SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 103
Baixar para ler offline
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
ISIS in IRAQ
รูปแบบการทาสงคราม
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
หนึ่งประเทศสองระบบ
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
รูปแบบของการใช้กาลังอานาจแต่ละยุคสมัย
www.kpi.ac.th
ใช้กาลังอานาจของชาติเป็นเครื่องมือตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Media Power
National
Power
www.kpi.ac.th
การใช้อานาจในการต่อสู้ตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Religion,Culture
Media Power
Facebook, Twitter, Vdolink, Mobile Phone,
TV, Radio
National
Power
GLOBAL CONFLICT
•Globalisation & Localisation
•Hard Power & Soft Power
•Americanization & Islamization
•Capitalism & Socialism
•High Technology & Low Technology
•Tangible & Intangible
•Physical & Mental or Spiritual
•National Resource
ยูเรเซีย(Eurasia)
รูปแบบการทาสงคราม
หนึ่งประเทศสองระบบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
กาลังอานาจทางทหารทางบก เรือ อากาศ
กาลังอานาจทางการเมือง :
ระบอบประชาธิปไตย
กาลังทางเศรษฐกิจ : ทุนนิยมเสรี กาลังอานาจทางสังคมจิตวิทยา : ศาสนา/วัฒนธรรม
www.kpi.ac.th
ใช้กาลังอานาจของชาติเป็นเครื่องมือตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Media Power
National
Power
www.kpi.ac.th
การใช้เครื่องมือของชาติตามยุคสมัย
การใช้การทหารเป็นตัวนา
การใช้การเมืองเป็นตัวนา
การใช้เศรษฐกิจเป็นตัวนา
การใช้สังคมจิตวิทยาเป็นตัวนา
Media Power
Facebook, Twitter, Vdo link, Mobile Phone,
TV, Radio
การใช้ทรัพยากร
ของชาติ
World Muslim Population
General & Islamic Source
Continent Population in 2003 Muslim Population in
2003
Muslim Percentage
Africa 861.20 461.77 53.62
Asia 3830.10 1178.89 30.78
Europe 727.40 52.92 7.28
North America 323.10 6.78 2.10
South America 539.75 3.07 0.57
Oceania 32.23 0.60 1.86
Total 6313.78 1704.03 26.99
Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%**
We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The Muslim population in 2003 was
1704.03 million.
**US Center For World Mission 1997 Report
ประเทศมุสลิม
•ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ
•ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่
•ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย
•ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ
•ประเทศมุสลิมสายเคร่ง
•ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
ประเทศมุสลิม
• ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก
จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)
• ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)
• ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน)
• ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ)
• ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic Fundamentalism
ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐)
• ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชียกลางและคอเคซัสที่เคย
รวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน)
World Muslim Population
General & Islamic Source
Continent Population in 2003 Muslim Population in
2003
Muslim Percentage
Africa 861.20 461.77 53.62
Asia 3830.10 1178.89 30.78
Europe 727.40 52.92 7.28
North America 323.10 6.78 2.10
South America 539.75 3.07 0.57
Oceania 32.23 0.60 1.86
Total 6313.78 1704.03 26.99
Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%**
We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The Muslim population in 2003 was
1704.03 million.
**US Center For World Mission 1997 Report
Muslim
• ความเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ 7
• กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจากบริเวณตะวันออกกลาง สู่ยุโรป
• หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม 1990 มีบอสเนีย และเอเซียกลางแยกจากรัสเซีย
รวมเป็น Islamic Conference Organization(ICO)
• ไม่มีเอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบายต่างประเทศที่แตกต่างกัน
• มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไปตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์
และยุทธศาสตร์ของที่ตั้งประเทศตามภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
• มีการนาของประมุขที่มีกรอบแนวความคิด บุคลิก ประสบการณ์ส่วนตัวต่างกันไป
ประเทศมุสลิม
•ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ
•ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่
•ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย
•ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ
•ประเทศมุสลิมสายเคร่ง
•ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
ประเทศมุสลิม
• ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือ
กึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)
• ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)
• ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน)
• ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ)
• ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic
Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐)
• ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชียกลางและ
คอเคซัสที่เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย
และอาเซอร์ไบจาน)
ประเทศมุสลิมที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกา และตะวันตก
• ประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน
• ขบวนการชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” และ “ฮิซโบเลาะห์
• มุสลิมแนวปฏิวัติอิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่ออเมริกาและกลุ่มตะวันตก
• ผู้นาเอากฎแบบเคร่งครัดของอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” ต่อต้าน “การครอง
โลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา
• อารยธรรมชนผิวขาวคริสเตียน” เป็นศัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม”(ฮันติงตัน
เรียกว่า“The Clash of Civilizations” )
• ผู้นามีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอามาร์ กัดดาฟี
• “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศเช่น UN , IMF, World Bank , WTO องค์การ
กาหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ ฯลฯ เหล่านี้ มักมีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง
ประเทศมุสลิมที่มีความสัมพันธ์อันดีกับสหรัฐอเมริกา
และกลุ่มประเทศตะวันตก
•อิยิปต์
•โมร็อกโก
•จอร์แดน
•ซาอุดิอาระเบีย
•ตูนิเซีย
•ปากีสถาน
•รัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย
•อินโดนีเซีย
•บูรไน
สหรัฐอเมริกาและกลุ่มตะวันตกกับ “ชนมุสลิม”
• มักจะมาจากประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน ขบวนการของชาวปาเลสไตน์บาง
กลุ่มเช่น “ฮามาส” และ“ฮิซโบเลาะห์ รวมทั้งมุสลิมแนวปฏิวัติ เช่น อิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่อ
สหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศตะวันตก เกิดจากสาเหตุหลายสาเหตุ
• ยึดมั่นในคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามอยางเคร่งครัด และต้องการนาเอากฎหลักของศาสนามาใช้เป็นกฎ
หลักของสังคมอย่างเคร่งครัด
• วิถีชีวิตแบบตะวันตกโดยเฉพาะแบบอเมริกัน จะเต็มไปด้วยความเลวทราม อุจาด ลามก ทุจริต คด
โกง เห็นแก่ตัว จะพยายามทาลายขจัดกีดกัน โค่นล้ม เท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธี
รุนแรง
• สังคมมุสลิมผู้นาได้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง เพื่อ
ต่อต้านสหรัฐอเมริกา และอารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน” ในลักษณะเช่นนี้ความเป็นสัตรูที่
เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม” จะปรากาออกมาในแนวทางที่ แซมวล ฮันติงตันเรียกว่า
“The Clash of Civilizations”
19
บทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ
หมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
“Nothing contained in the present charter shall
authorize the UN to intervene in matters which
are essentially within the domestic jurisdiction
of any state or shall require the member to
submit such matters to settlement under the
present charter; But this principle shall not
prejudice the application of enforcement
measures under chapter 7”
www.kpi.ac.th
กระบวนการสันติภาพกับปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศ
ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่งอาจมีสาเหตุ
จากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน
• ความไม่เป็นธรรมในสังคม
• ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์
• การรักษาการปกครองของรัฐ
• กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ
• ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนา
ครอบคลุมพื้นที่อย่างเต็มประสิทธิภาพ
www.kpi.ac.th
America has stood down enemies before, and we will do so this
time.
