพรรษา ๑ เดือน ประมาณเดือน ๗ ชาว บ้านจัดการเรี่ยไรขึ้ผง เเละ ร่วมกันทำาพิธหล่อ ึ้ ี เทียน เเละ เเกะสลัก ปิดทองอย่างสวยงาม เเห่ ขบวน เทียนประกวดเเข่งขันกันสนุกสนาน ในสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ มีพระราชพิธี ถวายเทียนพรรษา ไปตามพระอารามหลวงที่สำาคัญๆ ซึ่งได้ปฏิบัติ
  • 12. กรกฎาคม เข้า พรรษา พรรษา เเปลว่า ฝน หรือ ฤดูฝน ฤดูเข้าพรรษาเริ่ม ต้นเเต่วันเเรม ๑ คำ่า เดือน ๘ ราวกลางเดือน กรกฎาคมของทุกๆปี จนถึงวันขึ้น ๑๕ คำ่า เดือน ๑๑ รวมเป็นเวลา ๓ เดือน เรียกว่า ไตรมาส ตลอดเวลา เข้าพรรษานี้ ชาวบ้าน ตั้งใจละเว้นอบายมุขทั้งปวง ทำาจิตใจให้ผ่องเเผ้ว เยือกเย็น เป็นการสร้าง กุศล
  • 13. สิง หาคม โกนจุก "โกนจุก" เป็นประเพณีไทยเเต่โบราณ เมือ เด็ก อายุค รบ ่ เดือ นได้ท ำา ขวัญ เดือ น เเละโกนผมไฟ เมื่อผมมีผม ขึ้นใหม่ก็จะเอารัดจุกไว้ตรงกลางศรีษะ ทำาทังเด็กหญิง ้ เเละชาย, ซึ่งมีความหมายว่าเด็กทีมผมจุกนันเป็นผู้ ่ ี ้ บริสุทธิ์ ไร้เดียงสา ก็จะได้รับความเมตตากรุณาตาม สภาวะทีเป็นเด็ก เมือเด็กผู้หญิงอายุได้ ๑๑ ปี เเละ เด็ก ่ ่ ผู้ชาย ๑๓ ปี บิดามารดาก็จะจัดงาน เเละตัดผมจุกออก
  • 14. กัน ยายน สารท "สารท " เเปลว่า ฤดูใ บไม้ร ่ว ง ประเพณีทำาบุญในวัน สารทนี้ กำาหนดตรงสิ้นเดือน ๑๐ ชาวบ้านจะนำาโภชนาหาร ทานวัตถุในพิธี เช่น ข้าวมทุปายาท ข้าวยาคุ ข้าวทิพย์ กระยาสารท เเละ กล้วยไข่ ซึ่งพอดีเป็นหน้ากล้วยไข่สุก ไป ตักบาตรธารณะ เสร็จเเล้วก็จะเเจกจ่าย ให้ปันกระยาสารท ทีเหลือเเก่เพือนบ้าน พิธ ีส ารทเป็น ระยะทีต ้น ข้า วออก ่ ่ ่ รวง เป็น นำ้า นม จึง จัด ทำา พิธ ีข ึ้น เพือ เป็น การรับ ขวัญ รวงข้า ว เเละ เป็น ฤกษสิร ิม งคล เเก่ต ้น ข้า วในนาอีก ด้ว ย
  • 15. ตุล าคม เทศกาลทอดกฐิน ประเพณีทอดกฐินนี้ได้ถือปฏิบัติมาตั้งเเต่สมัยกรุงสุโขทัย เเละสืบทอด มาถึงปัจจุบัน ระยะเวลาทีให้มการทอดกระฐิน ่ ี คือ ตั้ง เเต่ว ัน เเรม ๑ คำ่า เดือ น ๑๑ ไปจนถึง วัน ขึ้น ๑๕ คำ่า เดือ น ๑๒ เทศกาลทอดกฐินเป็นงานรื่นเริง ของ ชาวบ้านในโอกาสทีจะได้ทำาบุญควบคู่ไปกับความ ่ สนุกสนาน ด้วยเป็นระยะทีหว่าน เเละ ดำาข้าวเเล้ว อีกไม่ชา ่ ้ ก็จะเก็บได้ จึงเป็นช่วงที่ จะได้พักผ่อนก่อนงานเก็บเกี่ยว การเลือกไปทอดกฐินที่ต่างถิ่น เพือเป็นการท่องเที่ยว ่
  • 16. พฤศจิก ายน ลอยกระทง ลอยกระทง คือวันเพ็ญเดือน ๑๒ ฤดูนำ้าหลาก อากาศปลอด โปร่งเเจ่มใส ด้วยหมดฤดูฝนเเล้ว ชาวบ้านได้ประดิษฐ์ ประดอยกระทงด้วยใบตอง ตกเเต่งด้วยดอกไม้ เมือ ่ พระอาทิตย์ตกดิน ผู้คนก็เเต่งกายสวยงาม เเละนำากระทงออก ไปด้วย จุดธูปเทียนในกระทงสว่างสวยงาม ลอยไปตามลำานำ้า อย่างสวยงาม เพือเป็นการขอขมาต่อพระเเม่คงคา จุด ่ ประสงค์ของประเพณีลอยกระทงก็คือ เปิดโอกาสให้ ประชาชนได้นึก ถึง พระคุณ ของนำ้า เเละขออภัย พระ เเม่ค งคาทีต นได้ใ ช้น ำ้า มาตลอด ในการดำารงชีพของตน ่
