SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง 
ระดับภาษา 
ครูฮาดี บินดู่เหล็ม 
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ระดับภาษา 
ระดับภาษา คือ การใช้ภาษาพูดหรือภาษาเขียน 
ในโอกาสที่แตกต่าง หรือใช้กับผู้รับสารแต่ละ 
บุคคลย่อมมีการใช้ภาษาที่แตกต่างกันไป
ระดับภาษา 
ระดับที่เป็นทางการ ( แบบแผน ) 
ระดับที่ไม่เป็นทางการ ( ไม่เป็นแบบแผน ) 
ระดับทางการ ( แบบแผน ) 
ระดับกึ่งทางการ ( กึ่งแบบแผน ) 
ระดับไม่เป็นทางการ (ไม่เป็นแบบแผนหรือภาษาปาก ) 
ระดับพิธีการ 
ระดับทางการ 
ระดับกึ่งทางการ 
ระดับไม่เป็นทางการ : ระดับสนทนา 
ระดับปาก (กันเอง)
ระดับของภาษาแบ่งตาม การใช้ภาษาตามสัมพันธภาพ 
ของบุคคล ตามโอกาสและกาลเทศะ แบ่งออกเป็น ๕ ระดับ 
ภาษาระดับพิธีการ 
ภาษาระดับทางการ 
ภาษาระดับกึ่งทางการ 
ภาษาระดับสนทนา 
ภาษาระดับกันเอง
๑. ภาษาระดับพิธีการ 
 เป็นภาษาที่มีการเลือกสรรถ้อยคาในระดับสูง ไพเราะ สละสลวย 
 โอกาสที่ใช้ภาษาระดับนี้จะเป็นงานพิธีที่มีความสาคัญ 
 สัมพันธภาพระหว่างผู้รับสารกับผู้ส่งสารจะเป็นในลักษณะการ 
สื่อสาร แบบทางเดียว 
 เช่น คากราบบังคมทูลในงานพระราชพิธี พระบรมราโชวาท สุนทร 
พจน์ วรรณคดีมรดก เป็นต้น
ตัวอย่าง 
เนื่องในวโรกาสอันเป็นมหามงคลที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทเจริญพระ 
ชนมพรรษาครบ ๖ รอบ ปวงประชาชาวไทยขอน้อมเกล้าฯ ถวายพระพรชัย ขอให้ 
สิ่งศักด์ิสิทธ์ิอันทรงมหาพลานุภาพทั้งหลาย จงโปรดอภิบาลบันดาลดลให้ใต้ฝ่า 
ละอองธุลีพระบาทจงเจริญด้วยมิ่งมหาศุภสวัสด์ิ เจริญพระชนมพรรษานับหมื่น ๆ 
ศตพรรษ สถิตเสถียรเป็นร่มโพธ์ิทองของปวงประชาชาวไทย ตราบชั่วกัลปาวสาน 
( ภาวาส บุนนาค . “ ราชาภิสดุดี ” ใน ภาษาพิจารณ์ เล่ม ๒, หน้า ๑๓๙.)
๒. ภาษาระดับทางการ 
 เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ภาษาแบบแผน 
 เป็นภาษาที่มีการเลือกสรรถ้อยคาอย่างถูกต้องตามแบบแผนของ 
ภาษาไทยที่ดี ใช้ถ้อยคาสุภาพ อาจมีการใช้ศัพท์ทางวิชาการปะปนอยู่ 
ด้วย 
 เกิดขึ้นเนื่องจากตาแหน่งหน้าที่ หรือการติดต่อประสานงานที่เป็น 
ทางการเท่านั้น 
 เช่น การเขียนรายงานทางวิชาการ งานวิจัย ตา รา บทความทางวิชาการ 
หนังสือราชการ เป็นต้น
ตัวอย่าง 
