SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
001272 Introduction to Computer Information Science 1
การทํางานของคอมพิวเตอรการทํางานของคอมพิวเตอร
วิชา 001272 คอมพิวเตอรสารสนเทศขั้นพื้นฐาน
โดยภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
1
001272 Introduction to Computer Information Science
2
จุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรู
• ทราบถึงองคประกอบของระบบคอมพิวเตอร
• เขาใจการทํางานรวมกันขององคประกอบตางๆในระบบคอมพิวเตอร
2
001272 Introduction to Computer Information Science
3
ระบบคอมพิวเตอรระบบคอมพิวเตอร
• ระบบคอมพิวเตอรประกอบดวย 5 องคประกอบที่สําคัญคือ
1. มนุษย (People)
2. ฮารดแวร (Hardware)
3. ซอฟตแวร (Software)
4. ขอมูล (Data)
5. การสื่อสาร (Communication)
3
001272 Introduction to Computer Information Science
4
มนุษย (People)(People)
• มนุษยเปนผูขับเคลื่อนใหเกิดการทํางานขึ้นในระบบคอมพิวเตอร
• มนุษยเปนแหลงของขอมูลที่ถูกสงเขาไปประมวลผลในระบบ
– เชน การปอนขอมูลเขาสูระบบ ดวย การพิมพ การสแกน หรือ การคลิกเลือกขอมูล
• มนุษยเปนแหลงของเหตุการณที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบคอมพิวเตอร
– เชน การออกคําสั่งใหคอมพิวเตอรคํานวณขอมูล สั่งใหแสดงผล หรือ พิมพรายงาน
• มนุษยเปนผูใชประโยชนจากผลลัพธที่เกิดขึ้นจากการทํางานของคอมพิวเตอร
– เชน นําสารสนเทศที่ไดจากการประมวลผลมาใชในการตัดสินใจ
• บทบาทของมนุษยที่มีตอระบบคอมพิวเตอรนั้นมีหลายบทบาท ไดแก เปนผูใช
(Users) เปนผูพัฒนาระบบ (System Developer) หรือ เปนผูดูแลระบบ (System
Administrators)
4
ฮารดแวรฮารดแวร (Hardware)(Hardware)
• ฮารดแวรเปนองคประกอบของระบบคอมพิวเตอรที่เปนอุปกรณเชิงกายภาพ
(Physical Devices) เราสามารถจับตองได
• สามารถแบงกลุมตามหนาที่ในสวนของคอมพิวเตอรฮารดแวรไดออกเปน 5
หนวย ดังนี้
1. หนวยรับขอมูล (Input Unit)
2. หนวยประมวลผล (Processing Unit)
3. หนวยแสดงผลขอมูล (Output Unit)
4. หนวยจัดเก็บขอมูล (Storage Unit)
5. หนวยตอประสาน (Connectivity)
แบบจําลองโครงสรางของเครื่องคอมพิวเตอร
สวนนําขอมูลเขา
INPUT
หนวยประมวลผล
PROCESSOR
สวนแสดงผลขอมูลออก
OUTPUT
หนวยความจํา
MEMORY
หนวยตอประสาน
Connectivity
ซอฟตแวรซอฟตแวร (Software)(Software)
• ซอฟทแวรเปนกลุมของคําสั่งที่กําหนดการ
ทํางานของฮารดแวร
• ซอฟตแวรเปนสิ่งควบคุมใหคอมพิวเตอร
ทํางานไดตามวัตถุประสงคที่เราตองการ
• ซอฟทแวรแบงออกเปน 2 ประเภทคือ
1. ซอฟตแวรระบบ (System Software) ทํา
หนาที่ควบคุมการทํางานขององคประกอบ
ฮารดแวรตางๆ ใหสามารถทํางานรวมกัน
ได
2. ซอฟทแวรประยุกต (Application
Software) ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทํางานตาม
วัตถุประสงคการใชงานของผูใช
001272 Introduction to Computer Information Science
7
ขอมูลขอมูล (Data)(Data)