  • 17. ธัน วาคม ตรุษ เลี้ย ง ขนมเบื้อ ง ขนมเบื้อง คืออาหารชนิดหนึ่งทีมใส่ใส้ดวยกุ้ง พิธีเลี้ยงขนม ่ ี ้ เบื้อง เดือนอ้าย นับเป็นตรุษอย่างหนึง เฉพาะต้องเป็น หน้า ่ หนาว ตรุษเลี้ยงขนมเบื้องจะต้องเป็นฤดูห นาว เป็น เวลา ที่ นำ้าลดมีกุ้งชุกชุม เเละ ยังเป็นฤดูทกุ้งมีมนมากน่า จะทำาขนม ี่ ั เบื้องไส้กุ้ง เเต่กอนนัน การละเลงขนมเบื้องนีนบเป็น ่ ้ ้ ั คุณสมบัติทได้รับความนิยมชมเชยด้วย อย่างหนึงของหญิง ี่ ่ สาวในความสามารถ ถึงในสมัย รัชกาลที่ ๔ ยังถือกันว่า หญิงใดละเลงขนมเบื้องได้ จีบขนมจีบได้ ปอกมะปรางริ้วได้ จีบใบพลูได้ยาว คนนันมีค่าถึง ๑๐ ชั่ง ในสมัยนัน ๑๐ ชั่ง = ้ ้ 800 บาท, ซึงหมายความว่า ผู้หญิงคนนันมีคุณสมบัติที่ดี ่ ้
  • 18. ประเพณีท อ งถิ่น ้ ได้แ ก่ ประเพณีท ี่ เกี่ย วกับ อาชีพ เช่น การลงแขกเกี่ย วข้า ว ของภาคกลาง ประเพณีก ารแต่ง กาย ประเพณีก าร แต่ง กาย ประเพณี การละเล่น ในงาน นัก ขัต ฤกษ์ เช่น การ ละเล่น หนัง ตะลุง ประเพณีร าชการ คือ ประเพณีท ี่ท าง ราชการเป็น ผู้ กำา หนดขึ้น จำา แนก ได้เ ป็น 2 ประเภท คือ รัฐ พิธ ีแ ละพระ ราชพิธ ี
  • 19. ความแตกต่างระหว่างพระราชพิธี และรัฐพิธี พระราชพิธี คือ พิธการที่พระมหา ี กษัตริยทรงปฏิบติ ์ ั พระราชกรณียกิจ ตามกำาหนดที่เป็น แบบแผนพระราช ประเพณีมาแต่ โบราณ เป็นงาน รัฐพิธี คือ พิธที่รัฐ ี จัดขึ้น เป็นงานพิธี ของรัฐบาล ตลอด จนกระทรวง ทบวง กรม เป็นผูดาริจัด ้ ขึ้น แล้วกราบ บังคมทูลขอ พระราชทานพระ
  • 21. อารยธรรมของชาติต ะวัน ตก ที่ม ีต ่อ ไทยในสมัย กรุง รัต นโกสิน ทร์
  • 22.
  • 23. ก ารป รั บ ตั วขอ งไท ยด้ าน ต่ า งๆ ให้ ส อ ด ค ล้ อ งกั บ ส ถ าน ก ารณ์ การผ่ อ น ห นั กเ ป็ น เ บ า การป ฏิ รู ป บ้ าน เ มื อ งให้ ทั น ส มั ย การผู ก มิ ต รกั บ ช าติ ม ห าอำา น าจยุ โ รป
  • 24. การผ่อ นหนัก เป็น เบา กระแสความกดดันในการล่า อาณานิคมของชาติตะวันตก เริ่ม รุนแรงมากในสมัยรัชกาลที่ 4 และ ยิ่งทวีความรุนแรงในสมัยรัชกาลที่ 5 ทำาให้กษัตริย์ทง 2 พระองค์ตอง ั้ ้ พยายามลดความกดดัน โดยทรง ยอมทำาตามความต้องการของชาติ มหาอำานาจตะวันตก
  • 25. การปฏิร ูป บ้า น เมือ งให้ท ัน สมัย ด้า นการแต่ง กาย - รัช กาลที่ 4 โปรดให้ ใส่เ สือ เข้า เฝ้า และพัฒ นา การแต่ง กาย เช่น ้ เดีย วกับ ชาวยุโ รปใน สมัย รัช กาลที่ 5,6,7 2.1
  • 26. 2.2 ด้า นการศึก ษา -ในสมัย รัช กาลที่ 4 แห่ง กรุง รัต นโกสิน ทร์ ได้เ ชิญ แหม่ม แอนนามาสอน ภาษาอัง กฤษ ให้ล ูก หลานรัช กาลที่ 4 แต่ก าร ศึก ษาของไทย เริ่ม เป็น ทางการ ในสมัย