ขอพระบรมเดชานุภาพมหึมาแห่งสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชจง 
คุ้มครองประเทศชาติและประชาชนชาวไทยให้ผ่านพ้นสรรพอุปัทว์พิบัติภัยทั้ง 
ปวง อริราชศัตรูภายนอกอย่าล่วงเข้าทาอันตรายได้ ศัตรูหมู่พาลภายในให้วอด 
วายพ่ายแพ้ภัยตัว บันดาลความสุขความมั่นคงให้บังเกิดทั่วภูมิมณฑล บันดาล 
ความร่มเย็นแก่อเนกนิกรชนครบคามเขตขอบขัณฑสีมา
๓. ภาษาระดับกึ่งทางการ 
 เป็นภาษาที่ใช้เพื่อการสื่อสารให้เกิดความเข้าใจกันด้วยความรวดเร็ว 
ลดความเป็นทางการลงบ้าง เพื่อให้เกิดความใกล้ชิดยงิ่ขึ้นระหว่างผู้ 
ส่งสารและผู้รับสาร 
 มักใช้ในการปรึกษาหารือกิจธุระระหว่างบุคคลหรือกลุ่มบุคคล การ 
ประชุมกลุ่ม การปรึกษางาน การวางแผนร่วมกัน ฯลฯ 
 มีการเปิดโอกาสให้ผู้รับสารมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นร่วมกับผู้ 
ส่งสาร 
 เช่น วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ บทบรรยายในนวนิยาย
ตัวอย่าง 
“… หนังเรื่องนี้มีโครงเรื่องหลักอยู่ที่การเปลี่ยนแปลงของ 
ภูมิอากาศโลกในองค์รวม อันเป็นผลพวงจากปฏิกิริยาเรือนกระจก หรือ 
green house effect ซึ่งเกิดจากน้ามือมนุษย์โลกอย่างเราๆทั้งนั้น ไม่ว่า 
จะเป็นการเผาไหม้เชื้อเพลิงให้เกิดความร้อนและควันลอยขึ้นไปเกิดเป็น 
ชั้นห่อหุ้มโลกไว้ ส่งผลให้รังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ที่ส่องลงมายัง 
โลกสะท้อนกลับออกไปในห้วงอวกาศไม่ได้โลกเลยกลายเป็นเตาอบยักษ์ 
ที่ร้อนขึ้นเรื่อยๆ…” 
(ชาธร สิทธิเคหภาค, ๒๕๔๗: ๑๑๒)
๔. ภาษาระดับสนทนา (ไม่เป็นทางการ) 
 เป็นภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีความสัมพันธ์ยังไม่ถึง 
ขั้นสนิทสนม 
 ใช้เฉพาะการพูด การสนทนาในชีวิตประจาวัน เช่น การพูดจากัน 
ระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนที่มาติดต่องาน หรือการแนะ นาตัวใน 
งานสังคม โดยที่บุคคลที่เกี่ยวข้องไม่เคยรู้จักกันมาก่อน 
 มักจะนาไปใช้ถ่ายทอดในงานเขียนเรื่องบันเทิงคดี เช่น บทสนทนา 
ในนวนิยายหรือเรื่องสั้น บทละคร การเขียนบันทึกส่วนตัว เป็นต้น
ตัวอย่าง 
บทความเรื่องเขาอีโต้ สถานีความมันเชิงเขาใหญ่ ในคอลัมน์BikeLine 
ความว่า “...ความตั้งใจในการเดินทางของผมครั้งนี้อยู่ที่การหาเส้นทาง 