• ขอมูล คือขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมตางๆ ในสิ่งแวดลอมของระบบ
• ขอมูล จะถูกนําเขามาจัดเก็บและประมวลผล ในระบบคอมพิวเตอร
• ขอมูลมีหลากหลายชนิด ไดแก
1. ขอมูลเชิงตัวเลข (Numeric Data) เชน จํานวนเต็ม หรือ จํานวนจริง
2. ขอมูลเชิงขอความ (Text Data) เชน ตัวอักขระ หรือ ขอความ
3. ขอมูลเสียง (Audio Data) เชน ไฟลเพลงชนิดตางๆ Wave, MIDI, MP3
4. ขอมูลภาพ (Images Data) เชน ไฟลภาพชนิดตางๆ Bitmap, JPEG, GIF
5. ขอมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) เชน ไฟลวีดีชนิดตางๆ AVI, MPEG
001272 Introduction to Computer Information Science
8
การสื่อสารการสื่อสาร (Communication)(Communication)
• คอมพิวเตอรที่ทํางานเพียงเครื่องเดียวถูกเรียกวา “Standalone computer”
• ปจจุบันดวยเทคโนโยลีเครือขาย (Network technology) ทําใหคอมพิวเตอรสามารถ
สื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลกันได จึงทําใหเกิดเปนโครงสรางของระบบเครือขาย
คอมพิวเตอร (Computer network) ขึ้น
• ระบบเครือขายคอมพิวเตอร ทําใหการประยุกตใชคอมพิวเตอรมีความหลากหลาย
และเกิดประโยชนมากยิ่งขึ้น (ติดตามเนื้อหาเกี่ยวกับระบบเครือขายในบทถัดไป)
001272 Introduction to Computer Information Science
9
การทํางานของคอมพิวเตอร
• ในสวนนี้เปนการอธิบายถึงวิธีการทํางานของคอมพิวเตอรในหัวขอ
ตอไปนี้
– วิธีการแปลงสัญญาณของคอมพิวเตอร
– วิธีการแทนขอมูลของคอมพิวเตอร
– วิธีการสื่อสารขอมูลของคอมพิวเตอร
– วิธีการเก็บขอมูลของคอมพิวเตอร
– วิธีการประมวลผลของคอมพิวเตอร
– วิธีการเชื่อมตอกับอุปกรณภายนอก
วิธีการแปลงสัญญาณของคอมพิวเตอร
• สัญญาณที่มีอยูทั่วไปตามธรรมชาติ เชน
เสียง ไฟฟา หรือคลื่นแมเหล็กไฟฟา จะมี
ลักษณะของสัญญาณเปน “คลื่น
แบบตอเนื่อง” เรียกวา สัญญาณอนาล็อก
(Analog Signal)
• คอมพิวเตอรมีวิธีการประมวลผลสัญญาณ
ในแบบสัญญาณดิจิตอล (Digital Signal)
ซึ่งลักษณะของสัญญาณจะมีเพียงสอง
สถานะคือ เปดและปด (On/Off)
– สัญญาณดิจิตอลจะแทนสัญลักษณของ สถานะ
เปดดวย 1 และสถานะปดดวย 0
1 0 1 0 1 0
วิธีการแปลงสัญญาณของคอมพิวเตอร
• ขอมูลสัญญาณที่เปนอนาล็อกจะตองถูกแปลงเปนสัญญาณแบบดิจิตอลเพื่อนําเขาไป
ประมวลผลในคอมพิวเตอร
• ขอมูลสัญญาณที่เปนดิจิตอลก็จะถูกแปลงกลับเปนสัญญาณอนาล็อกเพื่อแสดงผลสูภายนอก
• คอมพิวเตอรจะมีตัวแปลงสัญญาณ 2 ชนิดที่แปลงสัญญาณระหวางอนาล็อกและดิจิตอล
– Analog-Digital Converter (ADC) แปลงจากอนาล็อกเปนดิจิตอล
– Digital-Analog Converter (DAC) แปลงจากดิจิตอลเปนอนาล็อก
ADC CPU DAC01011001 11100101
วิธีการแทนขอมูลของคอมพิวเตอร
• ขอมูลทางคอมพิวเตอรมีหลายประเภท เชน จํานวน ขอความ ภาพ หรือ เสียง
• เมื่อนําขอมูลเหลานั้นไปประมวลผลในคอมพิวเตอรจําเปนตองทําการ เขารหัส
แบบดิจิตอลเพื่อแทนขอมูลเดิม และจะตองมีการแปลรหัสจากรหัสดิจิตอลกลับคืน
สภาพเดิม
วิธีการแทนขอมูลของคอมพิวเตอร
• ตัวอยางการแทนขอมูล
