SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
•   ความหมายของฐานข้อมูล
•   บทบาทของฐานข้อมูล
•   ส่วนประกอบของฐานข้อมูล
•   ประเภทของฐานข้อมูล
•   ประโยชน์ของฐานข้อมูล
•   ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล
•   ภาษา SQL
•   โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล
•   หลักการออกแบบฐานข้อมูล
•   ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล
• มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า database

• หมายถึง แหล่งสะสมข้อเท็จจริงต่างๆ โดยรวบรวม
  ข้อมูลทีมีความสัมพันธ์กนไว้ด้วยกัน และมีโปรแกรม
          ่              ั
  การจัดการฐานข้อมูล (Database Management
  System- -DBMS) มาช่วยในการจัดเก็บ จัดเรียง
  และสืบค้นสารสนเทศ รวมถึงปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย
  อยู่เสมอ (Rothwell อ้างถึงใน เดชา นันทพิชัย,
  2546: 28)
• Databases are searchable collections of
     records.
• The Libraries' databases allow you to search for
     many different types of materials (articles in
     journals, images, primary sources,
     newspaper articles, books, and more)
     important for your research.

• (http://libraries.claremont.edu/help/glossary.asp)
บทบาทของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลมีบทบาทต่อการดาเนินงานสารสนเทศ ดังนี้
  1. บทบาทต่อการสร้างสารสนเทศของหน่วยงาน
      วิเคราะห์ IR ที่มี /การใช้ IR ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
      ได้สารสนเทศใหม่        ทารายงานสรุปเพื่อวางแผนและตัดสินใจต่อไป

  2. บทบาทในการจัดการข้อมูล (Information Organization)
      คือจัดการเนื้อหาของสารสนเทศให้อยู่ในที่เดียวกัน เพื่อให้สามารถ
      สืบค้นได้ และเข้าถึงเนื้อหาในระดับลึกได้

  3. บทบาทในการสืบค้นข้อมูล (Retrieval of Information)
      ช่วยให้ค้นสารสนเทศได้สะดวก รวดเร็ว ตรงกับความต้องการ ทันเวลา

  4. บทบาทในการเผยแพร่สารสนเทศ (Dissemination of
      Information) ช่วยให้การทารายงาน (Report) การจัดเรียง
      (Sorting) เร็วขึ้นส่งผลให้การเผยแพร่สารสนเทศเร็วยิ่งขึ้น
ส่วนประกอบของฐานข้อมูล
   • 1. บิต (Bit)
   • 2. อักขระ (Character)
   • 3. เขตข้อมูล (Field/ Data Item)
   • 4. ระเบียนข้อมูล (Record)
   • 5. แฟ้มข้อมูล (File)
   • 6. ฐานข้อมูล (Database)
ส่วนประกอบของฐานข้อมูล                       (ต่อ)




http://pioneer.chula.ac.th/~vduangna/2200199/page3.html
ส่วนประกอบของฐานข้อมูล (ต่อ)

• บิต (bit) ย่อมาจาก Binary Digit
      ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1 บิต จะแสดงได้ 2 สถานะคือ 0 หรือ 1
      การเก็บข้อมูลต่างๆ ได้จะต้องนาบิตหลายๆ บิตมาเรียงต่อกัน
      เช่น นา 8 บิต มาเรียงเป็น 1 ชุด เรียกว่า 1ไบต์ เช่น
                      10100001 หมายถึง ก
                      10100010 หมายถึง ข

      1 ไบต์ เป็นตัวแทนอักขระ 1 ตัวของตัวอักษร (alphabetic)
             ตัวเลข (numeric) หรือสัญลักษณ์ (symbol)
ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1 บิต จะแสดงได้ 2 สถานะ
             คือ 0 หรือ 1 เพราะ .....
การทางานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยกระแสไฟฟ้า โดยสายไฟ 1 สายหากมีไฟฟ้าจะ
แทนด้วยเลข 1 หากไม่มีกระแสไฟฟ้า จะแทนด้วย 0 นั่นเอง
เมื่อมีการนาสายไฟ 8 เส้นมาใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูล ก็จะได้สภาวะการมี/ไม่มี
กระแสไฟฟ้าได้ ดังตัวอย่าง


            1       0       1      0     0       0      0      1



                     10100001 หมายถึง ก
ส่วนประกอบของฐานข้อมูล (ต่อ)
• เมื่อเรานา ไบต์ (byte) หลายๆ ไบต์ มาเรียงต่อกัน เรียกว่า เขต
  ข้อมูล (field) เช่น Author ใช้เก็บชื่อและนามสกุลของผู้แต่ง เป็นต้น

• เมื่อนาเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูลมาเรียงต่อกันเรียกว่า ระเบียน
  (record) เช่น ระเบียนที่ 1 เก็บข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ 1
  เล่ม เป็นต้น

• การเก็บระเบียนหลายๆระเบียน รวมกัน เรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File)
  เช่น แฟ้มข้อมูลหนังสือจะเก็บระเบียนของหนังสือจานวน 10,000
  ระเบียน เป็นต้น

• การจัดเก็บแฟ้มข้อมูลหลายๆ แฟ้มข้อมูลไว้ภายใต้ระบบเดียวกัน
  เรียกว่า ฐานข้อมูล (Database) เช่น เก็บแฟ้มข้อมูลหนังสือ
  แฟ้มข้อมูลงานวิจัยแฟ้มข้อมูลบทความในวารสาร      แฟ้มข้อมูลวีดิทัศน์
  เป็นต้น
ส่วนประกอบของฐานข้อมูล   (ต่อ)
Q1: นี่คืออะไร

Q2: ตรงไหนคือเขตข้อมูล
Q1: นี่คืออะไร

Q2: ตรงไหนคือเขตข้อมูล
Q1: นี่คืออะไร
Q1: นี่คืออะไร

Q2: ตรงไหนคือเขตข้อมูล
Q2: ตรงไหนคือเขตข้อมูล




      Q1: นี่คืออะไร
Q1: นี่คืออะไร

Q2: ตรงไหนคือเขตข้อมูล
Q1: นี่คืออะไร
Q2: ตรงไหนคือเขตข้อมูล
ประเภทของฐานข้อมูล
1. ฐานข้อมูลอ้างอิง (Reference Databases)
     บางครั้งเรียกว่า ฐานข้อมูลบรรณานุกรม
     (Bibliographic Databases)


2. ฐานข้อมูลต้นแหล่ง (Source Databases)
     หรือ Non-bibliographic Databases หรือ
     Factual Databases บางครั้งเรียกว่า ธนาคาร
     ข้อมูล (Databank)
ประเภทของฐานข้อมูล                      (ต่อ)


2. ฐานข้อมูลต้นแหล่ง (Source Databases) (ต่อ)

  2.1 ฐานข้อมูลตัวเลข (Numeric Databases)

  2.2 ฐานข้อมูลเนื้อหาผสมตัวเลข (Textual-Numeric
            Databases)

  2.3 ฐานข้อมูลคุณสมบัติ (Properties Databases)