ซอกแซกไปที่น้าตกเหวอีอ่า ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ แต่ความตั้งใจมิเป็นผล 
เมื่อเจ้าหน้าที่อุทยานฯที่หน่วยพิทักษ์ป่าคลองเพกาปฏิเสธอย่างนิ่มนวลว่า ไม่ 
สามารถอนุญาตให้ขึ้นไปปั่นจักรยานได้ เนื่องจากยังไม่มีนโยบายให้ปั่น 
จักรยานขึ้นไปเที่ยวน้าตกเหวอีอา่ ซึ่งคงจะต้องรอไปอีกพักใหญ่ๆ เพราะอยู่ 
ในช่วงสารวจจัดทาเส้นทาง โดยทางอุทยานฯมีแนวคิดที่จะเปิดให้จักรยานเสือ 
ภูเขาขึ้นไปอยู่แล้ว แต่เมื่อไหร่ยังไม่ทราบ เป็นคา ปฏิเสธที่นุ่มนวล เราจึงได้แต่ 
น้อมรับโดยดี…” (หมูหวาน, ๒๕๔๗: ๗๒)
๕. ภาษาระดับปาก หรือภาษาระดับกันเอง 
 เป็นภาษาที่ใช้ในวงจากัด ใช้กับบุคคลที่สนิทสนมคุ้นเคยกันเป็นพิเศษ 
เช่น ระหว่างเพื่อนสนิท บุคคลในครอบครัว 
 สื่อสารกันในเนื้อหาที่รับรู้กันได้เฉพาะคู่สนทนาเท่านั้น 
 สถานที่ใช้มักเป็นที่ส่วนตัว เช่น ที่บ้าน 
 เน้นความสนุกสนาน ไม่นิยมบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร 
 สารที่สื่อถึงกันไม่มีขอบเขต แต่มักใช้ในการพูดจากันเท่านั้น 
 อาจปรากฏอยู่ในบทสนทนานวนิยายหรือเรื่องสั้นเพอื่ความสมจริง 
บทความเสียดสีล้อเลียนในหน้าหนังสือพิมพ์ เป็นต้น
ตัวอย่าง 
บทสนทนาจากนวนิยายเรื่องมายาตะวัน กล่าวว่า 
“เออ นังบ้า ไป ไปนั่งรวมกันที่เก้าอี้โน่น จาไว้ ถ้าคิดหนีฉันยิงจริงๆ ไอ้ชิด 
เอ็งดูนังสองตัวนี่ให้ดี ถ้ามันไปที่ประตูเมื่อไหร่ยิงมันได้เลย” เชนขู่เสียงเกรี้ยว 
(กิ่งฉัตร, ๒๕๔๙: ๔๖๒)
ภาษาแบบแผน 
ภาษาที่ 
เป็นทางการ 
ตัวอย่าง 
ภาษากึ่งแบบแผน 
ภาษากึ่งทางการ 
ภาษาปาก 
ภาษาไม่เป็นทางการ 
ขา้พเจ้า กระผม ดิฉัน ผม ฉนั เรา ผม ฉนั หนู 
บิดา คุณพ่อ พ่อ 
มารดา คุณแม่แม่ 
โรงภาพยนตร์ โรงหนัง โรงหนัง 
ใบอนุญาตขับรถยนต์ใบขับขี่ใบขับขี่ 
หนังสือรับรอง ใบรับรอง ใบรับรอง 
ดวงตราไปรษณียากร แสตมป์ แสตมป์ 
กรงุเทพมหานคร กรงุเทพ ฯ บางกอก 
ศีรษะ หัว กบาล 
ฌาปนกิจศพ ปลงศพ เผาศพ 
ประทับตรา ตีตรา ตีตรา ปั๊มตรา 
รับประทาน กิน ยัด แดก ซัด กิน ยัด แดก ซัด 
ดมื่สุรา ดมื่เหล้า กินเหล้า ถองเหล้า ซัดเหล้า
หลักการใช้ภาษาให้ถูกต้องตามระดับภาษา 
 การใช้ภาษาระดับใดในการสื่อสารจึงจะเหมาะสมนั้น ควรพิจารณาดังนี้ 
 ๑.สัมพันธภาพระหว่างบุคคล 
 ๒. กาลเทศะ 
 ๓. เนื้อของสาระ 
 ๔. วิธีการสื่อสาร

