O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

K-means_AI.pptx

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Próximos SlideShares
strategicmanagement.ppt
strategicmanagement.ppt
Carregando em…3
×

Confira estes a seguir

1 de 20 Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Mais recentes (20)

Anúncio

K-means_AI.pptx

  1. 1. K-means Clustering
  2. 2. K-means Clustering ◍K-means การจัดกลุ่มแบบ K-means หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การวิเคราะห์กลุ่มแบบไม่เป็น ขั้นตอน (Nonhierarchical Cluster Analysis) หรือ การแบ่งส่วน (Partioning) ◍K-means เป็นอัลกอริทึมเทคนิคการเรียนรู้โดยไม่มีผู้สอนที่ง่ายที่สุด เพราะเป็น การแก้ปัญหาการจัดกลุ่มที่รู้จัก กันทั่วไป โดยอัลกอริทึม K-Means จะตัดแบ่ง (Partition) วัตถุออกเป็น K กลุ่ม และแทนค่าแต่ละ กลุ่มด้วยค่าเฉลี่ยของกลุ่ม ซึ่งใช้เป็นจุดศูนย์กลาง (centroid) ของกลุ่มในการวัดระยะห่างของข้อมูลในกลุ่ม เดียวกัน
  3. 3. “ วิธีการ 1.กำหนดหรือสุ่มค่ำเริ่มต ้น จำนวน k ค่ำ(กลุ่ม) และกำหนดจุด ศูนย์กลำงเริ่มต ้น k จุด เรียกว่ำ cluster centers หรือ(centroid) 2. นำวัตถุทั้งหมดจัดเข ้ำกลุ่ม โดยทำกำรหำค่ำระยะห่ำงระหว่ำงข ้อมูล กับจุดศูนย์กลำง หำกข ้อมูลไหนใกล ้ค่ำจุดศูนย์กลำงตัวไหนที่สุดอยู่ กลุ่มนั้น 3. หำค่ำเฉลี่ย แต่ละกลุ่ม ให ้เป็นค่ำจุดศูนย์กลำงใหม่ 4. ทำซ้ำข ้อ 2 จนกระทั่งค่ำเฉลี่ยหรือจุดศูนย์กลำงในแต่ละกลุ่มจะไม่ เปลี่ยนแปลงจึง หยุดทำ วิธีการทา K-Mean Clustering
  4. 4. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering
  5. 5. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering ◍สุ่มค่าเริ่มต้น จานวน k ค่า เรียกว่า cluster centers (centroid) ◍สมมติ k =3 แสดงว่า c1,c2และc3 เป็น centroidที่เราสุ่มขึ้นมาc1(2, 10),c2(5,8) และ c3(1,2)
  6. 6. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering ขั้นตอนที่ 1 ◍หาความห่างกันระหว่างข้อมูล 2 ข้อมูล คือ หาความห่างจากข้อมูลA=(x1,y1)และcentroid =(x2,y2) โดยใช้สูตรEuclidean ดังนี้ ◍และนาไปใส่ในตาราง หรือ
  7. 7. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering ขั้นตอนที่ 2 หาระยะห่างระหว่างข้อมูลกับจุดศูนย์กลาง (ตัวอย่างบางชุดข้อมูล)
  8. 8. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering เมื่อใส่ข้อมูลในตารางจะได้การจัดกลุ่มข้อมูลดังต่อไปนี้ และนาไปสร้างกลุ่มใหม่ Point c1(2,10) c2(5,8) c3(1,2) Cluster A1 (2,10) 0.00 3.61 8.06 1 A2 (2,5) 5.00 4.24 3.16 3 A3 (8,4) 8.49 5.00 7.29 2 A4 (5,8) 3.61 0.00 7.21 2 A5 (7,5) 7.07 3.60 6.71 2 A6 (6,4) 7.21 4.12 5.39 2 A7 (1,2) 8.06 7.21 0.00 3 A8 (4,9) 2.24 1.41 7.62 2
  9. 9. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering ◍นามาสร้างกลุ่มใหม่ ◍จะได้การจัดกลุ่มใหม่ดังภาพ Custer 1 A1 (2,10) Custer 2 A3(8,4) A4(5,8) A5(7,5) A6(6,4) Custer 3 A2(2,5) A8(1,2)
  10. 10. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering ขั้นตอนที่ 3 หาค่าเฉลี่ยแต่ละกลุ่มให้เป็น ค่าจุดศูนย์กลางใหม่ สาหรับCluster 1 มีจุดเดียวคือ A1(2, 10) แสดงว่า C1(2,10) ยังคงเดิม สาหรับ Cluster 2 มี 5 จุดอยู่กลุ่มเดียวกัน เพราะฉะนั้นหา C2 ใหม่ ( (8+5+7+6+4)/5, (4+8+5+4+9)/5 ) = C2(6,6) สาหรับ Cluster 3 มี 2 จุดอยู่กลุ่มเดียวกัน ( (2+1)/2, (5+2)/2 ) =C3(1.5,3.5)