– ตองการนําเลขจํานวนเต็มที่มีคา 12 ไปเก็บในหนวยความจําของคอมพิวเตอร
– ถาหนวยความจําที่ใชเก็บมีขนาด 8 bits
– เราใชวิธีการแปลงเลขฐานในการแทนขอมูลชนิดจํานวน
– จากเนื้อหาในบทที่แลวเราทราบวา 12 = 11002
– ดังนั้นเลข 12 จะถูกแทนดวย 00001100ในหนวยความจํา
• เชนเดียวกัน ถาเราอานขอมูล 00001100 จากหนวยความจําและเรา
ตองการแปลความหมายของรหัสนี้เปนจํานวนเต็ม เราสามารถทราบได
วารหัสนี้คือ 12
วิธีการสื่อสารขอมูลของคอมพิวเตอร
• องคประกอบตางๆ ของคอมพิวเตอรจําเปนตองมีการสื่อสารระหวางกัน ดังนั้นจําเปนตองมี
หนวยตอประสานเปนตัวกลางในการเชื่อมตอ
• แผงวงจรหลักที่ทําหนาที่เปนหนวยตอประสานภายในคอมพิวเตอรคือ เมนบอรด (Mainboard)
CPU
RAM
Harddisk
วิธีการสื่อสารขอมูลของคอมพิวเตอร
• บนเมนบอรดจะมีชองทางการสื่อสารที่เรียกวา BUS ซึ่งทําหนาที่เปนตัวกลางการ
สื่อสารสัญญาณระหวางองคประกอบตางๆ ของคอมพิวเตอร
BUS
ภาพจาก www.rmutphysics.com
วิธีการสื่อสารขอมูลของคอมพิวเตอร
• รูปแบบการสงสัญญาณของคอมพิวเตอร
–สงสัญญาณแบบอนุกรม (Serial Transmission)
• สัญญาณถูกสงตามลําดับ
• สงสัญญาณไปครั้งละ 1 สัญญาณตอ 1 รอบการสง
–สงสัญญาณแบบขนาน (Parallel Transmission)
• สงสัญญาณไปพรอมๆกัน
• สงหลายสัญญาณตอ 1 รอบการสง
วิธีการสื่อสารขอมูลของคอมพิวเตอร
• สงสัญญาณแบบอนุกรม (Serial Transmission)
–สงไดแคครั้งละ 1
–ใชสายสัญญาณเพียงเสนเดียว
Receiver Sender
1 0 1 0
รอบที่ 1 2 3 4
วิธีการสื่อสารขอมูลของคอมพิวเตอร
• สงสัญญาณแบบขนาน (Parallel Transmission)
–สงไดครั้งละหลายสัญญาณ
–ใชสายสงเปนจํานวนมาก
Receiver Sender
1
0
1
0
รอบที่ 1
วิธีการสื่อสารขอมูลของคอมพิวเตอร
• ประสิทธิภาพในการสื่อสารขอมูลขึ้นอยูกับ
– ความกวางของ BUS
• เชน BUS ขนาด 32 bits สามารถสงขอมูลแบบขนานไดครั้งละ 32 สัญญาณ
– ความถี่ของ BUS
• เชน BUS ที่มีความถี่ 650 MHz สามารถสงขอมูลได 650 ลานรอบตอวินาที
วิธีการเก็บขอมูลของคอมพิวเตอร
• คอมพิวเตอรจะมีการเก็บขอมูล 2 ลักษณะ
– เก็บแบบลบเลือนได
• คือการเก็บขอมูลไวในหนวยความจําหลัก เชน RAM หรือ Cache
• ขอมูลมูลจําเปนตองมีไฟฟารักษาสภาพอยูตลอดเวลา
• ขอมูลจะลบเลือนไปเมื่อทําการปดเครื่อง
– เก็บแบบไมลบเลือน
• คือการเก็บไวในสื่อบันทึกขอมูล เชน Disk, CD, หรือ Flash Memory
• ขอมูลยังรักษาสภาพอยูไดบนสื่อบันทึก ถึงแมไมมีไฟฟา
หนวยของขอมูลคอมพิวเตอร
• Bit คือหนวยที่เล็กที่สุดของขอมูลดิจิตอล ซึ่งอาจจะเปนสถานะทางฟาหรือแมเหล็กหรือรหัสที่มีสองสถานะคือ
On/Off ซึ่งอาจแทนดวยสัญลักษณ 0/1
• Byte = 8 bits
• 1 KB = 1024 Byte
• 1 MB = 1024 KB = 1024x1024 Byte
• 1 GB = 1024 MB = 1024x1024x1024 Byte
• 1 TB = 1024 GB = 1024x1024x1024x1024 Byte
1 0 0 1 0 1 1 0
1 Byte
วิธีการเก็บขอมูลของคอมพิวเตอร
• หนวยความจําของคอมพิวเตอรมีความจุที่จํากัด เชน
– Harddisk มีความจุประมาณที่ 1 TB
– DVD มีความจุประมาณที่ 4 - 5 GB