Bush September, 11, 2001
SILMULATIONS
NATIONAL WILL or WILL POWER
รากฐานของนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา
การแบ่งกลุ่มประเทศในโลกของสหรัฐ
•กลุ่มประเทศ G8
•กลุ่มประเทศกาลังพัฒนา
•กลุ่มประเทศเกิดใหม่และรัฐเอกราช
•กลุ่มประเทศอักษะแห่งความชั่วร้าย
การเมืองของประเทศมหาอานาจ / ขาดหลักนิติธรรม
Terrorist Movements
โลกาภิบาล : Global Governance
• UN
• G 8
• World Bank
• WTO
• OECD
• IMF
•NATO
•UNCTAD
การวิเคราะห์ปัญหาแบบบูรณาการ
•รากเหง้าของปัญหา(ตัวสหรัฐเองมากกว่ามุสลิม)
•ความร่วมมือระหว่างประเทศ(ให้ความสาคัญ UN และประชาคมโลกระหว่างประเทศ)
•จิตใจและจิตวิญญานของมุสลิม
•ลัทธิครองความเป็นเจ้า(นโยบายฝ่ายเดียว การใช้กาลังและนโยบายสุดขั้ว)
•USA ใช้ Hard Power ทาให้ขาดศรัทธา ชอบธรรม
•ยุทธศาสตร์ตะวันออกกลาง(คงทหารไว้ สนับสนุน Israel)
•การปะทะกันระหว่างอารยธรรม Crash Civilization
กระบวนทัศน์ใหม่
• มีความมั่นใจในกาลังอานาจของตนทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และการทหาร
• โน้มน้าวประเทศอื่นให้คล้อยตามด้วยเงินช่วยเหลือ ผลประโยชน์และอานาจความรู้
• การแบ่งกลุ่มประเทศ ๔ กลุ่ม G8,กาลังพัฒนา,New State,Rogue State
• ประเทศเอกราช ๑๙๓ ประเทศ มีการรวมกลุ่มกันทางเศรษฐกิจ การเมือง เชื้อชาติ วัฒนธรรม พื้นที่
ตามภูมิศาสตร์
• พรมแดน ความเป็นเชื้อชาติเลือนหาย
• เครือข่าย ข่าวสาร มีการถ่วงดุลกันมากขึ้น
• เศรษฐกิจจะกระจายตัวไป จีน ญี่ปุ่น รัสเซีย อินเดีย กระจายไปสู่ยุโรปตะวันออก ประเทศมุสลิมใหม่
(รัฐเอกราชแยกจากรัสเซีย)
• แผนที่รัฐเอกราช
สหรัฐอเมริกา
• การครอบงาโลกทางวัฒนธรรม Americanization
• ประเทศสาคัญ 2 - 15 รวมกันไม่เท่าสหรัฐ
• ด้านเศรษฐกิจ จีน+เยอรมัน+อังกฤษ = สหรัฐ
• มีประชากร 5 % ของโลก
• ผลผลิตสู่ตลาดโลก 43%
• มีเทคโนโลยีสูง
• RD ใช้งบประมาณ 50 % ของ งป.RD ของโลก
• จุดแข็ง วัฒธรรม การศึกษา แนวคิด ผู้นา วิถีชีวิตอเมริกัน ยืดหยุ่น
• เศรษฐกิจกสหรัฐเป็นพลวัตร
Global studies
• Globalization
• Technology
• Mobility
• Beliefs
• Economy
สหรัฐอเมริกา
•เป็นประเทศที่ทรงอิทธิพลที่สุด ในด้านเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร
•มีศักยภาพในการชี้นาและการกาหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ในโลก
•มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก
•มีความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก (จัดอันดับโดย The
Economist)
•มีบทบาทสูงในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น UN, NATO, IMF, World
Bank, WTO, G8, OECD, APEC และ UNCTAD
ก่อการร้ายต่อสหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศตะวันตก
• มองวิถีชีวิตแบบอเมริกันตะวันตก จะเต็มไปด้วยความเลวทราม อุจาด ลามก ทุจริต คดโกง เห็นแก่ตัว
กีดกัน โค่นล้มเท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธีรุนแรง
• ยึดมั่นในคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามอยางเคร่งครัด และต้องการนาเอากฎหลักของศาสนามาใช้เป็นกฎ
หลักของสังคมอย่างเคร่งครัด
• สังคมมุสลิม ผู้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” เพื่อ
ต่อต้าน“การครองโลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา และอารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน”
• ความเป็นศัตรูเกิดขึ้นระหว่าง“ตะวันตก” กับ “มุสลิม” (“The Clash of Civilizations”
• ผู้นาจานวนนี้มักเป็นผู้นาที่มีความนับถือตัวเอง และเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน ในอิรัก
หรือโมอามาร์ กัดดาฟี ในลิเบีย
42
A Publication by
www.knowtheprophet.com
43
สถานการณ์ด้านความมั่นคง
•แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการสู้รบด้วยอาวุธ
•ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความแตกต่างของเชื้อชาติ
ศาสนา วัฒนธรรมที่ปะทุขึ้น ต้องมีมาตรการแก้ไขที่ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง
•มีมาตราการป้องกันกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้เกิดความขัดแย้งในระดับปัจเจก
บุคคลหรือกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองที่อาจขยายตัวเป็นความขัดแย้งขนาด
ใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อสันติภาพและความมั่นคงของประเทศต่างๆ
• หลังจากสหรัฐได้บุกยึดครองอิรัก เมื่อปี 2003 สถานการณ์ในภูมิภาคตะวันออกกกลางได้เปลี่ยนไปมาก
• ดุลยภาพแห่งอานาจในภูมิภาค ก่อนหน้าสงครามอิรัก การถ่วงดุลอานาจในภูมิภาคเป็นการถ่วงดุลกันระหว่างอาหรับกับ
อิหร่าน โดยมีรัฐบาลซัดดัม เป็นรัฐกันชนสาคัญในการคานอานาจอิหร่าน
• หลังสงครามอิรักดุลแห่งอานาจได้ไปทางอิหร่าน การโค่นล้มซัดดัม ทาให้ชาติอาหรับเกิดความหวาดระแวงว่าอิหร่านจะ
ขึ้นมาครอบงาตะวันออกกลาง
• เกิดสุญญากาศแห่งอานาจ อิหร่านที่ร่ารวยน้ามันและการปลุกระดมลัทธิชาตินิยม แต่ประสบอุปสรรคครอบงาภูมิภาค ปี
2003 ขยายอิทธิพลในตะวันออกกลาง มีพันธมิตรคือ กลุ่ม HAMAS และ Hizballah ต่อสู้กับอิสราเอล
ปี 2006 ชาติอาหรับกลุ่มนิกายซุนนีย์มองว่า อิหร่านและกลุ่มชีอะห์กาลังได้รับชัยชนะ แต่ปี 2009 Hizballah
พ่ายแพ้การเลือกตั้ง อิหร่านเกิดความวุ่นวายทางการเมืองหลังการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นอุปสรรคในการขยายอิทธิพล
ภาพลักษณ์ของอิหร่านเป็นลบมากขึ้นในสายตาชาวอาหรับ โดยเฉพาะบทบาทอิหร่านที่เข้าไปแทรกแซงสถานการณ์ใน
อิรัก
ตะวันออกกลางในยุคหลังสงครามอิรัก
• ชาติอาหรับต่อต้านการขึ้นมาของอิหร่านมีหลายรูปแบบ ส่วนใหญ่จะผสมผสานระหว่างยุทธศาสตร์การ
ปฏิสัมพันธ์ การถ่วงดุลอานาจและการสกัดกั้น
• โลกอาหรับมีภาพอิหร่านที่มีทั้งเป็นลบและเป็นบวก ภาพลบคือ การที่อิหร่านเข้าไปวุ่นวายในอิรัก และการ
ท้าทายชาวมุสลิมนิการซุนนีย์ (ชาวอิหร่านนับถือศาสนาอิสลามนิกายชีอะห์) ในแง่บวกอิหร่านคือผู้นาการ
ลุกขึ้นมาท้าทายตะวันตก และการต่อต้านอิสราเอล
• ในโลกอาหรับไม่มีประเทศที่เล่นบทเป็นตัวถ่วงดุลอานาจอิหร่านอย่างเด่นชัด จึงกลายเป็นว่าตัวแสดง
สาคัญในตะวันออกกลาง กลายเป็นประเทศที่ไม่ใช่อาหรับ คือ อิสราเอล ตุรกี อิหร่าน และสหรัฐ
• การผงาดขึ้นมาของอิหร่านยังเกี่ยวพันกับเรื่องวิกฤตินิวเคลียร์อิหร่าน โดยทางตะวันตกและสหรัฐได้
กล่าวหาอิหร่านว่า กาลังแอบพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ ตะวันตกได้พยายามกดดันอิหร่านด้วยวิธีการต่างๆ
โดยการผลักดันมาตรการคว่าบาตร แต่ก็ยังไม่ประสบความสาเร็จ
ตะวันออกกลางในยุคหลังสงครามอิรัก
• สงครามอิรักทาให้ความขัดแย้งในภูมิภาคหลายเรื่องทรุดหนักลง
• ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างมุสลิมนิกายชีอะห์และมุสลิมนิกายซุนนี ย์ โดยเฉพาะในอิรัก หลังสงคราม
ได้เกิดความขัดแย้งกันอย่างรุนแรง ระหว่างชาวอิรักนิกายชีอะห์กับซุนนีย์ ถึงขั้นเกือบจะเป็นสงคราม
กลางเมือง ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองนิกายได้แพร่ขยายไปในหลายๆ ประเทศในตะวันออกกลาง
• ทาให้ความขัดแย้งระหว่างชาว Kurd กับหลายประเทศทรุดหนักลง โดยสงครามอิรักได้ทาให้ชาว
Kurd ในอิรัก เรียกร้องการปกครองตนเอง ซึ่งมีผลทาให้เกิดกระแสเดียวกันขึ้นในหมู่ชาว Kurd
ที่อาศัยอยู่ใน ซีเรีย ตุรกี และอิหร่าน
• โดยเฉพาะกลุ่มแบ่งแยกดินแดนของชาว Kurd ในตุรกี คือกลุ่ม PKK ได้อาศัยตอนเหนือของอิรัก
เป็นแหล่งซ่องสุม ขบวนการแบ่งแยกดินแดนของชาว Kurd ทาให้ ซีเรีย ตุรกี และอิหร่าน พยายาม
ร่วมมือกัน ซึ่งทาให้แผนของสหรัฐที่จะดึงซีเรียออกจากอิทธิพลของอิหร่านเป็นไปได้ยากยิ่งขึ้น
ความขัดแย้งตะวันออกกลางในยุคหลังสงครามอิรัก
•สงครามอิรักไม่ได้ทาให้ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและ ปาเลสไตน์ดีขึ้น ในทาง
ตรงกันข้าม กลับนาไปสู่ความขัดแย้งที่ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น แม้ว่ารัฐบาลโอ
บามาจะพยายามแก้ปัญหา โดยเสนอทางแก้ที่เรียกว่า two state
solution คือการให้รัฐอิสราเอลและรัฐปาเลสไตน์อยู่ร่วมกันอย่างสันติ
•แต่เส้นทางสันติภาพในตะวันออกกลางก็เต็มไปด้วยอุปสรรค เพราะมีหลายเรื่องที่
ยากที่จะหาข้อยุติ อาทิ เขตแดนของรัฐปาเลสไตน์ สถานะของกรุงเยรูซาเลม สถานะ
ของผู้ลี้ภัยชาวปาเลสไตน์กว่า 5 ล้านคน และปัญหาการตั้งถิ่นฐานของชาวยิวในเขต
West Bank
ความขัดแย้งตะวันออกกลางในยุคหลังสงครามอิรัก
• ขบวนการก่อการร้าย โดยเฉพาะกลุ่ม Al-Qa’ida ไม่ได้หมดไป แต่ในทางตรงกันข้ามกลับแพร่ขยาย