  11. 11. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering รอบที่ 2 ทาตามวิธีที่ 1-4 จะได้ผลลัพธ์ดังนี้ Point c1(2,10) c2(6,6) c3(1.5,3.5) Cluster A1 (2,10) 0.00 5.66 6.52 1 A2 (2,5) 5.00 4.12 1.58 3 A3 (8,4) 8.49 2.83 6.52 2 A4 (5,8) 3.60 2.24 5.70 2 A5 (7,5) 7.07 1.41 5.70 2 A6 (6,4) 7.21 2.00 4.53 2 A7 (1,2) 8.06 6.40 1.58 3 A8 (4,9) 2.24 3.61 6.04 1
  12. 12. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering รอบที่ 2 Custer 1 A1(2,10) A8(4,9) Custer 2 A3(8,4) A4(5,8) A5(7,5) A6(6,4) Custer 3 A2(2,5) A7(1,2) สร้างกลุ่มใหม่ หาจุดศูนย์กลางใหม่จะได้ C1=(2+4/2,10+9/2)=(3,9.5) C2=(6.5,5.25) C3=(1.5,3.5)
  13. 13. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering รอบที่ 3 Point c1(3,9.5) c2(6.5,5.25) c3(1.5,3.5) Clust er A1 (2,10) 1.11 6.54 6.52 1 A2 (2,5) 4.61 4.50 1.58 3 A3 (8,4) 7.43 1.96 6.52 2 A4 (5,8) 2.50 3.13 5.70 1 A5 (7,5) 6.02 0.56 5.70 2 A6 (6,4) 6.26 1.35 4.53 2 A7 (1,2) 7.76 6.39 1.58 3 A8 (4,9) 1.12 4.50 6.04 1
  14. 14. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering รอบที่ 3 สร้างกลุ่มใหม่ หาจุดศูนย์กลางใหม่จะได้ C1=(3.67,9) C2=(7,4.33) C3=(1.5,3.5) Custer 1 A1(2,10) A8(4,9) A4(5,8) Custer 2 A3(8,4) A4(5,8) A6(6,4) Custer 3 A2(2,5) A7(1,2)
  15. 15. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering รอบที่ 4 Point c1(3.67,9) c2(7,4.33) c3(1.5,3.5) Cluster A1 (2,10) 1.94 7.56 6.52 1 A2 (2,5) 4.33 5.04 1.58 3 A3 (8,4) 6.62 1.05 6.52 2 A4 (5,8) 1.67 4.18 5.70 1 A5 (7,5) 5.21 0.67 5.70 2 A6 (6,4) 5.52 1.05 4.53 2 A7 (1,2) 7.49 6.44 1.58 3 A8 (4,9) 0.33 5.55 6.04 1
  16. 16. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering รอบที่ 4 Custer 1 A1(2,10) A8(4,9) A4(5,8) Custer 2 A3(8,4) A4(5,8) A6(6,4) Custer 3 A2(2,5) A7(1,2) Stop **เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้หยุดการทางาน** สร้างกลุ่มใหม่ หาจุดศูนย์กลางใหม่จะได้ C1=(3.67,9) C2=(7,4.33) C3=(1.5,3.5)
  17. 17. ตัวอย่างการทา K-Mean Clustering ผลลัพธ์ จะได้ผลลัพธ์ดังภาพ ก่อน ผลลัพธ ์
  18. 18. “ 1.เมื่อจำนวนข ้อมูลมีจำนวนมำก และมีจำนวนกลุ่มน้อย กำรหำ ค่ำเฉลี่ยแบบ K- means อำจจะคำนวณได ้เร็วกว่ำ กำรจัดกลุ่ม แบบอื่น ๆ (Hierarchical) 2.ขั้นตอนกำรหำค่ำเฉลี่ยแบบ K-means อำจจะได ้สมำชิก ภำยในกลุ่ม หนำแน่น กว่ำกำรจัดกลุ่มแบบ Hierarchical โดยเฉพำะถ ้ำกลุ่มเป็นวงกลม ข้อดีของการทา K-Mean Clustering
  19. 19. “ 1. กำรหำค่ำ K ที่เหมำะสมคำดเดำได ้ยำก 2. ทำงำนได ้ไม่ดีถ ้ำกลุ่มข ้อมูลไม่เป็นรูปวงกลม 3. มีข ้อจำกัดในเรื่องของขนำด ควำมหนำแน่น และรูปร่ำง ข้อด้อยของการทา K-Mean Clustering
  20. 20. สมาชิก ◍1.นำงสำวภัทรพรแสงสัมพันธ์ รหัสนิสิต 57160198 ◍2.นำงสำวชำลินีศิลำรัตน์ รหัสนิสิต 57160406 ◍3.นำงสำวณิชำนันทน์แดงมำ รหัสนิสิต 57160410 ◍4.นำงสำวชลิดำพงศ์จริยำ รหัสนิสิต 57160566 ◍5.นำงสำวเบญจมำศแควภูเขียว รหัสนิสิต 57160580 ◍6.นำงสำวปภัสวรรณคำทูม รหัสนิสิต 57160583

×