  2.4 ฐานข้อมูลเนื้อหาสมบูรณ์ หรือฐานข้อมูลฉบับเต็ม
            (Full-text Databases)
ประเภทของฐานข้อมูล                 (ต่อ)

• นอกจากนั้นอาจจาแนกเป็น

  1.   ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด (Web OPAC)
  2.   ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Databases)
  3.   ฐานข้อมูลซีดีรอม
  4.   ฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต

• หรือจาแนกตามสาขาวิชาเป็น
  1. ฐานข้อมูลมนุษยศาสตร์
  2. ฐานข้อมูลสังคมศาสตร์
  3. ฐานข้อมูลวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ประเภทของฐานข้อมูล                   (ต่อ)

• นอกจากนั้นอาจจาแนกเป็น

  1. ฐานข้อมูลภายในที่เป็นผลผลิตของหน่วยงาน =
      ฐานข้อมูลองค์กร

  2. ฐานข้อมูลภายนอก

ความแตกต่างของฐานข้อมูลภายในและฐานข้อมูลภายนอก
                  ดูที่หน้า 38
ประโยชน์ของฐานข้อมูล

• ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อน
• รักษาความถูกต้องของข้อมูล
• การป้องกันและรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลทาได้
  อย่างสะดวก
• สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
• มีความเป็นอิสระของข้อมูล
• สามารถขยายงานได้ง่าย
ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล
•   DBMS - Database Management System
•   ซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการฐานข้อมูล
•   ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล
•   ตัวอย่าง DBMS
    –   dBASE
    –   FoxPro
    –   Microsoft Access
    –   DB2
    –   Oracle
    –   Microsoft SQL Server
    –   MySQL
    –   PostgreSQL
ภาษา SQL

• Structured Query Language
• ภาษาที่มีรูปแบบเป็นภาษาอังกฤษ ง่ายต่อการเรียนรู้
  และเขียนโปรแกรม
• มีความสามารถในการนิยามโครงสร้างตารางภายใน
  ฐานข้อมูล การจัดการข้อมูล และควบคุมสิทธิการใช้
  งานฐานข้อมูล
โครงสร้างและการทางานของ
        ฐานข้อมูล
คาถาม: โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล

• 1. ระเบียนของฐานข้อมูลบรรณานุกรมจะประกอบด้วย
      ส่วนต่าง ๆ ที่สาคัญกี่ส่วน อะไรบ้าง (ดูหน้า 39-40)
• 2. ระบบฐานข้อมูลจะประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลหลัก ๆ กี่
      ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย (ดูหน้า 41)
• 3. แฟ้มพิมพ์ (Print File) คืออะไร (ดูหน้า 41)
• 4. Index File กับ Posting File ต่างกันตรงไหน
            (ดูหน้า 41)

• 5. จงอธิบายหน้าที่ของ Index File     Posting File
      และ Print File
คาถาม: โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล

• 6. จงอธิบายการทางานของแฟ้มข้อมูลผกผันที่ช่วยในการ
      สืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูล (ดูหน้า 41 และ 43)
• 7. ในการออกแบบฐานข้อมูลต้องให้ความสาคัญในเรื่อง
     ใดบ้าง (ดูหน้า 42, 44-47)

                   **************
โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล

• ในการจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศ ต้องเริ่มจากการ
  วิเคราะห์ต้นฉบับ เพื่อนาสาระไปกาหนดเป็นระเบียนในฐานข้อมูล
  บรรณานุกรม
• รายละเอียดที่เกิดจากการวิเคราะห์นั้น ถูกจาแนกออกเป็นเขต
  ข้อมูลตามลักษณะข้อมูลที่พบ ซึ่งมีความแตกต่างไปตามลักษณะ
  ประเภท หรือสาขาวิชาของทรัพยากรสารสนเทศ
• ดังนั้นก่อนจะออกแบบฐานข้อมูลจาเป็นต้องรู้ว่าฐานข้อมูลมีกี่ส่วน
  อะไรบ้าง แต่ละส่วนควรประกอบไปด้วยเขตข้อมูลใดบ้าง
โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล
• ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ประกอบด้วย 3 ส่วนสาคัญ
  1. ข้อมูลทางบรรณานุกรม (Bibliographic Data)
      เช่น ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง สถานที่ผลิต ชื่อผู้ผลิต ปีที่ผลิต
      ฯลฯ
  2. ข้อมูลเกี่ยวกับคาสาคัญ (Keywords) หรือ ศัพท์บังคับ
      (Descriptors)
  3. สาระสังเขป (Abstract) หรือ บทคัดย่อ

• โดยสรุประเบียนหนึ่ง ๆ จะพบเขตข้อมูลอยู่ 3 ชนิด คือ
     1. เขตข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Fields)
     2. เขตข้อมูลสาระสังเขป (Abstract Fields)
     3. เขตข้อมูลดรรชนี (Index Fields)
โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล
• ตัวอย่าง ลักษณะการทาดรรชนีในแต่ละเขตข้อมูล

                     ลักษณะคาดรรชนี                   เขตข้อมูล
1. ดรรชนีคา (Keyword Index)                  au, ti, yr, la, ab
2. ดรรชนีวลี (Phrase Index)                  au, so (source)
3. ดรรชนีคาและวลี (Keyword & Phrase Index)   de (descriptor)
4. ไม่นามาทาดรรชนี                           p, vol

• ดูตัวอย่างระเบียนบรรณานุกรมบทความในวารสาร ภาพที่ 8 (หน้า
  40) และการกาหนดคาค้นเป็นดรรชนีในหน้าที่ 41
• การทาดรรชนีจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคาแต่ละคาในเขตข้อมูลได้สะดวก
  ส่วนแหล่งที่มา (Source) ให้ค้นได้เฉพาะรูปแบบวลีเท่านั้น ทาให้หาก
  ต้องการค้นชื่อวารสารต้องพิมพ์ชื่อเต็มของวารสารลงไป
โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล
• โครงสร้างแฟ้มข้อมูลของฐานข้อมูล

  ระบบฐานข้อมูลจะแบ่งแฟ้มข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท คือ
  1. แฟ้มข้อมูลเรียงลาดับ (Linear File)
      ได้แก่ แฟ้มพิมพ์ (Print File)
      หรือเรียกว่า “แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File)”
      ประกอบด้วยข้อมูลที่มีความสมบูรณ์
      จัดเก็บจัดเรียงตามลาดับเลขทะเบียน
      เช่น รายการทรัพยากรสารสนเทศ
  2. แฟ้มข้อมูลผกผัน (Inverted File)
      คือ     2.1) แฟ้มดรรชนี (Index File)    และ
              2.2) แฟ้มจานวนรายการที่มีคาดรรชนี (Posting File)
โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล
• แฟ้มดรรชนี (Index File)
      ประกอบด้วยศัพท์ดรรชนีต่าง ๆ ของแต่ละรายการ (ระเบียน)
      จัดเรียงตามลาดับอักษรของคาดรรชนี
      เมื่อมีการเพิ่มข้อมูลลงใน Print File ดรรชนีที่เพิ่มขึ้นจะถูก
               กาหนดลงใน Index File อัตโนมัติ        หากคาดรรชนี
               นั้นไม่เคยมีมาก่อนก็จะถูกเพิ่มเข้าไปใหม่โดยเรียง
               ตามลาดับอักษร
      ใน Index File จะระบุจานวนรายการ (ระเบียน) ที่มีคาดรรชนี
               นั้นปรากฏในฐานข้อมูล
      ใน Index File แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
               1) จานวนรายการคาดรรชนีปรากฏ
               2) คาศัพท์ดรรชนี
               3) ตาแหน่งที่รายการ (ระเบียน) ที่มีคาดรรชนีปรากฏ
                        (ดูตัวอย่างหน้า 43)
โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล

• แฟ้มจานวนรายการที่มีคาดรรชนี (Posting File)
  เป็นแฟ้มข้อมูลที่ระบุรายการ (ระเบียน) ที่มีคาดรรชนีนั้นปรากฏอยู่
  โดยระบุเป็นตัวเลขบอกตาแหน่งรายการ (ระเบียน)
  เป็นแฟ้มข้อมูลที่ทางานประสานระหว่าง Index File กับ Print File

   (สรุป คือ เป็นแฟ้มบอกหมายเลขระเบียนที่มีคาดรรชนีปรากฏอยู่)
โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล
การทางานของ Inverted File ที่ช่วยในการสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูล

                  ใส่คาค้น ลงในระบบสืบค้น

   ตรวจสอบคาค้นที่ Index File       ไม่มีคาค้น      แสดงผล

              มีคาค้น บอกว่ามีกี่รายการ (ระเบียน)

ตรวจสอบที่ Posting File เพื่อเรียกรายการที่มีคาดรรชนีมาแสดงผล

 ในการแสดงผลระบบจะเรียกข้อมูลที่สมบูรณ์จาก Print File ขึ้นมา.
โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล

ดูตัวอย่างการทางานร่วมกันระหว่าง Index File,
     Posting File และ Print File ที่หน้า 43
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
• การออกแบบฐานข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของวงจรชีวิตการพัฒนา
  ระบบฐานข้อมูล
• ขั้นตอนการพัฒนาระบบฐานข้อมูล คือ
       การวิเคราะห์ความต้องการของระบบ
              * มีข้อมูลอะไรที่ผู้ใช้ต้องการ
              * ลักษณะของการเรียกใช้ข้อมูล
              * ความถี่ของการใช้ข้อมูล
              * ลักษณะของการแสดงผลลัพธ์
              * ความต้องการเกี่ยวกับการรายงาน (Report)
                            ฯลฯ
       การกาหนดคุณลักษณะของระบบฐานข้อมูล
              จุดมุ่งหมาย ปัญหา ขอบเขต กฎระเบียบต่างๆ
       การออกแบบฐานข้อมูล
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
•   สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล (Database Architecture)
       แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
       1. ระดับภายใน (Internal / Physical Level)
              เป็นโครงสร้างทางกายภาพในการจัดเก็บข้อมูล จะ
              อยู่ในระดับต่าสุด เช่น เนื้อที่ในการจัดเก็บ
              ประเภทของข้อมูล ฯลฯ
       2. ระดับเชิงแนวคิด (Conceptual Level)
              เป็นระดับเหนือขึ้นมา เกี่ยวข้องกับมุมมองที่ผู้ใช้มี
              ต่อข้อมูลในลักษณะกลุ่มว่ามีเอนทิตีอะไร ลักษณะ
              ประจา ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี ผู้มีสิทธิ์ใช้
              ข้อมูล ฯลฯ
       3. ระดับภายนอก (External / View Level)
              เป็นระดับเหนือสุดซึ่งมองเห็นข้อมูลและ
              การใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนในงานต่าง ๆ
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
• ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล
  1. การออกแบบเชิงแนวคิด (Conceptual Design)
       เป็นการประมวลความต้องการของผู้ใช้
       การออกแบบแนวคิดจะเกี่ยวข้องกับ เนื้อหาฐานข้อมูล
       การใช้ฐานข้อมูล ข้อมูลที่ต้องการ รายงานที่ต้องการ
  2. การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design)
      เป็นระดับต่อเนื่องจาก 1 แปลงแนวคิดให้อยู่ในรูป โครงสร้าง
      ของฐานข้อมูล กาหนดเขตข้อมูล ระเบียนข้อมูล
      เพื่อนาไปสร้างเป็นฐานข้อมูลจริง
  3. การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design)
      เป็นการนาเอา 2 มาออกแบบการจัดเก็บข้อมูลในฮาร์ดแวร์
      พิจารณารูปแบบข้อมูล ขนาดค่าข้อมูล โครงสร้างจัดเก็บ
      วิธีการเข้าถึงข้อมูล การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
• การทางานของระบบฐานข้อมูล         มี 4 ขั้นตอน
  1. การสร้างระบบฐานข้อมูล
  2. การสอบถามข้อมูล
  3. การปรับค่าการเพิ่มเติมและลบทิ้งข้อมูล
  4. การดูแลความปลอดภัยและบูรณภาพของฐานข้อมูล
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
• การทางานของระบบฐานข้อมูล             มี 4 ขั้นตอน
    1. การสร้างระบบฐานข้อมูล          ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
         1.1 การกาหนดนิยามฐานข้อมูล
                ใช้ภาษานิยามฐานข้อมูล หรือ ภาษาดีดีแอล (Data
                Definition Language - DDL)
         1.2 กาหนดเค้าร่างข้อมูล
                เช่น entity ลักษณะประจาว่ามีข้อมูลอะไรบ้าง ขนาด
                ความยาว ฯลฯ
         1.3 การสร้างฐานข้อมูล (Database Creation)
                โดยการเขียนคาสั่งเพื่ออ่านและจัดเก็บค่าของข้อมูลเข้า
                ไปอยู่ในฐานข้อมูลตามโครงสร้างที่กาหนดไว้ในนิยาม
                ฐานข้อมูล
เมื่อสร้างฐานเสร็จแล้ว ต้องการปรับแก้โครงสร้าง เช่น เพิ่มเขต
    ข้อมูล ให้แก้ไขนิยามฐานข้อมูลเดิมได้
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
• การทางานของระบบฐานข้อมูล         มี 4 ขั้นตอน (ต่อ)
  ในระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)
      ซึ่งบอกถึง “ข้อมูลของข้อมูล” หรือเมทาดาทา ซึ่งใช้เก็บ
      คาจากัดความ พร้อมคุณลักษณะของข้อมูล       เจ้าของ-
      ผู้รับผิดชอบ ข้อมูล ฯลฯ


  2. การสอบถามข้อมูล
      การค้นหา หรือสอบถามข้อมูลจากฐานข้อมูลใช้ภาษาสอบถาม
            (Query Language)
      ภาษาที่เป็นมาตรฐานของระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ
            ภาษา SQL
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
• การทางานของระบบฐานข้อมูล              มี 4 ขั้นตอน (ต่อ)
  3. การปรับค่าการเพิ่มเติมและลบทิ้งข้อมูล
      คือ การใช้ภาษาเพื่อการปรับแต่งข้อมูล หรือภาษา DML (Data
            Manipulation Language) เช่น การปรับค่า (update)
            การเพิ่มข้อมูลใหม่ (insertion) การลบทิ้งข้อมูลเดิม
            (deletion) ฯลฯ
  4. การดูแลความปลอดภัยและบูรณภาพของฐานข้อมูล
      คือ วิธีการที่จะรับประกันว่าผู้ใช้ได้ใช้ข้อมูลเฉพาะในส่วนที่มี
              สิทธิเท่านั้น ซึ่งจะมีการกาหนดบัญชีผู้ใช้ (User
              Account) การใช้รหัสผ่าน (password) และการ
              กาหนดสิทธิในการใช้ฐานข้อมูล
      การควบคุมบูรณภาพของข้อมูล หมายถึง ระบบจัดการ
              ฐานข้อมูลที่ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องเสมอ ค่าของข้อมูลที่
              อยู่ในตารางที่สัมพันธ์กันจะต้องมีค่าตรงกันเสมอ
ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล

• การออกแบบฐานข้อมูลเพื่อการค้นคืน
• การสร้างดรรชนีของฐานข้อมูล (Database Indexing)
• การสร้างแบบบันทึกข้อมูล (Data Entry Form / Worksheet)
• การสร้างรูปแบบการแสดงผล (Output Format)
• วิธีการบันทึกข้อมูล (Data Entry) วิธีการสืบค้น (Search)
  และวิธีการพิมพ์ผล (Printing)
ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ)

• การออกแบบฐานข้อมูลเพื่อการค้นคืน

  เป็นการกาหนดโครงสร้างฐานข้อมูล กาหนดหมายเลขเขต
  ข้อมูล (Field Tag) คุณสมบัติและค่าต่างๆ ของเขตข้อมูล
  ลักษณะของเขตข้อมูลหลัก เขตข้อมูลย่อย และจานวนที่
       เหมาะสม       เช่น ถ้าเป็นหนังสือควรมีเขตข้อมูลอะไรบ้าง
       แต่ละเขตข้อมูลเป็นเอกเทศของตน
       หรือจัดให้ข้อมูลที่มีลักษณะเดียวกันให้เป็นกลุ่มเดียวกัน
              เช่น Imprint ประกอบด้วยเขตข้อมูลย่อย สถานที่
              พิมพ์ สานักพิมพ์ ปีพิมพ์     เป็นต้น
ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ)

• การสร้างดรรชนีของฐานข้อมูล (Database Indexing)

              การจัดทาแฟ้มดรรชนี (Index File) เพื่อใช้สาหรับ
  การสืบค้น โดยส่วนใหญ่ระบบจะสร้างแฟ้มข้อมูลผกผัน
  (Inverted File) ไว้ด้วยซอฟต์แวร์ที่เลือกแล้ว ซึ่งซอฟต์แวร์แต่
  ละตัวจะมีกระบวนการ หรือเครื่องมือในการกาหนดเขตข้อมูล
  สาหรับทาดรรชนีไว้ต่างกัน และวิธีการสร้างแฟ้มดรรชนีก็ยัง
  ต่างกันด้วย ผู้ออกแบบต้องศึกษาและปฏิบัติตามอย่างถูกต้อง
ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ)

• การสร้างแบบบันทึกข้อมูล (Data Entry Form / Worksheet)
       หรือ แผ่นงาน เป็นแบบฟอร์มเปล่า ๆ ที่ใช้บันทึกข้อมูลเข้า
  สู่ฐาน แต่บางโปรแกรมใช้ระบุหมายเลขเขตข้อมูล หรือชื่อเขต
  ข้อมูลก็ได้



• การสร้างรูปแบบการแสดงผล (Output Format)

      ต้องรู้ว่าผู้ใช้ต้องการให้ระเบียนแสดงผลอะไรบ้าง ใน
  รูปแบบใดบ้าง หรือให้ผู้ใช้สามารถกาหนดรูปแบบการ
  แสดงผลที่ตนเองต้องการได้
ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ)

• วิธีการบันทึกข้อมูล (Data Entry) วิธีการสืบค้น (Search)
  และวิธีการพิมพ์ผล (Printing)

       ในการสร้างระเบียนใหม่ทาได้ด้วยวิธีใดบ้าง
               * Key-in เข้าไปทีละหน่วย ทีละเขตข้อมูล ทีละ
                      เขตข้อมูลย่อย เข้าไปใน Worksheet
               * Loading ถ่ายโอนข้อมูลระเบียนจากฐานข้อมูล
                      ที่มีอยู่แล้วเข้าสู่ฐานข้อมูลใหม่
       เมื่อระเบียนถูกบันทึก หรือนาเข้าสู่ฐานข้อมูล ดรรชนีเพื่อ
  การสืบค้นจะถูกจัดทาขึ้นอัตโนมัติ เพื่อใช้ในการสืบค้น แต่ใน
  บางครั้งอาจจะต้องจัดทาขึ้นต่างหาก โดยใช้ทางเลือกการ
  ปรับปรุงแฟ้มข้อมูลผกผัน (Inverted File) และหลังจากสร้าง
  ดรรชนีขึ้นแล้ว ผู้ใช้ก็จะสามารถทาการค้นได้โดยใช้ทางเลือก
  เมนู (menu) ของซอฟต์แวร์นั้น ๆ
ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ)

• วิธีการบันทึกข้อมูล (Data Entry) วิธีการสืบค้น (Search)
  และวิธีการพิมพ์ผล (Printing) (ต่อ)

  วิธีการพิมพ์ผล:
  แสดงผลที่หน้าจอคอม อาจออกมาตามรูปแบบที่ได้กาหนดไว้
  หรือมีทางเลือกให้ผู้ใช้เลือกตามที่ต้องการ
  การเลือกรูปแบบการพิมพ์ผล       การจัดเรียงผลการสืบค้น
  Export ข้อมูลออกจากฐานข้อมูล (เป็นไปตามมาตรฐาน ISO
        2709)
ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ)

• การเลือกซอฟต์แวร์สาหรับสร้างฐานข้อมูลและระบบการค้นคืน

  1.   การออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูล
  2.   การจาแนกและรายละเอียดของแฟ้มดรรชนี (Index File)
  3.   การกาหนดรูปแบบของการแสดงผล
  4.   การออกแบบแผ่นงานสาหรับบันทึกข้อมูล
  5.   กระบวนการสร้างระเบียน
  6.   กระบวนการสร้างแฟ้มข้อมูลผกผัน
  7.   การสืบค้นฐานข้อมูล
  8.   การแสดงผล การจัดเรียงผล และการพิมพ์ผล

                   *******************
บรรณานุกรม
เดชา นันทพิชัย. 2546. การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval).
         พิมพ์ครั้งที่ 2. นครศรีธรรมราช: หลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สานักวิชา
         สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
พิมพ์ราไพ เปรมสมิทธ์. 2538. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม: การสร้างและการใช้.
         กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
         มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2545. แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้น
         คืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval) หน่วยที่ 1-15.
         นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ลัดดา โกรดิ. 2545. “เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ.” ใน
         ประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ (Information
         Storage and Retrieval), หน่วยที่ 1-4, หน้า 63-106. นนทบุรี: สาขาวิชา ศิลปะ
         ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
การสร้างระบบ CRM
การสร้างระบบ CRMการสร้างระบบ CRM
การสร้างระบบ CRMSaran Yuwanna
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาSornram Wicheislang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥everadaq
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์tangonjr
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนMai Natthida
 
Business Model Canvas คืออะไร
Business Model Canvas คืออะไรBusiness Model Canvas คืออะไร
Business Model Canvas คืออะไรTanade Sirinumas
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญาshikapu
 

What's hot (20)

บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
การสร้างระบบ CRM
การสร้างระบบ CRMการสร้างระบบ CRM
การสร้างระบบ CRM
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
Business Model Canvas คืออะไร
Business Model Canvas คืออะไรBusiness Model Canvas คืออะไร
Business Model Canvas คืออะไร
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
 

Viewers also liked

บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
Data in Digital Era
Data in Digital EraData in Digital Era
Data in Digital Era
 

Similar to บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน

Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลNithiwan Rungrangsri
 

Similar to บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน (20)

9.1 9.10
9.1  9.109.1  9.10
9.1 9.10
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Power Point
Power PointPower Point
Power Point
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
Lesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_dbLesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_db
 
Lesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_dbLesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_db
 

More from Srion Janeprapapong

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 

More from Srion Janeprapapong (14)

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 

บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน

  • 1.
  • 2. ความหมายของฐานข้อมูล • บทบาทของฐานข้อมูล • ส่วนประกอบของฐานข้อมูล • ประเภทของฐานข้อมูล • ประโยชน์ของฐานข้อมูล • ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล • ภาษา SQL • โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล • หลักการออกแบบฐานข้อมูล • ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล
  • 3. • มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า database • หมายถึง แหล่งสะสมข้อเท็จจริงต่างๆ โดยรวบรวม ข้อมูลทีมีความสัมพันธ์กนไว้ด้วยกัน และมีโปรแกรม ่ ั การจัดการฐานข้อมูล (Database Management System- -DBMS) มาช่วยในการจัดเก็บ จัดเรียง และสืบค้นสารสนเทศ รวมถึงปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย อยู่เสมอ (Rothwell อ้างถึงใน เดชา นันทพิชัย, 2546: 28)
  • 4. • Databases are searchable collections of records. • The Libraries' databases allow you to search for many different types of materials (articles in journals, images, primary sources, newspaper articles, books, and more) important for your research. • (http://libraries.claremont.edu/help/glossary.asp)
  • 5. บทบาทของฐานข้อมูล ฐานข้อมูลมีบทบาทต่อการดาเนินงานสารสนเทศ ดังนี้ 1. บทบาทต่อการสร้างสารสนเทศของหน่วยงาน วิเคราะห์ IR ที่มี /การใช้ IR ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ ได้สารสนเทศใหม่ ทารายงานสรุปเพื่อวางแผนและตัดสินใจต่อไป 2. บทบาทในการจัดการข้อมูล (Information Organization) คือจัดการเนื้อหาของสารสนเทศให้อยู่ในที่เดียวกัน เพื่อให้สามารถ สืบค้นได้ และเข้าถึงเนื้อหาในระดับลึกได้ 3. บทบาทในการสืบค้นข้อมูล (Retrieval of Information) ช่วยให้ค้นสารสนเทศได้สะดวก รวดเร็ว ตรงกับความต้องการ ทันเวลา 4. บทบาทในการเผยแพร่สารสนเทศ (Dissemination of Information) ช่วยให้การทารายงาน (Report) การจัดเรียง (Sorting) เร็วขึ้นส่งผลให้การเผยแพร่สารสนเทศเร็วยิ่งขึ้น
  • 6. ส่วนประกอบของฐานข้อมูล • 1. บิต (Bit) • 2. อักขระ (Character) • 3. เขตข้อมูล (Field/ Data Item) • 4. ระเบียนข้อมูล (Record) • 5. แฟ้มข้อมูล (File) • 6. ฐานข้อมูล (Database)
  • 7. ส่วนประกอบของฐานข้อมูล (ต่อ) http://pioneer.chula.ac.th/~vduangna/2200199/page3.html
  • 8. ส่วนประกอบของฐานข้อมูล (ต่อ) • บิต (bit) ย่อมาจาก Binary Digit ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1 บิต จะแสดงได้ 2 สถานะคือ 0 หรือ 1 การเก็บข้อมูลต่างๆ ได้จะต้องนาบิตหลายๆ บิตมาเรียงต่อกัน เช่น นา 8 บิต มาเรียงเป็น 1 ชุด เรียกว่า 1ไบต์ เช่น 10100001 หมายถึง ก 10100010 หมายถึง ข 1 ไบต์ เป็นตัวแทนอักขระ 1 ตัวของตัวอักษร (alphabetic) ตัวเลข (numeric) หรือสัญลักษณ์ (symbol)
  • 9. ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1 บิต จะแสดงได้ 2 สถานะ คือ 0 หรือ 1 เพราะ ..... การทางานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยกระแสไฟฟ้า โดยสายไฟ 1 สายหากมีไฟฟ้าจะ แทนด้วยเลข 1 หากไม่มีกระแสไฟฟ้า จะแทนด้วย 0 นั่นเอง เมื่อมีการนาสายไฟ 8 เส้นมาใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูล ก็จะได้สภาวะการมี/ไม่มี กระแสไฟฟ้าได้ ดังตัวอย่าง 1 0 1 0 0 0 0 1 10100001 หมายถึง ก
  • 10. ส่วนประกอบของฐานข้อมูล (ต่อ) • เมื่อเรานา ไบต์ (byte) หลายๆ ไบต์ มาเรียงต่อกัน เรียกว่า เขต ข้อมูล (field) เช่น Author ใช้เก็บชื่อและนามสกุลของผู้แต่ง เป็นต้น • เมื่อนาเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูลมาเรียงต่อกันเรียกว่า ระเบียน (record) เช่น ระเบียนที่ 1 เก็บข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ 1 เล่ม เป็นต้น • การเก็บระเบียนหลายๆระเบียน รวมกัน เรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File) เช่น แฟ้มข้อมูลหนังสือจะเก็บระเบียนของหนังสือจานวน 10,000 ระเบียน เป็นต้น • การจัดเก็บแฟ้มข้อมูลหลายๆ แฟ้มข้อมูลไว้ภายใต้ระบบเดียวกัน เรียกว่า ฐานข้อมูล (Database) เช่น เก็บแฟ้มข้อมูลหนังสือ แฟ้มข้อมูลงานวิจัยแฟ้มข้อมูลบทความในวารสาร แฟ้มข้อมูลวีดิทัศน์ เป็นต้น
  • 13.
  • 14.
  • 20.
  • 22. ประเภทของฐานข้อมูล 1. ฐานข้อมูลอ้างอิง (Reference Databases) บางครั้งเรียกว่า ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Databases) 2. ฐานข้อมูลต้นแหล่ง (Source Databases) หรือ Non-bibliographic Databases หรือ Factual Databases บางครั้งเรียกว่า ธนาคาร ข้อมูล (Databank)
  • 23. ประเภทของฐานข้อมูล (ต่อ) 2. ฐานข้อมูลต้นแหล่ง (Source Databases) (ต่อ) 2.1 ฐานข้อมูลตัวเลข (Numeric Databases) 2.2 ฐานข้อมูลเนื้อหาผสมตัวเลข (Textual-Numeric Databases) 2.3 ฐานข้อมูลคุณสมบัติ (Properties Databases) 2.4 ฐานข้อมูลเนื้อหาสมบูรณ์ หรือฐานข้อมูลฉบับเต็ม (Full-text Databases)
  • 24. ประเภทของฐานข้อมูล (ต่อ) • นอกจากนั้นอาจจาแนกเป็น 1. ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด (Web OPAC) 2. ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Databases) 3. ฐานข้อมูลซีดีรอม 4. ฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต • หรือจาแนกตามสาขาวิชาเป็น 1. ฐานข้อมูลมนุษยศาสตร์ 2. ฐานข้อมูลสังคมศาสตร์ 3. ฐานข้อมูลวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
  • 25. ประเภทของฐานข้อมูล (ต่อ) • นอกจากนั้นอาจจาแนกเป็น 1. ฐานข้อมูลภายในที่เป็นผลผลิตของหน่วยงาน = ฐานข้อมูลองค์กร 2. ฐานข้อมูลภายนอก ความแตกต่างของฐานข้อมูลภายในและฐานข้อมูลภายนอก ดูที่หน้า 38
  • 26. ประโยชน์ของฐานข้อมูล • ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อน • รักษาความถูกต้องของข้อมูล • การป้องกันและรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลทาได้ อย่างสะดวก • สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ • มีความเป็นอิสระของข้อมูล • สามารถขยายงานได้ง่าย
  • 27. ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล • DBMS - Database Management System • ซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการฐานข้อมูล • ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล • ตัวอย่าง DBMS – dBASE – FoxPro – Microsoft Access – DB2 – Oracle – Microsoft SQL Server – MySQL – PostgreSQL
  • 28. ภาษา SQL • Structured Query Language • ภาษาที่มีรูปแบบเป็นภาษาอังกฤษ ง่ายต่อการเรียนรู้ และเขียนโปรแกรม • มีความสามารถในการนิยามโครงสร้างตารางภายใน ฐานข้อมูล การจัดการข้อมูล และควบคุมสิทธิการใช้ งานฐานข้อมูล
  • 30. คาถาม: โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล • 1. ระเบียนของฐานข้อมูลบรรณานุกรมจะประกอบด้วย ส่วนต่าง ๆ ที่สาคัญกี่ส่วน อะไรบ้าง (ดูหน้า 39-40) • 2. ระบบฐานข้อมูลจะประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลหลัก ๆ กี่ ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย (ดูหน้า 41) • 3. แฟ้มพิมพ์ (Print File) คืออะไร (ดูหน้า 41) • 4. Index File กับ Posting File ต่างกันตรงไหน (ดูหน้า 41) • 5. จงอธิบายหน้าที่ของ Index File Posting File และ Print File
  • 31. คาถาม: โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล • 6. จงอธิบายการทางานของแฟ้มข้อมูลผกผันที่ช่วยในการ สืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูล (ดูหน้า 41 และ 43) • 7. ในการออกแบบฐานข้อมูลต้องให้ความสาคัญในเรื่อง ใดบ้าง (ดูหน้า 42, 44-47) **************
  • 32. โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล • ในการจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศ ต้องเริ่มจากการ วิเคราะห์ต้นฉบับ เพื่อนาสาระไปกาหนดเป็นระเบียนในฐานข้อมูล บรรณานุกรม • รายละเอียดที่เกิดจากการวิเคราะห์นั้น ถูกจาแนกออกเป็นเขต ข้อมูลตามลักษณะข้อมูลที่พบ ซึ่งมีความแตกต่างไปตามลักษณะ ประเภท หรือสาขาวิชาของทรัพยากรสารสนเทศ • ดังนั้นก่อนจะออกแบบฐานข้อมูลจาเป็นต้องรู้ว่าฐานข้อมูลมีกี่ส่วน อะไรบ้าง แต่ละส่วนควรประกอบไปด้วยเขตข้อมูลใดบ้าง
  • 33. โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล • ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ประกอบด้วย 3 ส่วนสาคัญ 1. ข้อมูลทางบรรณานุกรม (Bibliographic Data) เช่น ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง สถานที่ผลิต ชื่อผู้ผลิต ปีที่ผลิต ฯลฯ 2. ข้อมูลเกี่ยวกับคาสาคัญ (Keywords) หรือ ศัพท์บังคับ (Descriptors) 3. สาระสังเขป (Abstract) หรือ บทคัดย่อ • โดยสรุประเบียนหนึ่ง ๆ จะพบเขตข้อมูลอยู่ 3 ชนิด คือ 1. เขตข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Fields) 2. เขตข้อมูลสาระสังเขป (Abstract Fields) 3. เขตข้อมูลดรรชนี (Index Fields)
  • 34. โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล • ตัวอย่าง ลักษณะการทาดรรชนีในแต่ละเขตข้อมูล ลักษณะคาดรรชนี เขตข้อมูล 1. ดรรชนีคา (Keyword Index) au, ti, yr, la, ab 2. ดรรชนีวลี (Phrase Index) au, so (source) 3. ดรรชนีคาและวลี (Keyword & Phrase Index) de (descriptor) 4. ไม่นามาทาดรรชนี p, vol • ดูตัวอย่างระเบียนบรรณานุกรมบทความในวารสาร ภาพที่ 8 (หน้า 40) และการกาหนดคาค้นเป็นดรรชนีในหน้าที่ 41 • การทาดรรชนีจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคาแต่ละคาในเขตข้อมูลได้สะดวก ส่วนแหล่งที่มา (Source) ให้ค้นได้เฉพาะรูปแบบวลีเท่านั้น ทาให้หาก ต้องการค้นชื่อวารสารต้องพิมพ์ชื่อเต็มของวารสารลงไป
  • 35. โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล • โครงสร้างแฟ้มข้อมูลของฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูลจะแบ่งแฟ้มข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. แฟ้มข้อมูลเรียงลาดับ (Linear File) ได้แก่ แฟ้มพิมพ์ (Print File) หรือเรียกว่า “แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File)” ประกอบด้วยข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ จัดเก็บจัดเรียงตามลาดับเลขทะเบียน เช่น รายการทรัพยากรสารสนเทศ 2. แฟ้มข้อมูลผกผัน (Inverted File) คือ 2.1) แฟ้มดรรชนี (Index File) และ 2.2) แฟ้มจานวนรายการที่มีคาดรรชนี (Posting File)
  • 36. โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล • แฟ้มดรรชนี (Index File) ประกอบด้วยศัพท์ดรรชนีต่าง ๆ ของแต่ละรายการ (ระเบียน) จัดเรียงตามลาดับอักษรของคาดรรชนี เมื่อมีการเพิ่มข้อมูลลงใน Print File ดรรชนีที่เพิ่มขึ้นจะถูก กาหนดลงใน Index File อัตโนมัติ หากคาดรรชนี นั้นไม่เคยมีมาก่อนก็จะถูกเพิ่มเข้าไปใหม่โดยเรียง ตามลาดับอักษร ใน Index File จะระบุจานวนรายการ (ระเบียน) ที่มีคาดรรชนี นั้นปรากฏในฐานข้อมูล ใน Index File แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1) จานวนรายการคาดรรชนีปรากฏ 2) คาศัพท์ดรรชนี 3) ตาแหน่งที่รายการ (ระเบียน) ที่มีคาดรรชนีปรากฏ (ดูตัวอย่างหน้า 43)
  • 37. โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล • แฟ้มจานวนรายการที่มีคาดรรชนี (Posting File) เป็นแฟ้มข้อมูลที่ระบุรายการ (ระเบียน) ที่มีคาดรรชนีนั้นปรากฏอยู่ โดยระบุเป็นตัวเลขบอกตาแหน่งรายการ (ระเบียน) เป็นแฟ้มข้อมูลที่ทางานประสานระหว่าง Index File กับ Print File (สรุป คือ เป็นแฟ้มบอกหมายเลขระเบียนที่มีคาดรรชนีปรากฏอยู่)
  • 38. โครงสร้างและการทางานของฐานข้อมูล การทางานของ Inverted File ที่ช่วยในการสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูล ใส่คาค้น ลงในระบบสืบค้น ตรวจสอบคาค้นที่ Index File ไม่มีคาค้น แสดงผล มีคาค้น บอกว่ามีกี่รายการ (ระเบียน) ตรวจสอบที่ Posting File เพื่อเรียกรายการที่มีคาดรรชนีมาแสดงผล ในการแสดงผลระบบจะเรียกข้อมูลที่สมบูรณ์จาก Print File ขึ้นมา.
  • 40. หลักการออกแบบฐานข้อมูล • การออกแบบฐานข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของวงจรชีวิตการพัฒนา ระบบฐานข้อมูล • ขั้นตอนการพัฒนาระบบฐานข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความต้องการของระบบ * มีข้อมูลอะไรที่ผู้ใช้ต้องการ * ลักษณะของการเรียกใช้ข้อมูล * ความถี่ของการใช้ข้อมูล * ลักษณะของการแสดงผลลัพธ์ * ความต้องการเกี่ยวกับการรายงาน (Report) ฯลฯ การกาหนดคุณลักษณะของระบบฐานข้อมูล จุดมุ่งหมาย ปัญหา ขอบเขต กฎระเบียบต่างๆ การออกแบบฐานข้อมูล
  • 41. หลักการออกแบบฐานข้อมูล • สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล (Database Architecture) แบ่งออกเป็น 3 ระดับ 1. ระดับภายใน (Internal / Physical Level) เป็นโครงสร้างทางกายภาพในการจัดเก็บข้อมูล จะ อยู่ในระดับต่าสุด เช่น เนื้อที่ในการจัดเก็บ ประเภทของข้อมูล ฯลฯ 2. ระดับเชิงแนวคิด (Conceptual Level) เป็นระดับเหนือขึ้นมา เกี่ยวข้องกับมุมมองที่ผู้ใช้มี ต่อข้อมูลในลักษณะกลุ่มว่ามีเอนทิตีอะไร ลักษณะ ประจา ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี ผู้มีสิทธิ์ใช้ ข้อมูล ฯลฯ 3. ระดับภายนอก (External / View Level) เป็นระดับเหนือสุดซึ่งมองเห็นข้อมูลและ การใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนในงานต่าง ๆ
  • 42. หลักการออกแบบฐานข้อมูล • ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล 1. การออกแบบเชิงแนวคิด (Conceptual Design) เป็นการประมวลความต้องการของผู้ใช้ การออกแบบแนวคิดจะเกี่ยวข้องกับ เนื้อหาฐานข้อมูล การใช้ฐานข้อมูล ข้อมูลที่ต้องการ รายงานที่ต้องการ 2. การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) เป็นระดับต่อเนื่องจาก 1 แปลงแนวคิดให้อยู่ในรูป โครงสร้าง ของฐานข้อมูล กาหนดเขตข้อมูล ระเบียนข้อมูล เพื่อนาไปสร้างเป็นฐานข้อมูลจริง 3. การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) เป็นการนาเอา 2 มาออกแบบการจัดเก็บข้อมูลในฮาร์ดแวร์ พิจารณารูปแบบข้อมูล ขนาดค่าข้อมูล โครงสร้างจัดเก็บ วิธีการเข้าถึงข้อมูล การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล
  • 43. หลักการออกแบบฐานข้อมูล • การทางานของระบบฐานข้อมูล มี 4 ขั้นตอน 1. การสร้างระบบฐานข้อมูล 2. การสอบถามข้อมูล 3. การปรับค่าการเพิ่มเติมและลบทิ้งข้อมูล 4. การดูแลความปลอดภัยและบูรณภาพของฐานข้อมูล
  • 44. หลักการออกแบบฐานข้อมูล • การทางานของระบบฐานข้อมูล มี 4 ขั้นตอน 1. การสร้างระบบฐานข้อมูล ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1.1 การกาหนดนิยามฐานข้อมูล ใช้ภาษานิยามฐานข้อมูล หรือ ภาษาดีดีแอล (Data Definition Language - DDL) 1.2 กาหนดเค้าร่างข้อมูล เช่น entity ลักษณะประจาว่ามีข้อมูลอะไรบ้าง ขนาด ความยาว ฯลฯ 1.3 การสร้างฐานข้อมูล (Database Creation) โดยการเขียนคาสั่งเพื่ออ่านและจัดเก็บค่าของข้อมูลเข้า ไปอยู่ในฐานข้อมูลตามโครงสร้างที่กาหนดไว้ในนิยาม ฐานข้อมูล เมื่อสร้างฐานเสร็จแล้ว ต้องการปรับแก้โครงสร้าง เช่น เพิ่มเขต ข้อมูล ให้แก้ไขนิยามฐานข้อมูลเดิมได้
  • 45. หลักการออกแบบฐานข้อมูล • การทางานของระบบฐานข้อมูล มี 4 ขั้นตอน (ต่อ) ในระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ซึ่งบอกถึง “ข้อมูลของข้อมูล” หรือเมทาดาทา ซึ่งใช้เก็บ คาจากัดความ พร้อมคุณลักษณะของข้อมูล เจ้าของ- ผู้รับผิดชอบ ข้อมูล ฯลฯ 2. การสอบถามข้อมูล การค้นหา หรือสอบถามข้อมูลจากฐานข้อมูลใช้ภาษาสอบถาม (Query Language) ภาษาที่เป็นมาตรฐานของระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ภาษา SQL
  • 46. หลักการออกแบบฐานข้อมูล • การทางานของระบบฐานข้อมูล มี 4 ขั้นตอน (ต่อ) 3. การปรับค่าการเพิ่มเติมและลบทิ้งข้อมูล คือ การใช้ภาษาเพื่อการปรับแต่งข้อมูล หรือภาษา DML (Data Manipulation Language) เช่น การปรับค่า (update) การเพิ่มข้อมูลใหม่ (insertion) การลบทิ้งข้อมูลเดิม (deletion) ฯลฯ 4. การดูแลความปลอดภัยและบูรณภาพของฐานข้อมูล คือ วิธีการที่จะรับประกันว่าผู้ใช้ได้ใช้ข้อมูลเฉพาะในส่วนที่มี สิทธิเท่านั้น ซึ่งจะมีการกาหนดบัญชีผู้ใช้ (User Account) การใช้รหัสผ่าน (password) และการ กาหนดสิทธิในการใช้ฐานข้อมูล การควบคุมบูรณภาพของข้อมูล หมายถึง ระบบจัดการ ฐานข้อมูลที่ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องเสมอ ค่าของข้อมูลที่ อยู่ในตารางที่สัมพันธ์กันจะต้องมีค่าตรงกันเสมอ
  • 47. ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล • การออกแบบฐานข้อมูลเพื่อการค้นคืน • การสร้างดรรชนีของฐานข้อมูล (Database Indexing) • การสร้างแบบบันทึกข้อมูล (Data Entry Form / Worksheet) • การสร้างรูปแบบการแสดงผล (Output Format) • วิธีการบันทึกข้อมูล (Data Entry) วิธีการสืบค้น (Search) และวิธีการพิมพ์ผล (Printing)
  • 48. ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ) • การออกแบบฐานข้อมูลเพื่อการค้นคืน เป็นการกาหนดโครงสร้างฐานข้อมูล กาหนดหมายเลขเขต ข้อมูล (Field Tag) คุณสมบัติและค่าต่างๆ ของเขตข้อมูล ลักษณะของเขตข้อมูลหลัก เขตข้อมูลย่อย และจานวนที่ เหมาะสม เช่น ถ้าเป็นหนังสือควรมีเขตข้อมูลอะไรบ้าง แต่ละเขตข้อมูลเป็นเอกเทศของตน หรือจัดให้ข้อมูลที่มีลักษณะเดียวกันให้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น Imprint ประกอบด้วยเขตข้อมูลย่อย สถานที่ พิมพ์ สานักพิมพ์ ปีพิมพ์ เป็นต้น
  • 49. ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ) • การสร้างดรรชนีของฐานข้อมูล (Database Indexing) การจัดทาแฟ้มดรรชนี (Index File) เพื่อใช้สาหรับ การสืบค้น โดยส่วนใหญ่ระบบจะสร้างแฟ้มข้อมูลผกผัน (Inverted File) ไว้ด้วยซอฟต์แวร์ที่เลือกแล้ว ซึ่งซอฟต์แวร์แต่ ละตัวจะมีกระบวนการ หรือเครื่องมือในการกาหนดเขตข้อมูล สาหรับทาดรรชนีไว้ต่างกัน และวิธีการสร้างแฟ้มดรรชนีก็ยัง ต่างกันด้วย ผู้ออกแบบต้องศึกษาและปฏิบัติตามอย่างถูกต้อง
  • 50. ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ) • การสร้างแบบบันทึกข้อมูล (Data Entry Form / Worksheet) หรือ แผ่นงาน เป็นแบบฟอร์มเปล่า ๆ ที่ใช้บันทึกข้อมูลเข้า สู่ฐาน แต่บางโปรแกรมใช้ระบุหมายเลขเขตข้อมูล หรือชื่อเขต ข้อมูลก็ได้ • การสร้างรูปแบบการแสดงผล (Output Format) ต้องรู้ว่าผู้ใช้ต้องการให้ระเบียนแสดงผลอะไรบ้าง ใน รูปแบบใดบ้าง หรือให้ผู้ใช้สามารถกาหนดรูปแบบการ แสดงผลที่ตนเองต้องการได้
  • 51. ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ) • วิธีการบันทึกข้อมูล (Data Entry) วิธีการสืบค้น (Search) และวิธีการพิมพ์ผล (Printing) ในการสร้างระเบียนใหม่ทาได้ด้วยวิธีใดบ้าง * Key-in เข้าไปทีละหน่วย ทีละเขตข้อมูล ทีละ เขตข้อมูลย่อย เข้าไปใน Worksheet * Loading ถ่ายโอนข้อมูลระเบียนจากฐานข้อมูล ที่มีอยู่แล้วเข้าสู่ฐานข้อมูลใหม่ เมื่อระเบียนถูกบันทึก หรือนาเข้าสู่ฐานข้อมูล ดรรชนีเพื่อ การสืบค้นจะถูกจัดทาขึ้นอัตโนมัติ เพื่อใช้ในการสืบค้น แต่ใน บางครั้งอาจจะต้องจัดทาขึ้นต่างหาก โดยใช้ทางเลือกการ ปรับปรุงแฟ้มข้อมูลผกผัน (Inverted File) และหลังจากสร้าง ดรรชนีขึ้นแล้ว ผู้ใช้ก็จะสามารถทาการค้นได้โดยใช้ทางเลือก เมนู (menu) ของซอฟต์แวร์นั้น ๆ
  • 52. ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ) • วิธีการบันทึกข้อมูล (Data Entry) วิธีการสืบค้น (Search) และวิธีการพิมพ์ผล (Printing) (ต่อ) วิธีการพิมพ์ผล: แสดงผลที่หน้าจอคอม อาจออกมาตามรูปแบบที่ได้กาหนดไว้ หรือมีทางเลือกให้ผู้ใช้เลือกตามที่ต้องการ การเลือกรูปแบบการพิมพ์ผล การจัดเรียงผลการสืบค้น Export ข้อมูลออกจากฐานข้อมูล (เป็นไปตามมาตรฐาน ISO 2709)
  • 53. ระบบการค้นคืนสารสนเทศกับฐานข้อมูล (ต่อ) • การเลือกซอฟต์แวร์สาหรับสร้างฐานข้อมูลและระบบการค้นคืน 1. การออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูล 2. การจาแนกและรายละเอียดของแฟ้มดรรชนี (Index File) 3. การกาหนดรูปแบบของการแสดงผล 4. การออกแบบแผ่นงานสาหรับบันทึกข้อมูล 5. กระบวนการสร้างระเบียน 6. กระบวนการสร้างแฟ้มข้อมูลผกผัน 7. การสืบค้นฐานข้อมูล 8. การแสดงผล การจัดเรียงผล และการพิมพ์ผล *******************
  • 54. บรรณานุกรม เดชา นันทพิชัย. 2546. การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval). พิมพ์ครั้งที่ 2. นครศรีธรรมราช: หลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สานักวิชา สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. พิมพ์ราไพ เปรมสมิทธ์. 2538. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม: การสร้างและการใช้. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2545. แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้น คืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval) หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ลัดดา โกรดิ. 2545. “เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ.” ใน ประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval), หน่วยที่ 1-4, หน้า 63-106. นนทบุรี: สาขาวิชา ศิลปะ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.