ออกไปมากขึ้น โดยหลังสงคราม อิรักได้กลายเป็นศูนย์กลางของการทาสงครามศาสนาหรือสงคราม
Jihad เพื่อต่อต้านสหรัฐ
• กลุ่ม Al-Qa’ida in Iraq แรกๆจะได้รับการสนับสนุนจากชาวอาหรับ แต่ในระยะหลังๆ ก็เสื่อม
ความนิยมลง บทบาทของ Al-Qa’ida ในอิรักจะลดลง แต่กลับกลายเป็นว่า บทบาทของ Al-
Qa’ida ในประเทศอื่นๆ ในตะวันออกกลางกลับเพิ่มมากขึ้น
• การก่อการร้ายมีแนวโน้มจะลุกลามขยายตัว โดยเฉพาะใน เยเมนและโซมาเลีย สงครามในอัฟกานิสถาน
และปากีสถานก็ได้เลวร้ายลงเรื่อยๆ เพราะทั้งนักรบตาลีบันและ Al-Qa’ida ได้ฟื้นคืนชีพ แหล่งซ่อง
สุมใหม่อยู่บริเวณพรมแดนระหว่างปากีสถานกับอัฟกานิสถาน โดยนักรบตาลีบันได้ยึดครองพื้นที่ใน
อัฟกานิสถานและปากีสถานได้มากขึ้น เรื่อยๆ
ขบวนการก่อการร้ายในตะวันออกกลางหลังสงครามอิรัก
• สาเหตุหนึ่งที่ ประธานาธิบดีบุชอ้าง ในการทาสงครามอิรักก็เพื่อสร้างประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นในอิรัก โดย
หวังว่าประชาธิปไตยในอิรักจะส่งผลกระทบเป็น domino effect จะทาให้ประชาธิปไตย
เกิดขึ้นทั่วตะวันออกกลาง
• ผลที่เกิดขึ้น กลับเป็นไปในทางตรงกันข้าม 7 ปีผ่านไปประชาธิปไตยในอิรักและอัฟกานิสถานก็ง่อนแง่น
และยังไม่มีแนวโน้มว่าประเทศในตะวันออกกลางอื่นๆ จะพัฒนาไปสู่การเป็นประชาธิปไตย ในทางตรงกัน
ข้าม สงครามอิรักกลับเป็นตัวยับยั้งการปฏิรูปทางการเมือง
• รัฐบาลอาหรับมองว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในอิรักสร้างความหายนะให้กับประเทศตน กลับกลายเป็นว่า ชาวอาหรับ
กลับหันมาสนับสนุนรัฐบาลเผด็จการ มากกว่าจะเดินหน้าสู่ประชาธิปไตยที่จะนาไปสู่ความวุ่นวายทาง
การเมือง โดยชาวอาหรับมองว่าประชาธิปไตยเป็นสิ่งที่สหรัฐยัดเยียดเข้ามา และมองว่าประชาธิปไตยใน
อิรักเป็นปัจจัยที่ทาให้เกิดความวุ่นวายถึงขั้นเป็นสงครามกลางเมือง
ประชาธิปไตย ในตะวันออกกลางหลังสงครามอิรัก
• ผลกระทบของสงครามอิรักต่อบทบาทของสหรัฐได้ตกต่าลง โดยเฉพาะความล้มเหลวภายหลังสงคราม
อิรัก อิทธิพลของสหรัฐลดลง อิทธิพลของมหาอานาจอื่นๆ โดยเฉพาะรัสเซียกับจีนเพิ่มขึ้น
• ความล้มเหลวของสหรัฐในอิรัก ทาให้ประเทศต่างๆ ในตะวันออกกลางเริ่มไม่มีความมั่นใจ จึงได้เริ่มหัน
ไปตีสนิทกับจีนและรัสเซียมากขึ้น โลกอาหรับได้สูญเสียความเชื่อมั่นต่อสถานะของสหรัฐในการเล่นบท
เป็นผู้ให้ หลักประกันความมั่นคง
• จีนและรัสเซียได้พยายามเพิ่มบทบาทมากขึ้นในตะวันออกกลาง โดยรัสเซียพยายามที่จะท้าทายอิทธิพล
ของสหรัฐ และพยายามเข้าไปมีบทบาทในการเป็นตัวกลางแก้ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับ อาหรับ
• จีนมียุทธศาสตร์ที่พยายามเน้นในเรื่องความมั่นคงด้านพลังงาน โดยพยายามตีสนิทกับประเทศใน
ตะวันออกกลางเพื่อซื้อน้ามันเป็นหลัก แต่บทบาททางด้านการทหารและการเมืองยังมีจากัด
มหาอานาจในตะวันออกกลางหลังสงครามอิรัก
นิกายต่างๆ ของศาสนาอิสลาม
นิกายซุนนีหรือซุนนะห์
เคร่งครัดการปฏิบัติตาม คัมภีร์อัลกุ
รอาน และซุนนะห์เท่านั้น และยอมรับ
ผู้นา ๔ คนแรก ซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดท่าน
ศาสดา มุสลิมส่วนใหญ่ในโลกรวมทั้ง
ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย
นับถือนิกายนี้
นิกายชีอะห์ ชีอะห์ แปลว่า พรรคพวก หมายถึง พรรคพวกท่านอาลีนั่นเอง นิกายนี้ถือว่าท่าน
อาลี บุตรเขยของศาสดามูฮัมมัดคนเดียวเท่านั้นเป็นผู้ที่ถูกต้อง ผู้ถือนิกายนี้ส่วนใหญ่อยู่ใน
ประเทศอิหร่าน อิรัก เยเมน อินเดีย และประเทศในทวีปแอฟริกาด้านตะวันออก
• เป็นนิกายที่ชาวมุสลิมส่วนใหญ่นับถือ ซึ่งยึดถืออัลอ-กุรอาน จริยวัตรของท่านศาสดามุฮัมมัด และแบบอย่างของสาวก
เป็นหลัก
• เชื่อว่าท่านศาสดามุฮัมมัดมิได้แต่งตั้งตัวแทนไว้ก่อนที่ท่านจะจากไป ดังนั้นหลังจากท่านจากไปแล้วตาแหน่งผู้ปกครอง
หรือผู้นาสืบต่อจากท่านจึงเป็นหน้าที่ ของมุสลิม ต้องเลือกสรรกันเองตามความเหมาะสม
• หลัง จากจบการบริหารของเคาะลิฟะฮฺทั้งสี่ท่านแล้ว นิกายซุนนีย์ก็ปราศจากผู้ปกครองโดยเฉพาะผู้นาศาสนาที่ถูกต้อง
ตามทานองครอง ธรรม ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้นิกายซุนนีย์ไ่ม่มีผู้ศาสนาที่เด่นชัด เนื่องจากไม่มีผู้รู้ที่แท้จริง ประกอบกับ
ในช่วงนั้นพระวจนะของศาสดาเองก็ได้รับการสั่งห้ามจากเคาะลิฟะฮฺที่ สอง มิให้มีการจดบันทึกโดยอ้างเหตุผลว่าจะ
