SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
1

เกณฑ์การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
(Evaluation of Internet Resources)
อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
23 กุมภาพันธ์ 2557
ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556

ในการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต หรือสารสนเทศเว็บ เพื่อคัดเลือกเว็บที่
นาเสนอสารสนเทศที่ดีที่สุดเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไปนั้น ควรพิจารณา 4 ประเด็นหลัก คือ ความ
น่าเชื่อถือ การเข้าถึงสารสนเทศ คุณค่าของเนื้อหา วิธีการนาเสนอเนื้อหา ดังมีรายละเอียด
ต่อไปนี้
1. ความน่าเชื่อถือ
- มีชื่อ และที่อยู่ที่จะติดต่อกับผู้รับผิดชอบในการจัดทาเว็บไซต์ หรือไม่ (the site
includes contact information.) ซึ่งควรปรากฏที่หน้าแรก หรือหน้าที่ใกล้เคียง
- กรณีผู้จัดทาเว็บไซต์เป็นบุคคล ให้พิจารณาวุฒิการศึกษา ตาแหน่งงาน ประสบการณ์
การทางานของบุคลนั้น ๆ สัมพันธ์กับเนื้อหาเว็บหรือไม่ ควรเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ
- ถ้าเป็นหน่วยงาน หากเว็บไซต์นั้นจัดทาโดยหน่วยงานของรัฐ สถาบันการศึกษา
องค์กรไม่หวังผลกาไร และองค์กรระหว่างประเทศ (สังเกตได้จากโดเมน .edu .gov .net) จัดว่ามีความ
น่าเชื่อถือ
- มีการระบุจุดประสงค์การจัดทาเว็บไซต์หรือไม่ เช่น เพื่อการเรียนการสอน เพื่อ
เผยแพร่ข่าวสารความเคลื่อนไหวของหน่วยงาน ฯลฯ
- เว็บไซต์นั้นได้รับการอ้างอิงสารสนเทศ หรือเชื่อมโยงจากเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถืออื่น ๆ
หรือไม่
- กรณีมีระบบแปลภาษาอยู่ด้วย ระบบนั้นสามารถแปลภาษาได้อย่างถูกต้อง หรือไม่
อย่างไร
2. การเข้าถึงสารสนเทศ
- สามารถค้นหาสารสนเทศได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และใช้ง่าย ไม่ซับซ้อน
- ได้สารสนเทศจริง และนาไปใช้ได้
- ดูความแน่นอนในการเข้าถึง URLไม่ควรเปลี่ยนบ่อย แต่หากเปลี่ยนต้องมีการแจ้ง
2

URL ใหม่ให้ทราบ และสามารถเชื่อมโยงไปยัง URL ใหม่ได้ทันที
3. คุณค่าของเนื้อหา
- ให้เนื้อหาสาระตรงกับความต้องการของผู้ใช้ รวมถึงสาระทีเป็น ข้อเท็จจริง หรือ
่
ความคิดเห็นด้วย
- มีเนื้อหาสาระที่ถูกต้อง สมบูรณ์/ครอบคลุม ละเอียดลึกซึ้ง และระบุแหล่งที่มาของ
ข้อมูลอย่างชัดเจน (หมายถึงมีบรรณานุกรมอยู่ท้ายสุดของเรื่องที่นาเสนอ) รวมถึงเรื่องการระมัดระวัง
ในเรื่องของการพิมพ์ ไม่พิมพ์ผิดเยอะนั่นเอง
- เนื้อหามีความทันสมัย ตรวจสอบได้จากวันเวลาครั้งสุดท้ายของการปรับปรุงข้อมูล
หรือตรวจสอบ Link ต่าง ๆ ว่ายังใช้การได้อยู่หรือไม่ (links are in working order)
- เนื้อหามีลักษณะโดดเด่น มีเอกลักษณ์ของตนเอง ไม่พบการนาเสนอเนื้อหาลักษณะ
นี้ในเว็บอื่นๆ ที่นาเสนอเนื้อหาเหมือนกัน
- กรณีเนื้อหาที่นาเสนอไม่เคยเผยแพร่ที่ใดมาก่อนเป็นข้อมูลแบบปฐมภูมิ (Primary
Sources) ก็ถือว่าเป็นสารสนเทศที่มีคุณค่ามากที่สุด
- เนื้อหาสาระอ่านเข้าใจง่าย และมีการใช้ภาษาที่เหมาะสมกับผู้ใช้
- นาเสนอข้อมูลที่เป็นกลาง ไม่มีอคติ ไม่ชักจูงทางความคิด ต้องไม่มีลักษณะของการ
โฆษณาชวนเชื่อ
4. วิธีการนาเสนอเนื้อหา
- หน้าแรกของเว็บควรกระชับ ชัดเจน จัดเรียงหัวข้อต่างๆ เป็นระบบ
- ง่ายต่อการใช้ โดยในแต่ละหน้าควรมีคาสั่ง Back Home Top ฯลฯ
- เว็บไซต์ที่เชื่อมโยงต้องมีความเกี่ยวข้องในด้านเนื้อหากับเว็บนั้น ๆ
- ไอคอน (icon) ชัดเจนเป็นตัวแทนของสิ่งที่ต้องการสื่อได้
- กราฟิกดีสื่อหรือเกี่ยวข้องกับสาระในส่วนนั้น ๆ
- กรณีเว็บไซต์นั้นมีสาระจานวนมาก ต้องสามารถค้นคืนได้
ฯลฯ
3