More Related Content

What's hot

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
pupphawittayacom
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
Thiranan Suphiphongsakorn
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
bambookruble
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
ขนิษฐา ทวีศรี
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
supaporn2516mw
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 

What's hot (20)

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 

Viewers also liked

การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
krukanteera
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
Laongphan Phan
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (16)

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ภาษาไทย ม.6
ภาษาไทย ม.6ภาษาไทย ม.6
ภาษาไทย ม.6
 
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 

Similar to ระดับของภาษา

ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
Chaichan Boonmak
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
monnawan
 
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิงแผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
Aing Aingg
 

Similar to ระดับของภาษา (20)

ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
1
11
1
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
9789740329787
97897403297879789740329787
9789740329787
 
111
111111
111
 
งานแผ่นพับ
งานแผ่นพับงานแผ่นพับ
งานแผ่นพับ
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
Tha203 3
 
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิงแผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
 
ปฐมวัย
ปฐมวัยปฐมวัย
ปฐมวัย
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง (20)

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
 
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่านหน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดูหน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
 
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำหน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
 
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบIS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 

ระดับของภาษา

  • 1. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ระดับภาษา ครูฮาดี บินดู่เหล็ม โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
  • 2. ระดับภาษา ระดับภาษา คือ การใช้ภาษาพูดหรือภาษาเขียน ในโอกาสที่แตกต่าง หรือใช้กับผู้รับสารแต่ละ บุคคลย่อมมีการใช้ภาษาที่แตกต่างกันไป
  • 3. ระดับภาษา ระดับที่เป็นทางการ ( แบบแผน ) ระดับที่ไม่เป็นทางการ ( ไม่เป็นแบบแผน ) ระดับทางการ ( แบบแผน ) ระดับกึ่งทางการ ( กึ่งแบบแผน ) ระดับไม่เป็นทางการ (ไม่เป็นแบบแผนหรือภาษาปาก ) ระดับพิธีการ ระดับทางการ ระดับกึ่งทางการ ระดับไม่เป็นทางการ : ระดับสนทนา ระดับปาก (กันเอง)