สับสนกับโองการอัล-กุรอาน
นิกายซุนีย์
DOMINO EFFECT
Kyrgyzstan
Tunisia
Yemen
Egypt
Syria
Algeria
Jordan
Bahrain
Libya
Morocco
Bangladesh
Italy
Indonesia
Ukrain
ประเทศ
ใต้
ประเทศต่างๆ
เกี่ยวกับกลุ่มก่อการร้าย 'ไอซิส' (ISIS)
• เดิมทีกลุ่มไอซิสมาจากกลุ่มติดอาวุธที่ช่วยเหลือรัฐบาลอิรักในการสู้รบกับ กองกาลังสหรัฐฯ ในช่วงสงครามอิรักปี 2546
ก่อนที่ต่อมาจะจัดตั้งเป็นกลุ่ม "รัฐอิสลามแห่งอิรัก" (ISI) และแผ่ขยายอิทธิพลในหลายเมืองของซีเรียในช่วงที่ซีเรียกาลัง
เกิดสงครามกลาง เมือง ทาให้มีชื่อเป็นกลุ่ม "รัฐอิสลามในอิรักและซีเรีย“ (Islamic State of Iraq and
Syria) หรือไอซิส (ISIS) จนกระทั่งล่าสุดได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นเพียงกลุ่มรัฐอิสลามหรือไอเอส (IS)
• ไอซิสเป็นกลุ่มหัวรุนแรงนิกายซุนนีที่เดินตามแนวทางอุดมการณ์ของกลุ่มอัลเคดา หรืออัลกออิดะฮ์ (เป็นกลุ่มก่อการร้าย
อิสลามสากล) พวกเขาเชื่อการตีความศาสนาอิสลามในแบบที่ต่อต้านชาติตะวันตกอย่างสุดโต่ง สนับสนุนการใช้ความ
รุนแรง และกล่าวหาคนที่ไม่เห็นด้วยกับการตีความของพวกตนว่าเป็นพวกนอกรีตหรือคนไม่มีศรัทธา
• ไอซิสเป็นกลุ่มลัทธิปลุกปั่นความเชื่อเรื่องจุดจบของโลก ทั้งเชื่อว่ากาลังทาสงครามที่ตนเป็น "ฝ่ายดี" จึงกล้าแสดงออกให้
เห็นความโหดร้ายของกลุ่ม
ธงของ ISIS
จุดมุ่งหมายหลักของกลุ่มไอซิส
•จุดมุ่งหมายหลักของกลุ่มไอซิส คือการจัดตั้ง ‘รัฐอิสลาม’ทั่ว พื้นที่
ประเทศอิรักและในซีเรีย
•โดยเก็บภาษีกฎหมายอิสลามในเมือง แยกเด็กชายและหญิงออกจาก
กันในการศึกษาในโรงเรียน
•รวมทั้งกาหนดให้สตรีต้องสวมผ้าคลุมหน้า ญิฮาบ ในที่สาธารณะ
กล่าวคือ การนาเอากฏหมายอิสลามมาใช้อย่างเข้างวดในพื้นที่ที่ตน
ปกครอง
มุมมองของนักวิเคราะห์เกี่ยวกับกลุ่มก่อการร้าย 'ไอซิส' (ISIS)
• ไอซิสมักจะแสดงออกให้เห็นความโหดร้ายด้วยวิธีการ ดังต่อไปนี้ ซึ่งเป็นท่าทีที่แตกต่างจากกลุ่มโหดร้ายใน
ประวัติศาสตร์อย่างนาซีหรือเขมรแดงที่พยายามกลบเกลื่อนอาชญากรรมต่อมนุษยชาติที่พวกเขาก่อไว้
• การเผยแพร่ภาพวีดิโอสังหารผู้คนด้วยการตัดหัวตัวประกันรวมถึงกลุ่มชาวอียิปต์ผู้นับถือคริสต์ การจุดไฟ
เผาเหยื่อทั้งเป็น และการจับผู้หญิงชาวยาดิซ เป็นทาส
• มักสร้างศัตรูไปทั่ว ทั้งชาวมุสลิมนิกายชีอะฮ์ ชาวเคิร์ด ชาวยาดิซ ชาวคริสต์ และชาวมุสลิมคนอื่นๆ ที่ไม่เห็น
ด้วยกับพวกเขา ไอซิสยังก่อสงครามแม้กระทั่งกับกลุ่มอัลกออิดะฮ์ในซีเรียทั้งที่สองกลุ่มนี้ น่าจะเป็นมิตรต่อ
กัน(จากบทวิเคราะห์ของปีเตอร์ เบอร์เกน นักวิเคราะห์ด้านความมั่นคงของสานักข่าว CNN และรองประธานมูลนิธิ
นิวอเมริกา องค์กร Think Thank ด้านนโยบายระหว่างประเทศ )
สาเหตุที่กลุ่ม ISIS แสดงออกให้เห็นความโหดร้ายและสร้างศัตรูไปทั่ว
• การมีอุดมการณ์แบบกลุ่มลัทธิคลั่งคาพยากรณ์ที่เชื่อว่าพวกเรากาลังอยู่ในช่วงโลกใกล้จะแตกแล้วการ
กระทาของพวกไอซิสเองก็เร่งให้เกิดภัยพิบัติต่อมนุษยชาติ เร็วขึ้น
• นิตยสารของไอซิสระบุว่าเมืองทางตอนเหนือของซีเรียที่ชื่อ 'ดาบิก' ในเขตปกครอง
อเล็ปโป จะเป็นแหล่งของสงครามครั้งสุดท้ายระหว่าง "กองทัพอิสลาม" กับ "โรม" ที่จะทาให้เกิดจุดจบ
ของโลกและชัยชนะจะเป็นของ "ผู้เป็นอิสลามที่แท้จริง” กลุ่มไอซิสต้องการให้ประเทศตะวันตกรุกราน
ซีเรียซึ่งจะกลายเป็นการทาให้คาทานายเรื่องดาบอกของพวกเขาเป็นจริง
• ระบุว่า “ผู้ที่จะชนะในสงครามครั้งใหญ่นี้ได้จะต้อง เป็นผู้ที่เข้าร่วมสงครามด้วย ผู้ที่เป็นคนดูอยู่เฉยๆ
จะถือว่าพ่ายแพ้” ไอซิสต้องการให้คนเข้าร่วมเป็นพวก คนอื่นที่นอกเหนือจากกลุ่มของตัวเองถือเป็น
"พวกนอกรีต" หรือ "ผู้ทาสงครามศาสนา" (Crusader) ทั้งหมด
สาเหตุที่กลุ่ม ISIS แสดงออกให้เห็นความโหดร้ายและสร้างศัตรูไปทั่ว
•ตามเขียนไว้ในหนังสือเกี่ยวกับไอ ซิส โดย เจ เอ็ม เบอรฺเกอร์ และ
เจสสิกา สเติร์น ว่า "กลุ่มเชื่อในคาทานายของศาสนาหัวรุนแรงมักจะมองว่าพวกเขาเองกาลัง
เข้าร่วมใน สงครามที่ยิ่งใหญ่ระหว่างความดีกับความชั่ว ซึ่งไม่ได้สนใจหลักการจริยธรรม
ใดๆ“
•การที่ไอซิสมีแนวคิดว่าตัวเองกาลังต่อสู้ในสงครามยิ่งใหญ่ ซึ่งตนเองนั้นอยู่ใน "ฝ่ายดี" นี้เอง
ที่ทาให้พวกเขาคิดว่าจะฆ่าใครก็ได้ที่ขัดขวางพวกเขาโดยไม่มีความสานึก ใดๆ ซึ่งถือเป็น
อาการหลงผิดอย่างรุนแรง
แหล่งเงินทุนของไอซิสมาจากไหน ?