บรรณานุกรม
Cohen, Laura, and Jacobson, T. E. (2009). Evaluating web content. Retrieved
February 23, 2014, from http://library.albany.edu/usered/eval/evalweb/
Germain, C. A. and Horn, L. (2007). Evaluating internet sites 101!. Retrieved February 23,
2014, from http://library.albany.edu/usered/webeval/
University of Alberta Libraries. (2013). Critical evaluation of resources on the internet. Retrieved
February 23, 2014, from
http://guides.library.ualberta.ca/content.php?pid=51536&sid=392879
The University of British Columbia. (n.d.). Evaluating information sources. Retrieved February
23, 2014, from
http://help.library.ubc.ca/evaluating-and-citing-sources/evaluating-information-sources/

**************************

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการบทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการน๊อต เอกลักษณ์
 
สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์
สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์
สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์Prawn Freedom
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสารวัชรพล เที่ยงปา
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2Ploykarn Lamdual
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 

Mais procurados (20)

หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการบทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
 
สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์
สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์
สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 

Destaque

บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา
การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษาการประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา
การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษาท๊อป เมืองฅอน
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 

Destaque (6)

บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา
การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษาการประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา
การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 

Mais de Srion Janeprapapong

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 

Mais de Srion Janeprapapong (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 

เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ

  • 1. 1 เกณฑ์การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Evaluation of Internet Resources) อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ 23 กุมภาพันธ์ 2557 ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 ในการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต หรือสารสนเทศเว็บ เพื่อคัดเลือกเว็บที่ นาเสนอสารสนเทศที่ดีที่สุดเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไปนั้น ควรพิจารณา 4 ประเด็นหลัก คือ ความ น่าเชื่อถือ การเข้าถึงสารสนเทศ คุณค่าของเนื้อหา วิธีการนาเสนอเนื้อหา ดังมีรายละเอียด ต่อไปนี้ 1. ความน่าเชื่อถือ - มีชื่อ และที่อยู่ที่จะติดต่อกับผู้รับผิดชอบในการจัดทาเว็บไซต์ หรือไม่ (the site includes contact information.) ซึ่งควรปรากฏที่หน้าแรก หรือหน้าที่ใกล้เคียง - กรณีผู้จัดทาเว็บไซต์เป็นบุคคล ให้พิจารณาวุฒิการศึกษา ตาแหน่งงาน ประสบการณ์ การทางานของบุคลนั้น ๆ สัมพันธ์กับเนื้อหาเว็บหรือไม่ ควรเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ - ถ้าเป็นหน่วยงาน หากเว็บไซต์นั้นจัดทาโดยหน่วยงานของรัฐ สถาบันการศึกษา องค์กรไม่หวังผลกาไร และองค์กรระหว่างประเทศ (สังเกตได้จากโดเมน .edu .gov .net) จัดว่ามีความ น่าเชื่อถือ - มีการระบุจุดประสงค์การจัดทาเว็บไซต์หรือไม่ เช่น เพื่อการเรียนการสอน เพื่อ เผยแพร่ข่าวสารความเคลื่อนไหวของหน่วยงาน ฯลฯ - เว็บไซต์นั้นได้รับการอ้างอิงสารสนเทศ หรือเชื่อมโยงจากเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถืออื่น ๆ หรือไม่ - กรณีมีระบบแปลภาษาอยู่ด้วย ระบบนั้นสามารถแปลภาษาได้อย่างถูกต้อง หรือไม่ อย่างไร 2. การเข้าถึงสารสนเทศ - สามารถค้นหาสารสนเทศได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และใช้ง่าย ไม่ซับซ้อน - ได้สารสนเทศจริง และนาไปใช้ได้ - ดูความแน่นอนในการเข้าถึง URLไม่ควรเปลี่ยนบ่อย แต่หากเปลี่ยนต้องมีการแจ้ง
  • 2. 2 URL ใหม่ให้ทราบ และสามารถเชื่อมโยงไปยัง URL ใหม่ได้ทันที 3. คุณค่าของเนื้อหา - ให้เนื้อหาสาระตรงกับความต้องการของผู้ใช้ รวมถึงสาระทีเป็น ข้อเท็จจริง หรือ ่ ความคิดเห็นด้วย - มีเนื้อหาสาระที่ถูกต้อง สมบูรณ์/ครอบคลุม ละเอียดลึกซึ้ง และระบุแหล่งที่มาของ ข้อมูลอย่างชัดเจน (หมายถึงมีบรรณานุกรมอยู่ท้ายสุดของเรื่องที่นาเสนอ) รวมถึงเรื่องการระมัดระวัง ในเรื่องของการพิมพ์ ไม่พิมพ์ผิดเยอะนั่นเอง - เนื้อหามีความทันสมัย ตรวจสอบได้จากวันเวลาครั้งสุดท้ายของการปรับปรุงข้อมูล หรือตรวจสอบ Link ต่าง ๆ ว่ายังใช้การได้อยู่หรือไม่ (links are in working order) - เนื้อหามีลักษณะโดดเด่น มีเอกลักษณ์ของตนเอง ไม่พบการนาเสนอเนื้อหาลักษณะ นี้ในเว็บอื่นๆ ที่นาเสนอเนื้อหาเหมือนกัน - กรณีเนื้อหาที่นาเสนอไม่เคยเผยแพร่ที่ใดมาก่อนเป็นข้อมูลแบบปฐมภูมิ (Primary Sources) ก็ถือว่าเป็นสารสนเทศที่มีคุณค่ามากที่สุด - เนื้อหาสาระอ่านเข้าใจง่าย และมีการใช้ภาษาที่เหมาะสมกับผู้ใช้ - นาเสนอข้อมูลที่เป็นกลาง ไม่มีอคติ ไม่ชักจูงทางความคิด ต้องไม่มีลักษณะของการ โฆษณาชวนเชื่อ 4. วิธีการนาเสนอเนื้อหา - หน้าแรกของเว็บควรกระชับ ชัดเจน จัดเรียงหัวข้อต่างๆ เป็นระบบ - ง่ายต่อการใช้ โดยในแต่ละหน้าควรมีคาสั่ง Back Home Top ฯลฯ - เว็บไซต์ที่เชื่อมโยงต้องมีความเกี่ยวข้องในด้านเนื้อหากับเว็บนั้น ๆ - ไอคอน (icon) ชัดเจนเป็นตัวแทนของสิ่งที่ต้องการสื่อได้ - กราฟิกดีสื่อหรือเกี่ยวข้องกับสาระในส่วนนั้น ๆ - กรณีเว็บไซต์นั้นมีสาระจานวนมาก ต้องสามารถค้นคืนได้ ฯลฯ
  • 3. 3 บรรณานุกรม Cohen, Laura, and Jacobson, T. E. (2009). Evaluating web content. Retrieved February 23, 2014, from http://library.albany.edu/usered/eval/evalweb/ Germain, C. A. and Horn, L. (2007). Evaluating internet sites 101!. Retrieved February 23, 2014, from http://library.albany.edu/usered/webeval/ University of Alberta Libraries. (2013). Critical evaluation of resources on the internet. Retrieved February 23, 2014, from http://guides.library.ualberta.ca/content.php?pid=51536&sid=392879 The University of British Columbia. (n.d.). Evaluating information sources. Retrieved February 23, 2014, from http://help.library.ubc.ca/evaluating-and-citing-sources/evaluating-information-sources/ **************************