  • 4. ระดับของภาษาแบ่งตาม การใช้ภาษาตามสัมพันธภาพ ของบุคคล ตามโอกาสและกาลเทศะ แบ่งออกเป็น ๕ ระดับ ภาษาระดับพิธีการ ภาษาระดับทางการ ภาษาระดับกึ่งทางการ ภาษาระดับสนทนา ภาษาระดับกันเอง
  • 5. ๑. ภาษาระดับพิธีการ  เป็นภาษาที่มีการเลือกสรรถ้อยคาในระดับสูง ไพเราะ สละสลวย  โอกาสที่ใช้ภาษาระดับนี้จะเป็นงานพิธีที่มีความสาคัญ  สัมพันธภาพระหว่างผู้รับสารกับผู้ส่งสารจะเป็นในลักษณะการ สื่อสาร แบบทางเดียว  เช่น คากราบบังคมทูลในงานพระราชพิธี พระบรมราโชวาท สุนทร พจน์ วรรณคดีมรดก เป็นต้น
  • 6. ตัวอย่าง เนื่องในวโรกาสอันเป็นมหามงคลที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทเจริญพระ ชนมพรรษาครบ ๖ รอบ ปวงประชาชาวไทยขอน้อมเกล้าฯ ถวายพระพรชัย ขอให้ สิ่งศักด์ิสิทธ์ิอันทรงมหาพลานุภาพทั้งหลาย จงโปรดอภิบาลบันดาลดลให้ใต้ฝ่า ละอองธุลีพระบาทจงเจริญด้วยมิ่งมหาศุภสวัสด์ิ เจริญพระชนมพรรษานับหมื่น ๆ ศตพรรษ สถิตเสถียรเป็นร่มโพธ์ิทองของปวงประชาชาวไทย ตราบชั่วกัลปาวสาน ( ภาวาส บุนนาค . “ ราชาภิสดุดี ” ใน ภาษาพิจารณ์ เล่ม ๒, หน้า ๑๓๙.)
  • 7. ๒. ภาษาระดับทางการ  เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ภาษาแบบแผน  เป็นภาษาที่มีการเลือกสรรถ้อยคาอย่างถูกต้องตามแบบแผนของ ภาษาไทยที่ดี ใช้ถ้อยคาสุภาพ อาจมีการใช้ศัพท์ทางวิชาการปะปนอยู่ ด้วย  เกิดขึ้นเนื่องจากตาแหน่งหน้าที่ หรือการติดต่อประสานงานที่เป็น ทางการเท่านั้น  เช่น การเขียนรายงานทางวิชาการ งานวิจัย ตา รา บทความทางวิชาการ หนังสือราชการ เป็นต้น
  • 8. ตัวอย่าง ขอพระบรมเดชานุภาพมหึมาแห่งสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชจง คุ้มครองประเทศชาติและประชาชนชาวไทยให้ผ่านพ้นสรรพอุปัทว์พิบัติภัยทั้ง ปวง อริราชศัตรูภายนอกอย่าล่วงเข้าทาอันตรายได้ ศัตรูหมู่พาลภายในให้วอด วายพ่ายแพ้ภัยตัว บันดาลความสุขความมั่นคงให้บังเกิดทั่วภูมิมณฑล บันดาล ความร่มเย็นแก่อเนกนิกรชนครบคามเขตขอบขัณฑสีมา
  • 9. ๓. ภาษาระดับกึ่งทางการ  เป็นภาษาที่ใช้เพื่อการสื่อสารให้เกิดความเข้าใจกันด้วยความรวดเร็ว ลดความเป็นทางการลงบ้าง เพื่อให้เกิดความใกล้ชิดยงิ่ขึ้นระหว่างผู้ ส่งสารและผู้รับสาร  มักใช้ในการปรึกษาหารือกิจธุระระหว่างบุคคลหรือกลุ่มบุคคล การ ประชุมกลุ่ม การปรึกษางาน การวางแผนร่วมกัน ฯลฯ  มีการเปิดโอกาสให้ผู้รับสารมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นร่วมกับผู้ ส่งสาร  เช่น วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ บทบรรยายในนวนิยาย
  • 10. ตัวอย่าง “… หนังเรื่องนี้มีโครงเรื่องหลักอยู่ที่การเปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศโลกในองค์รวม อันเป็นผลพวงจากปฏิกิริยาเรือนกระจก หรือ green house effect ซึ่งเกิดจากน้ามือมนุษย์โลกอย่างเราๆทั้งนั้น ไม่ว่า จะเป็นการเผาไหม้เชื้อเพลิงให้เกิดความร้อนและควันลอยขึ้นไปเกิดเป็น ชั้นห่อหุ้มโลกไว้ ส่งผลให้รังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ที่ส่องลงมายัง โลกสะท้อนกลับออกไปในห้วงอวกาศไม่ได้โลกเลยกลายเป็นเตาอบยักษ์ ที่ร้อนขึ้นเรื่อยๆ…” (ชาธร สิทธิเคหภาค, ๒๕๔๗: ๑๑๒)