•บางสานักก็ให้ความเห็นว่าได้มาจากมหาเศรษฐีที่คอยช่วยเหลืออยู่เบื้องหลัง รวมไปถึงการ
ปล้นธนาคาร ไปจนถึงร้านทอง ค้าสตรีชนกลุ่มน้อย ยึดบ่อน้ามันมาขายในตลาดมืด เก็บ
ส่วยตามตะเข็บชายแดน โดยใช้เงินทุนเหล่านี้เพื่อการยึดครองเมืองอื่นๆ ต่อไป
•กลุ่มไอเอสยังมีระบบการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ทั้งในด้านของเงินทุนในกลุ่ม และ
การโฆษณา พีอาร์กลุ่มตนผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อระดมสมาชิกจากทั่วทุกมุมโลก ให้
เดินทางมายังตะวันออกกลางเพื่อรวมกลุ่ม
แนวโน้มผลกระทบของกลุ่มไอเอสที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
•อาจบานปลายเป็นภัยคุกคามในระดับภูมิภาค ซึ่งอิรักและซีเรีย อาจจะต้องประสบ
กับความเลวร้าย จากสงครามกลางเมือง
•การดึงดูดแนวร่วมจากชาวมุสลิมทั่วโลกจะยังคงดาเนินต่อไป กลุ่มไอเอสจะ
แข็งแกร่งกว่าเดิม เนื่องจากการระดมทุนจากวิธีต่างๆ
ประเทศที่สันนิษฐานว่าสนับสนุนกลุ่มไอเอส
• ไมเคิล สตีเฟนส์ ผู้อานวยการสถาบัน Royal United Services ในกาตาร์ ได้วิเคราะห์ว่า หากมอง
ย้อนไปถึงความขัดแย้งที่มีรากลึกระ หว่างกลุ่มอิสลามนิกายสุหนี่กับนิกายชีอะห์ จะเห็นได้ว่ากลุ่ม
อิสลามนิกายชีอะห์ในอิหร่านเริ่มแสดงทีท่าอยากเข้ามามีบทบาทในแถบเมดิเตอร์เรเนียนซึ่งเป็นถิ่นของ
นิกายสุหนี่มากขึ้นเรื่อยๆ
• กลุ่มสุหนี่ในอิรักและซีเรียนั้นไม่มีทั้งกาลังอาวุธและเงินทุน ในขณะเดียวกัน เป็นที่สันนิษฐานกันว่า
กลุ่มไอเอสได้รับการหนุนหลังทางอ้อมอย่างลับ ๆ จากกาตาร์ ตุรกี และซาอุดิอาระเบียซึ่งมาในรูปแบบ
ของนโยบายที่หละหลวมปล่อยให้อาวุธและเงิน ทุนเคลื่อนผ่านชายแดนและไหลเข้าสู่มือของกลุ่มไอเอส
เพราะต้องการสกัดกั้นอิทธิพลของนิกายชีอะห์
ประเทศที่สันนิษฐานว่าสนับสนุนกลุ่มไอเอส (ต่อ)
•ถึงแม้ประเทศเหล่านี้ไม่เห็นด้วยกับการกระทาที่โหดร้ายทารุณ ของกลุ่มไอเอส แต่
อุดมการณ์หลักคือต้องการกาจัดการครอบงาจากกลุ่มชิอะห์ของอิหร่าน กลุ่มไอเอสจึงเป็น
เสมือนหัวหอกของกลุ่มผู้สนับสนุนนิกายสุหนี่ไปโดยปริยาย โดยที่ก็ไม่มีใครออกมายอมรับ
ว่าแอบให้การช่วยเหลือกลุ่มไอเอสอยู่อย่างลับ ๆ
•กลุ่มไอเอสมีรายได้จากส่งออกน้ามันให้กับประเทศต่าง ๆ รวมทั้งกลุ่มพ่อค้าคนกลางชาว
เคิร์ดในตุรกี ในขณะเดียวกันเชื่อว่าซีเรียก็แอบขายอาวุธให้กับกลุ่มไอเอส
ประเทศที่สันนิษฐานว่าสนับสนุนกลุ่มไอเอส
สหรัฐอเมริกาใช่หรือไม่ ?
• สหรัฐอเมริกาแสดงจุดยืนชัดเจนว่า พร้อมทาทุกวิถีทางเพื่อโค่นล้มประธานาธิบดีอัสซาดในซีเรีย เพราะ
ถือว่าเป็นฝ่ายตรงข้ามที่ใกล้ชิดกับรัฐบาลปูติน แห่งรัสเซีย และถือเป็น “หนามยอกอก” ที่คอยขัดขวาง
การดาเนินนโยบายต่างประเทศของสหรัฐฯในภูมิภาคตะวันออกกลางมาตลอด
• อเมริกา เป็นตัวตั้งตัวตีในการสนับสนุนพวกนักรบหัวรุนแรง ทั้งทางการเงินและอาวุธ เพื่อหวังให้พวก
นักรบนี้โค่นล้ม อัสซาด แห่งซีเรีย ซึ่งเป็นผู้นาที่มีรัสเซียและอิหร่านคอยค้าจุน หรือจะพูดอีกนัยหนึ่งได้
ว่า อัสซาด แห่งซีเรีย ถือเป็นผู้นาที่อเมริกา “ไม่ชอบขี้หน้า
• โอบามา ออกมาประกาศ จะให้การสนับสนุนทั้งด้านการเงิน และอาวุธยุทโธปกรณ์ ต่อฝ่ายกบฏในซีเรีย
เพื่อใช้ในการทาสงครามกลางเมือง โค่นล้มรัฐบาลอัสซาด สหรัฐฯ จึงได้หนุน กลุ่มสภาสูงสุดทางทหาร
(SMC) โดยทั่วไปแล้วมักจะเรียกว่าเป็น FSA หรือกองทัพปลดแอกซีเรีย ถึงแม้ว่าภายใต้ชื่อนี้
จะมีขั้วที่เป็นปรปักษ์ร่วมอยู่ก็ตาม
•อเมริกา ต้องการสร้างความแตกแยกในอิรัก จึงให้การสนับสนุนทางการเงิน อาวุธ
การฝึกฝนยุทธวิธี การก่อการร้าย แบบ “ไม่ดูตาม้าตาเรือ”
• ให้แม้แต่ชุดพรางทหารอเมริกา ต่อฝ่ายกบฏในซีเรีย แต่แล้ว กลุ่มหัวรุนแรง IS
กลับสามารถขยายอานาจและอิทธิพลของตนได้อย่างกว้างขวางในเวลาที่รวดเร็ว
ประเทศที่สันนิษฐานว่าสนับสนุนกลุ่มไอเอส
กลุ่มไอเอสมีเป้าหมายโจมตีชาติในภูมิภาคอาเซียน
• ผลการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญด้านการระหว่างประเทศศึกษาของสถาบันเอส ราชารัตนามแห่งสิงคโปร์
ระบุว่า กลุ่มไอเอสได้กาหนดให้ประเทศในภูมิภาคอาเซียนเป็นเป้าหมายในการโจมตีของกลุ่มไอเอส
โดยจะเห็นได้จากกรณีที่ทางการสิงคโปร์เพิ่งจะจับกุม 2 วัยรุ่น ในข้อหาที่เชื่อมโยงกับการก่อการร้าย
• จัสมินเดอร์ ซิงห์ นักวิเคราะห์ผู้เขียนรายงานฉบับดังกล่าว ระบุว่า ขณะที่เครือข่ายกลุ่มนักรบไอเอส ใน
อาเซียนที่เรียกว่ากลุ่ม คาติบาห์ นูซันตาร่า ซึ่งเป็นเครือข่ายก่อการร้าย ไอเอสบนคาบสมุทรมลายู เริ่ม
เป็นที่รู้จักมากขึ้น แต่กลยุทธ์หลักของไอเอสที่มุ่งดึงให้ประชากรโลกเข้าร่วมเป็นนักรบ หรือจีฮัด กับไอ
เอสมากขึ้นกลับไม่เป็นที่สังเกตเห็นมากนัก
กลุ่มไอเอสมีเป้าหมายโจมตีชาติในภูมิภาคอาเซียน (ต่อ)
• เดิมเชื่อว่ากลุ่มคาติบาห์ นูซันตารามีเป้าหมายเพื่อจัดส่งกาลังคนและอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ที่
ต้องการร่วมรบกับกลุ่มไอเอสในอิรักและซีเรีย แต่จากข้อมูลล่าสุดพบว่าได้ทาหน้าที่เผยแพร่หลักการ
ความเชื่อเพื่อดึงคนให้เข้าร่วมเป็นนักรบจีฮัดสงครามเพื่อศาสนามากขึ้น ส่งผลให้ความเคลื่อนไหว
ดังกล่าวกลายเป็นภัยคุกคามความมั่นคงในอาเซียนโดยเฉพาะในหมู่เกาะมาเลย์ เช่น มาเลเซีย
อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ เพราะนักรบเหล่านี้จะทาทุกทางเพื่อปกป้องหลักการปกครองแบบ
คอลีฟะห์คือการวางแผนก่อการร้ายภายในประเทศของตนเอง
• การดาเนินการจับกุมผู้ที่มีความเชื่อมโยงกับกลุ่มไอเอส และมีแผนก่อการร้ายทั้งในมาเลเซียและ
อินโดนีเซีย ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา ถือเป็นหลักฐานยืนยันที่ดีที่สุด สรุปว่าภูมิภาคอาเซียนกาลังตก
เป็นเป้าโจมตีที่รัฐบาลและสังคมอาเซียนควรร่วมมือหาทางจัดการอย่างจริงจังภายใต้การสนับสนุนจาก
ประชาคมโลก
#1
We Interrupt this Lesson…..
#1
ISIS is a shorthand name for the Islamic State in Iraq and Syria, and it has
made news in the past few months….
….for its dramatic military conquest of Iraqi territory
….its ruthless treatment of Iraqi minorities such as the Yazidis,
….and a string of videotaped beheadings of Western hostages
What is ISIS?
What do you know
about ISIS?
• The situation in Iraq and Syria is complex, to say the least.
• It presents a continuing humanitarian crisis, with millions of
people fleeing for their lives, and hundreds of thousands
being killed.
• It presents a threat to Middle East
stability, with ISIS promising to create
an Islamic caliphate, or state,
erasing modern borders and
imposing its own version of
fundamentalist law.
• Furthermore, ISIS presents an
unknown threat to the larger world
with the militant group beheading
international hostages and
recruiting jihadists from across the
globe.
• http://www.bbc.com/news/world-middle-east-
27905425
1. ISIS used to be called al-Qaeda in Iraq
• It's essentially a rebooted version of al-Qaeda in Iraq, the
Islamist group that rose to power after the American invasion.
• US troops and allied Sunni militias defeated AQI during the
post-2006 "surge," but it didn't demolish them.
• In 2011, the group rebooted. ISIS
successfully freed a number of
prisoners held by the Iraqi government
and, slowly but surely, began
rebuilding their strength.
• The chaos today is a direct result of
the Iraqi government's failure to stop
them.
(8) facts that explain the escalating
crisis in Iraq
Updated by Zack Beauchamp on June 13, 2014, 9:49 a.m. ET
• Their goal since being founded in 2004 has been remarkably
consistent: found a Sunni Islamic state.
• "They want complete
failure of the government
in Iraq. They want to
establish a caliphate in Iraq."
• Even after ISIS split with
al-Qaeda in February 2014
(in large part because ISIS was
too brutal even for al-Qaeda),
ISIS' goal remained the same.
• http://www.wsj.com/video/iraq-isis-sparks-a-middle-east-crisis-
explained/74607CBE-0725-4C02-A289-ABA34FEAB516.html
2. ISIS wants to create an Islamic state in Iraq and Syria
Syria
Iraq
Area controlled
by ISIS
• Perhaps the single most important factor in ISIS' recent
resurgence is the conflict between Iraqi Shias and Iraqi
Sunnis
• These are the two major denominations of ISLAM
 ISIS fighters are Sunnis, and the tension between the two groups is
a powerful recruiting tool for ISIS.
Shias run the govt and Sunnis don’t feel they are fairly represented
and have been treated poorly
3. ISIS thrives on tension between Iraq's two largest
religious groups
http://www.bbc.com/news/magazin
e-27945271
• Police have killed peaceful Sunni protestors and used anti-
terrorism laws to mass-arrest Sunni civilians.
• ISIS cannily exploited that brutality to recruit new fighters.
4. The Iraqi government has made this tension worse by
persecuting Sunnis and through other missteps
5. ISIS raises money like a government
 In Syria, they've built up something like a mini-state: collecting the
equivalent of taxes and selling electricity to fund its militant activities.