– RAM มีความจุประมาณที่ 2 – 4 GB
• ถาขอมูลมีปริมาณมากกวาความจุของหนวยความจํา ขอมูลนั้นก็ไม
สามารถจัดเก็บในหนวยความจําไดทั้งหมด
• ถาไฟลภาพยนตร 1 เรื่องมีขนาด 3 GB แลว Harddisk ขนาด 1 TB จะ
เก็บภาพยนตรไดจํานวนกี่เรื่อง?
วิธีการประมวลผลของคอมพิวเตอร
• คอมพิวเตอรประมวลผลตามคําสั่งที่กําหนด
ไวในโปรแกรม (ซอฟตแวร)
• ปกติโปรแกรมจะถูกติดตั้งไวที่สื่อบันทึก
ขอมูล เชนติดตั้งไวบน Harddisk
• โปรแกรมจะถูกโหลดเขาไปยัง
หนวยความจําหลักเมื่อมีการเรียกใชงาน
• CPU จะทําการอานคําสั่งจากหนวยความจํา
หลักเพื่อไปประมวลผล
• ดังนั้นการประมวลผลของคอมพิวเตอรจึงมี
สื่อบันทึกขอมูล หนวยความจําหลัก และ
ซีพียู ที่จะทํางานเกี่ยวของกันเสมอ
CPU
RAM
Harddisk
Bus
Bus
โหลดโปรแกรม
โหลดคําสั่ง
ประมวลผล
วิธีการประมวลผลของคอมพิวเตอร
• การทํางานของ CPU
– CPU ใชวิธีการแบบการทําซ้ําๆที่
เรียกวา machine cycle เพื่อประมวลผล
คําสั่งในโปรแกรมตั้งแตตนจนจบโดย
ทําทีละ 1 คําสั่ง
– Machine cycle ประกอบดวย 3
ขั้นตอนคือ Fetch, Decode, และ
Execute
machine cycle
วิธีการประมวลผลของคอมพิวเตอร
001272 Introduction to Computer Information Science
26
• Fetch เปนขั้นตอนที่หนวยควบคุมสั่งใหระบบทําการคัดลอกคําสั่งถัดไปและนําไปเก็บไวใน
instruction register (ภายใน CPU) ตําแหนงที่อยูของคําสั่งดังกลาวจะเก็บไวใน program counter
register หลังจากการคัดลอกคําสั่งแลว คาของ program counter จะเพิ่มขึ้นอีก 1 เพื่ออางอิงถึง
คําสั่งถัดไปในหนวยความจํา
• Decode เปนขั้นตอนที่หนวยควบคุมตีความหมายของคําสั่งที่อยูใน instruction register ผลลัพธที่
ไดจะเปนรหัสไบนารี่ (binary code) ที่แทนการกระทํา (Actions) ที่คอมพิวเตอรจะตองทํา
• Execute เปนขั้นตอนที่หนวยควบคุม (Control Unit: CU) สงสัญญาณควบคุมไปยังหนวยอื่น เพื่อ
สั่งใหกระทําการตาม รหัสไบนารี่ ที่ตามความไดจากขั้นตอน Decode กอนหนานี้
– เชนหนวยควบคุมบอกใหหนวยรับขอมูลทําการอานขอมูลจากหนวยความจํา
– หรือให ALU ทําการบวกเลข 2 จํานวนที่เก็บอยูใน input registers แลวเก็บผลลัพธไวใน output register
วิธีการประมวลผลของคอมพิวเตอร
• ความเร็วในการประมวลผลของ CPU พิจารณา
จากถามถี่ของสัญญาณนาฬิกา (Clock) ซึ่งเปน
สัญญาณคอยกํากับจังหวะการทํางานของ CPU
• ปจจุบันความถี่สัญญาณนาฬิกาของ CPU อยูที่
ประมาณ 3 GHz (ประมาณ 3 พันลานรอบตอ
วินาที)
• สมมุติให CPU ใช 1 จังหวะของ Clock ทําการ
ประมวลผลคําสั่ง 1 คําสั่ง หมายความวา CPU
สามารถประมวลผลคําสั่งได ประมาณ 3
พันลานคําสั่งตอวินาที
• CPU ในปจจุบันเปนแบบ Multi-core Processor
เชน Dual Core หรือ Quad Core ซึ่งสามารถ
ประมวลผลคําสั่งไดแบบขนาน หมายถึง
ประมวลผลคําสั่งไดหลายคําสั่งพรอมๆกัน
www.techspot.com
ประสิทธิภาพการทํางานของคอมพิวเตอร
• ประสิทธิภาพการทํางานของคอมพิวเตอรไมไดขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของ CPU เพียงอยางเดียว แตขึ้นอยู
กับทุกๆองคประกอบที่ทํางานสัมพันธกัน ไดแก CPU , RAM, BUS, Harddisk และอุปกรณตอพวงอื่นๆ
• ปญหาเกี่ยวกับประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรในปจจุบันคือ ปญหาคอขวด (Bottleneck)
ถึงแมวา CPU จะมีความเร็วในการประมวลผลสูง แตขอมูลที่จะประมวลผลนั้นตองนํามาจาก RAM และ
สงผาน BUS ซึ่งมีอัตราเร็วที่ต่ํากวา CPU มาก จึงทําให CPU จะตองเสียเวลาในการรอขอมูล
• และถา RAM มีขนาดเล็กไมเพียงพอตอการเก็บขอมูลที่จะประมวลผล ระบบปฏิบัติการจะใชพื้นที่บน
Harddisk สรางเปนหนวยความจําเสมือน (Virtual Memory) ซึ่งการอานขอมูลจาก Harddisk มา
ประมวลผลก็ยิ่งชาลงไปอีก
CPU RAM
3 GHz
650 MHz
BUS
ประสิทธิภาพการทํางานของคอมพิวเตอร
• เพื่อใหประสิทธิภาพของการทํางาน
โดยรวมดีขึ้น จึงไดนําหนวยความจําที่มี
ความเร็วในการเขาถึงสูงเรียกวา Cache
มาใชเปนตัวกลางระหวาง CPU และ
RAM
• หลักการคือ นําขอมูลหรือคําสั่งที่ใช
บอยๆ ไปเก็บไวใน Cache เมื่อ CPU ทํา
การอานขอมูลเพื่อนําไปประมวลผลก็จะ
ไปอานขอมูลจาก Cache กอน ถาขอมูล
ไมมีใน Cache จึงจะไปอานจาก RAM
และ Disk ตามลําดับตอไป
ALUCU
registers
Cache (Level 1)
CPU
Cache (Level 2)
RAM
Harddisk
วิธีการเชื่อมตอกับอุปกรณภายนอก
• อุปกรณภายนอกไดแก Mouse, Keyboard, Printer, Scanner และอื่นๆ
• คอมพิวเตอรสามารถเชื่อมตอกับอุปกรณภายนอกไดโดยผานสวนเชื่อมตอที่
เรียกวา Port
• Port มีหลายลักษณะ
– Serial Port
– Parallel Port
– USB port
– Infrared Port (Wireless)
– อื่นๆ
001272 Introduction to Computer Information Science
30
วิธีการเชื่อมตอกับอุปกรณภายนอก
• ปจจุบันพอรท USB (Universal Serial Bus)
เปนที่นิยมนํามาใหใชคอมพิวเตอรและ
อุปกรณตอพวงตางๆ
• USB มีความเร็วถึง 400 Mbits/s และจะมี
ความเร็วสูงขึ้นในรุนตอไป
• USB สามารถตออุปกรณไดมากสุดถึง 127
ชิ้น โดยใช HUB กระจายสัญญาณ จึงทําให
สามารถเพิ่มพอรทในการเชื่อมตอไดมาก
ขึ้น
• สามารถใชกับระบบ Plug and Play คือ เมื่อ
ติดตั้ง อุปกรณเขาไปอุปกรณนั้นๆจะ
สามารถทํางานไดทันที
001272 Introduction to Computer Information Science
31
USB Hub
วิธีการเชื่อมตอกับอุปกรณภายนอก
• อุปกรณภายนอกที่เชื่อมตอกับคอมพิวเตอรสามารถทํางานรวมกับ CPU และ RAM
ไดโดยอาศัยตัวควบคุม (Controller) ทําหนาที่เปนตัวกลางรับสงสัญญาณ
• ดังนั้นการทํางานของอุปกรณเหลานี้จึงเปนอิสระจาการควบคุมของ CPU
• และ CPU ไมจําเปนตองติดตอกับอุปกรณเหลานี้โดยตรง เพราะอุปกรณเหลานี้มี
ความเร็วที่ต่ํากวา CPU มาก
คําถามทายบท
1. ถามีไฟลขอมูลขนาด 1 MB และจะตองสงขอมูลนี้ผานบัสที่มีความกวาง
32 บิต และมีความถี่ในการสง 650 MHz จะตองใชเวลาประมาณเทาใด
จึงจะสงไฟลนี้เสร็จ
2. RAM จัดเปนหนวยความจําประเภทใด
ก. แบบเลอะเลือนได ข. แบบลบเลือนได
ค. แบบไมลบเลือน ง. แบบเลอะเทอะ
3. ซอฟตแวรสามารถติดตั้งไวที่ใด
ก. Harddisk ข. RAM
ค. ROM ง. ถูกขอ ก. และ ค.
เอกสารอางอิง
• Ron White, Timothy Edward Downs. How Computers Work (9th
Edition). Que. 2007
• H. L. Capron, Computers Tools for an Information Age, Prentice
Hall. 8 edition. 2003.
• http://en.wikipedia.org/

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมnawapornsattasan
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นPhicha Pintharong
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4nareerat inthukhahit
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technologyNittaya Intarat
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Look-wa Airin
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..amphaiboon
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2Mevenwen Singollo
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศArm'Physics Sonsern-Srichai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsupatra2011
 

What's hot (14)

หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

Similar to 05 computer system

บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลparinee
 
09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูล09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูลteaw-sirinapa
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6paween
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]twatfangmin
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์prakaipet
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์jumphu9
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นyenny3484
 

Similar to 05 computer system (20)

บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูล09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูล
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Lession1
Lession1Lession1
Lession1
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Com
ComCom
Com
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Com
ComCom
Com
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 

More from teaw-sirinapa

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1teaw-sirinapa
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการteaw-sirinapa
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการteaw-sirinapa
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการteaw-sirinapa
 

More from teaw-sirinapa (20)

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการ
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
บทที่ 16
บทที่ 16บทที่ 16
บทที่ 16
 
บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

05 computer system