  • 27. การปฏิร ูป ด้า นการปกครอง รัช กาลที่ 4 ถึง รัช กาล ที่ 7 รวมระยะเวลา 83 ปี นับ ว่า มีก าร เปลี่ย นแปลงอย่า ง ใหญ่ห ลวงถึง 2 ครั้ง คือ ครั้ง แรกในสมัย รัช กาลที่ 5 และใน สมัย รัช กาลที่ 7
  • 28. 2.4 การจัด กองทัพ - เป็น กอง ทหารยุโ รป การปฏิร ูป ทหาร บกของไทย แบบตะวัน ตก เริ่ม ขึ้น ในสมัย รัช กาลที่ 4 โดย ปรับ ปรุง กองทัพ ตามแบบ ยุโ รป ไปทีล ะขั้น ตาม
  • 29. 2 2.5 การจัด ตัง ธนาคาร ้ และคลัง ออมสิน - การ ปรับ ปรุง กฎหมายของ ชาติอ ย่า งขนาน ใหญ่ มิไ ด้ ดำา เนิน แก้ไ ข ปรับ ปรุง ในทาง ตัว บทกฎหมาย อย่า งเดีย ว โดย เฉพาะผู้ท ี่อ ยูใ น ่
  • 30. 6 ทรงปฏิร ูป ระบบเงิน ตรา - การที่ม ีเ รือ สิน ค้า ต่า งประเทศเข้า มา จำา หน่า ยและซื้อ สิน ค้า ไทยออกไป เป็น เงิน คราวละมากๆ ทำา ให้เ งิน พดด้ว งเป็น สือ กลางในการซื้อ ่ ขายมีไ ม่เ พีย งพอ กับ ความต้อ งการ เพราะ พระคลัง มหาสมบัต ไ ม่ ิ สามารถผลิต ได้ท ัน
  • 32. 2.7 การจัด ตั้ง ธนาคารและคลัง ออมสิน - ในสมัย รัช กาลที่ 5 ได้ม ก าร ี จัด ตั้ง ธนาคารขึ้น ครั้ง แรก ใน พ .ศ. 2431 ดำา เนิน การโดย ชาวต่า ง ประเทศ ต่อ มาใน พ.ศ. 2449 พระเจ้า น้อ งยาเธอกรมหมื่น มหิศ ราชหฤทัย ( พระองค์เ จ้า ไชยัน ตมงคล ) ได้เ ป็น ผู้ ก่อ ตั้ง ธนาคารแห่ง แรกที่ด ำา เนิน การ โดยคนไทย ชือ บุค คลัภ ย์ (Book clu ่ b) ต่อ มาได้ร ับ พระบรมราชานุญ าต ให้จ ดทะเบีย นตั้ง เป็น ธนาคาร ให้ถ ูก
  • 33. 2.8 การเลิก ทาส หนัง สือ สัญ ญาซือ ้ ขายทาส สมัย รัช กาลที่5 - “ระบบทาส ” ใน ประเทศไทยเป็น ส่ว น หนึง ทีถ ่ว งความเจริญ ่ ่ ของบ้า นเมือ ง เพราะ ขณะนัน ประเทศ ้ ตะวัน ตกได้ม ก ารตื่น ี ตัว เรื่อ งสิท ธิ เสรีภ าพ พระองค์จ ึง แสดงให้ เห็น ว่า ทาสเป็น การ แสดงให้เ ห็น ถึง ความแตกต่า ง ระหว่า ง มนุษ ย์ด ว ย ้ กัน และทำา ให้ค นไทย ไม่ร ู้จ ัก หาวิธ ีก าร
  • 34. การผูก มิต รกับ ชาตมหาอำา นาจ พระบาทสมเด็จ พระ จุล จอมเกล้า เจ้า อยู่ห ว ั พระองค์ท รงมี ประสบการณ์จ ากการ เสด็จ ประพาส ประเทศ ต่า งๆ ทัง ในทวีป เอเชีย ้ ทวีป ยุโ รป จึง ได้น ำา สิ่ง ที่ ได้พ บเห็น มาปรับ ปรุง พัฒ นาประเทศให้ เจริญ ก้า วหน้า แบบชาติต ะวัน ตก เพือ สร้า งความ ่ สัม พัน ธ์อ ัน ดี ระหว่า ง
  • 35. สรุป ผลที่ไ ทยได้ร ับ จากการรับ อารยธรรม ตะวัน ตก ส่ง ผลต่อ การพัฒ นาการด้า นต่า ง ๆ 1. ส่งผลต่อการปฏิรูปสังคมไทยให้ทันยุคทัน เหตุการณ์ 2. ส่งผลต่อการศึกษาของไทยให้ทันยุคทันสมัย ยิ่งขึ้น 3. ส่งผลต่อการเปลี่ยนวัฒนธรรมประเพณีไทย และศิลปกรรมเพื่อ ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล