SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
คําช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น
คําช่วยพื้นฐาน
คําช่วยในบทเรียนนี้ประกอบไปด้วย คําช่วยพื้นฐานดังนี้
は も の か
เป็นคําพ่วง (zokugo) ที่ไม่ผันรูป ใช้ตามหลังคําอิสระ (jiritsugo) เพื่ออธิบาย
ความสัมพันธ์กับคํานั้นกับคําอื่นในประโยค หรือเพื่อเติมความหมายให้กับคําอิสระ
แบ่งเป็น 4 ประเภทคือ 1)คําช่วยสถานะ 2)คําช่วยเชื่อม 3)คําช่วยเกี่ยวเนื่อง 4)คําช่วย
วิเศษณ์
คําช่วย は
 คําช่วย は เป็นคําช่วยที่ชี้ให้เห็นว่า คํานามที่อยู่ข้างหน้าเป็นหัวข้อเรื่อง
ของประโยค เมื่อผู้พูดต้องการจะพูดเรื่องอะไร ก็จะใช้คํานามนั้น ตามด้วย
คําช่วย は และตามด้วยประโยคที่ต้องการ
เช่น わたしは がくせいです。
แปลว่า ฉัน เป็น นักเรียน
*คําช่วย は อ่านว่า Wa
เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
คําช่วย も
 คําช่วย も เป็นคําช่วยที่พรรณนาเกี่ยวกับคํานามที่เป็นหัวข้อเรื่อง
ของเรื่องราวนั้น ๆ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่เคยกล่าวมาแล้ว เราจะใช้คําช่วย も
แทนคําช่วย は
เช่น わたしは がくせいです。 ฉัน เป็น นักเรียน
きらさんも かくせいです。 ฉัน ก็เป็น นักเรียน
*คําช่วย は อ่านว่า Wa
เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
คําช่วย の
 คําช่วย の เป็นคําช่วยที่ใช้เชื่อมคํานามกับคํานาม ทําหน้าที่บอกถึง
ความสัมพันธ์ของคํานามที่ 1 และ คํานามที่ 2 ว่าเกี่ยวข้องกันและสามารถ
แสดงความเป็นเจ้าของได้อีกด้วย
เช่น わたしは コンケンだいがくの がくせいです。
ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
*สังเกตว่า ภาษาญี่ปุ่น จะแปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อน แล้วจึงแปล
ความหมายจากท้ายประโยคมาข้างหน้า ดังนี้
わたしは コンケンだいがくの がくせいです。
ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คําช่วย か
 คําช่วย か เป็นคําช่วยที่ใช้แสดงความรู้สึกสงสัย หรือไม่แน่ใจเป็น
คําช่วยที่ใช้เติมไว้หลังประโยคบอกเล่า หรือประโยคปฏิเสธ เพื่อทําให้
ประโยคนั้นเป็นคําถาม และจะออกเสียง か สูงที่ท้ายประโยค
เช่น あなたは コンケンだいがくの がくせいですか。
คุณ เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่นใช่ไหม
• ตัวอย่างการถามและการตอบคําถาม
あなたは がくせいですか。
ตอบ แบบบอกเล่า
はい、わたしは がくせいです。ใช่ ฉันเป็นนักเรียน
ตอบแบบปฏิเสธ
いいえ、わたしは かくせいではありません。ไม่ใช่ ฉันไม่ใช่นักเรียน
หรือ いいえ、しゃいんです。ไม่ใช่ ฉันเป็นพนักงานบริษัท

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษาMontree Dangreung
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าDueansc
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
การเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกการเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกyahapop
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่punchza
 

Mais procurados (20)

ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
 
การเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกการเขียนบันทึก
การเขียนบันทึก
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
Pat2 ต.ค. 59
Pat2 ต.ค. 59Pat2 ต.ค. 59
Pat2 ต.ค. 59
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่
 

Destaque

แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6Acha Nai
 
ตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนาตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนาbass hyde
 
คำศัพท์
คำศัพท์คำศัพท์
คำศัพท์bass hyde
 
สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่bass hyde
 
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)Kathe Camargo
 

Destaque (6)

แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
 
ตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนาตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนา
 
คำศัพท์
คำศัพท์คำศัพท์
คำศัพท์
 
สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่
 
คำศัพท์บทที่ 1 ถึง บทที่ 12
คำศัพท์บทที่  1 ถึง บทที่ 12คำศัพท์บทที่  1 ถึง บทที่ 12
คำศัพท์บทที่ 1 ถึง บทที่ 12
 
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)
 

คำช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น.Pdf

  • 2. คําช่วยพื้นฐาน คําช่วยในบทเรียนนี้ประกอบไปด้วย คําช่วยพื้นฐานดังนี้ は も の か เป็นคําพ่วง (zokugo) ที่ไม่ผันรูป ใช้ตามหลังคําอิสระ (jiritsugo) เพื่ออธิบาย ความสัมพันธ์กับคํานั้นกับคําอื่นในประโยค หรือเพื่อเติมความหมายให้กับคําอิสระ แบ่งเป็น 4 ประเภทคือ 1)คําช่วยสถานะ 2)คําช่วยเชื่อม 3)คําช่วยเกี่ยวเนื่อง 4)คําช่วย วิเศษณ์
  • 3. คําช่วย は  คําช่วย は เป็นคําช่วยที่ชี้ให้เห็นว่า คํานามที่อยู่ข้างหน้าเป็นหัวข้อเรื่อง ของประโยค เมื่อผู้พูดต้องการจะพูดเรื่องอะไร ก็จะใช้คํานามนั้น ตามด้วย คําช่วย は และตามด้วยประโยคที่ต้องการ เช่น わたしは がくせいです。 แปลว่า ฉัน เป็น นักเรียน *คําช่วย は อ่านว่า Wa เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
  • 4. คําช่วย も  คําช่วย も เป็นคําช่วยที่พรรณนาเกี่ยวกับคํานามที่เป็นหัวข้อเรื่อง ของเรื่องราวนั้น ๆ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่เคยกล่าวมาแล้ว เราจะใช้คําช่วย も แทนคําช่วย は เช่น わたしは がくせいです。 ฉัน เป็น นักเรียน きらさんも かくせいです。 ฉัน ก็เป็น นักเรียน *คําช่วย は อ่านว่า Wa เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
  • 5. คําช่วย の  คําช่วย の เป็นคําช่วยที่ใช้เชื่อมคํานามกับคํานาม ทําหน้าที่บอกถึง ความสัมพันธ์ของคํานามที่ 1 และ คํานามที่ 2 ว่าเกี่ยวข้องกันและสามารถ แสดงความเป็นเจ้าของได้อีกด้วย เช่น わたしは コンケンだいがくの がくせいです。 ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น *สังเกตว่า ภาษาญี่ปุ่น จะแปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อน แล้วจึงแปล ความหมายจากท้ายประโยคมาข้างหน้า ดังนี้ わたしは コンケンだいがくの がくせいです。 ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 6. คําช่วย か  คําช่วย か เป็นคําช่วยที่ใช้แสดงความรู้สึกสงสัย หรือไม่แน่ใจเป็น คําช่วยที่ใช้เติมไว้หลังประโยคบอกเล่า หรือประโยคปฏิเสธ เพื่อทําให้ ประโยคนั้นเป็นคําถาม และจะออกเสียง か สูงที่ท้ายประโยค เช่น あなたは コンケンだいがくの がくせいですか。 คุณ เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่นใช่ไหม • ตัวอย่างการถามและการตอบคําถาม あなたは がくせいですか。 ตอบ แบบบอกเล่า はい、わたしは がくせいです。ใช่ ฉันเป็นนักเรียน ตอบแบบปฏิเสธ いいえ、わたしは かくせいではありません。ไม่ใช่ ฉันไม่ใช่นักเรียน หรือ いいえ、しゃいんです。ไม่ใช่ ฉันเป็นพนักงานบริษัท