  • 11. ๔. ภาษาระดับสนทนา (ไม่เป็นทางการ)  เป็นภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีความสัมพันธ์ยังไม่ถึง ขั้นสนิทสนม  ใช้เฉพาะการพูด การสนทนาในชีวิตประจาวัน เช่น การพูดจากัน ระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนที่มาติดต่องาน หรือการแนะ นาตัวใน งานสังคม โดยที่บุคคลที่เกี่ยวข้องไม่เคยรู้จักกันมาก่อน  มักจะนาไปใช้ถ่ายทอดในงานเขียนเรื่องบันเทิงคดี เช่น บทสนทนา ในนวนิยายหรือเรื่องสั้น บทละคร การเขียนบันทึกส่วนตัว เป็นต้น
  • 12. ตัวอย่าง บทความเรื่องเขาอีโต้ สถานีความมันเชิงเขาใหญ่ ในคอลัมน์BikeLine ความว่า “...ความตั้งใจในการเดินทางของผมครั้งนี้อยู่ที่การหาเส้นทาง ซอกแซกไปที่น้าตกเหวอีอ่า ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ แต่ความตั้งใจมิเป็นผล เมื่อเจ้าหน้าที่อุทยานฯที่หน่วยพิทักษ์ป่าคลองเพกาปฏิเสธอย่างนิ่มนวลว่า ไม่ สามารถอนุญาตให้ขึ้นไปปั่นจักรยานได้ เนื่องจากยังไม่มีนโยบายให้ปั่น จักรยานขึ้นไปเที่ยวน้าตกเหวอีอา่ ซึ่งคงจะต้องรอไปอีกพักใหญ่ๆ เพราะอยู่ ในช่วงสารวจจัดทาเส้นทาง โดยทางอุทยานฯมีแนวคิดที่จะเปิดให้จักรยานเสือ ภูเขาขึ้นไปอยู่แล้ว แต่เมื่อไหร่ยังไม่ทราบ เป็นคา ปฏิเสธที่นุ่มนวล เราจึงได้แต่ น้อมรับโดยดี…” (หมูหวาน, ๒๕๔๗: ๗๒)
  • 13. ๕. ภาษาระดับปาก หรือภาษาระดับกันเอง  เป็นภาษาที่ใช้ในวงจากัด ใช้กับบุคคลที่สนิทสนมคุ้นเคยกันเป็นพิเศษ เช่น ระหว่างเพื่อนสนิท บุคคลในครอบครัว  สื่อสารกันในเนื้อหาที่รับรู้กันได้เฉพาะคู่สนทนาเท่านั้น  สถานที่ใช้มักเป็นที่ส่วนตัว เช่น ที่บ้าน  เน้นความสนุกสนาน ไม่นิยมบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร  สารที่สื่อถึงกันไม่มีขอบเขต แต่มักใช้ในการพูดจากันเท่านั้น  อาจปรากฏอยู่ในบทสนทนานวนิยายหรือเรื่องสั้นเพอื่ความสมจริง บทความเสียดสีล้อเลียนในหน้าหนังสือพิมพ์ เป็นต้น
  • 14. ตัวอย่าง บทสนทนาจากนวนิยายเรื่องมายาตะวัน กล่าวว่า “เออ นังบ้า ไป ไปนั่งรวมกันที่เก้าอี้โน่น จาไว้ ถ้าคิดหนีฉันยิงจริงๆ ไอ้ชิด เอ็งดูนังสองตัวนี่ให้ดี ถ้ามันไปที่ประตูเมื่อไหร่ยิงมันได้เลย” เชนขู่เสียงเกรี้ยว (กิ่งฉัตร, ๒๕๔๙: ๔๖๒)
  • 15. ภาษาแบบแผน ภาษาที่ เป็นทางการ ตัวอย่าง ภาษากึ่งแบบแผน ภาษากึ่งทางการ ภาษาปาก ภาษาไม่เป็นทางการ ขา้พเจ้า กระผม ดิฉัน ผม ฉนั เรา ผม ฉนั หนู บิดา คุณพ่อ พ่อ มารดา คุณแม่แม่ โรงภาพยนตร์ โรงหนัง โรงหนัง ใบอนุญาตขับรถยนต์ใบขับขี่ใบขับขี่ หนังสือรับรอง ใบรับรอง ใบรับรอง ดวงตราไปรษณียากร แสตมป์ แสตมป์ กรงุเทพมหานคร กรงุเทพ ฯ บางกอก ศีรษะ หัว กบาล ฌาปนกิจศพ ปลงศพ เผาศพ ประทับตรา ตีตรา ตีตรา ปั๊มตรา รับประทาน กิน ยัด แดก ซัด กิน ยัด แดก ซัด ดมื่สุรา ดมื่เหล้า กินเหล้า ถองเหล้า ซัดเหล้า
  • 16. หลักการใช้ภาษาให้ถูกต้องตามระดับภาษา  การใช้ภาษาระดับใดในการสื่อสารจึงจะเหมาะสมนั้น ควรพิจารณาดังนี้  ๑.สัมพันธภาพระหว่างบุคคล  ๒. กาลเทศะ  ๓. เนื้อของสาระ  ๔. วิธีการสื่อสาร