 Some reports suggest they've restarted oil fields in eastern Syria.
• Kurds are mostly Sunnis, but they're ethnically distinct from
Iraqi Arabs.
• There's somewhere between 80,000 and 240,000 Kurdish
peshmerga (militias)
• They're well equipped and trained, and represent a
serious military threat to ISIS.
• They have started to
fight back as ISIS has
attacked them
6. Iraq has another major ethno-religious group, the
Kurds, who could matter in this fight
• Mosul is the second-largest city in Iraq
• It’s fairly close to major oilfields.
• It’s close to the Mosul Dam which is important in the
country’s water supply
7. Mosul, the big city ISIS recently conquered, is really
important — and ISIS has spread out from there
http://www.bbc.com/news/uk-28892365
8. The Iraqi Army is much larger than ISIS, but also a total
mess
 ISIS has a bit more than 7,000 combat troops
 The Iraqi army has 250,000 troops, plus armed police.
 That Iraqi military also has tanks, airplanes, and helicopters.
 But the Iraqi army is also a total mess, which explains why ISIS has had the success
it's had despite being outnumbered.
 Take ISIS' victory in Mosul: 30,000 Iraqi troops ran from 800 ISIS fighters
-------- Those are 40:1 odds! Yet Iraqi troops ran because they simply didn't want to fight
and die for this government. There had been hundreds of desertions per month for
months prior to the events of June 10th. The escalation with ISIS is, of course, making it
worse.
 http://www.bbc.com/news/uk-28892365
•ตั้งแต่มิถุนายน กลุ่มติดอาวุธกลุ่มหนึ่งนามว่า ISIS ได้สร้างความตื่นตะลึงให้คน
ทั้งโลก โดยเข้ายึดครองเมืองต่างๆในภาคเหนือของอิรักอย่างสายฟ้าแลบ
•เริ่มจากเมืองซามาร์รา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน เมืองโมซุลในคืนวันที่ 9 มิถุนายน และ
เมืองไทกริตบ้านเกิดของอดีตประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซ็นเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน
•เหตุการณ์ยิ่งเลวร้ายขึ้นและรัฐบาลอิรักกาลังเสียเมืองต่างๆให้แก่ กลุ่มกบฏ ISIS
อย่างไม่อาจต้านทาน
•ISIS หรือ ISIL หรือ "The Islamic State in Iraq and al-
Sham" แปลว่า "รัฐอิสลามในอิรักและอัล-ชาม (ซีเรีย)
•ISIL จะย่อมาจาก "The Islamic State in Iraq and
Levant" แปลว่า "รัฐอิสลามในอิรักและเลแวนท์" ซึ่งเลแวนท์ หมายถึงซีเรีย
•เป็นกลุ่มติดอาวุธ ที่ประกาศจัดตั้งรัฐที่ยังไม่มีใครรับรอง โดยรวมดินแดนบางส่วนในอิรักและ
ซีเรีย เป้าหมายสูงสุดคือ การจัดตั้งรัฐอิสลาม โดยรวมดินแดนในเลแวนท์ ซึ่งนอกจากซีเรีย
แล้ว ยังรวมถึงเลบานอน อิสราเอล ปาเลสไตน์ จอร์แดน ไซปรัส และภาคใต้ของตุรกีไว้
ด้วยกัน
กลุ่ม ISIS คือใคร มีเป้าหมายอะไร เกี่ยวข้องกับอัลกออิดะฮ์หรือไม่
• จากการที่สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรทาสงครามในอิรักเมื่อปี ค.ศ.2003 เป็นการจุดเชื้อของความรุนแรงและการก่อการ
ร้ายในอิรัก
• ต้นปีค.ศ. 2004 ได้ลุกลามไปทั่วภูมิภาคตะวันออกกลาง
• ในกลุ่มติดอาวุธ กลุ่มหนึ่งได้ก่อตั้งขึ้นชื่อว่า "ญามาอัต อัต-เตาฮีด อัล-ญิฮาด" หรือ "องค์กรแห่งเอกภาพในการศรัทธา
และการญิฮาด" (The Organization of Monotheism and Jihad- JTJ) มี
ผู้นาคือนายอบู มูซ๊าบ อัล-ซอรฺกอวี ชาวจอร์แดน
• ในเดือนตุลาคมปี 2004 นายซอรฺกอวีได้ประกาศความจงรักภักดี (บัยอะ) ต่อนายอุซมา บินลาดิน ผู้นาองค์กรอัล-กออี
ดะ นายซอรฺกอวีจึงเปลี่ยนชื่อกลุ่มเป็น "ตันซิม กออีดะ อัล-ญิฮาด ฟี บีลาด อัล-รอฟีดาน หรือ "องค์กรแห่งการญิฮาด
ซึ่งมีฐานในประเทศแห่งสองแม่น้า" (The Organization of Jihad's Base in the
Country of the Two Rivers- TQJBR) แม้การยอมรับต่อองค์กรอัล-กออีดะ จะทาให้กลุ่ม
นี้ได้รับการขนานนามว่า กลุ่มอัล-กออีดะฮ์แห่งอิรัก (Al-Qaeda in Iraq- AQI) แต่กลุ่มนี้ก็ไม่เคยใช้
ชื่อดังกล่าวแทนชื่อกลุ่มนอกจากชื่อที่ประกาศใช้เป็น ทางการ[2]
การก่อตั้ง
• ในเดือนมกราคมปีค.ศ. 2006 กลุ่มดังกล่าวได้เข้ารวมกับกลุ่มติดอาวุธอีกหลายกลุ่มในอิรักภายใต้องค์กร ที่มีชื่อว่า
"สภาที่ปรึกษามูญาฮีดีน (The Mujahijdeen Shura Council) และในเดือนมิถุนายนปี
เดียวกันนี้เอง กองกาลังของสหรัฐฯได้ ลอบสังหารนายซอรฺกอวี
• ต่อมาวันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 2006 ทางกลุ่มได้เปลี่ยนชื่อเป็น "เดาลัต อัล-อิรัก อัล-อิสลามียะ" หรือ "กลุ่มรัฐอิสลาม
แห่งอิรัก" (Islamic State of Iraq- ISI) ภายใต้การนาขอนายอบู อับดุลเลาะห์ อัล-รอชิด อัล-บักดา
ดี (Abu Abdullah al-Rashid al-Baghdadi) โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจนคือ การ
ปลดปล่อยดินแดนของชาวมุสลิมนิกายซุนนีจากการกดขี่ และยึดครองของกลุ่มชีอะฮ์และต่างชาติ กลุ่ม ISI ในอิรักมี
แกนนาระดับสูงอีกคนที่เป็นชาวอียิปต์คือนาย อบู อัยยุบ อัล-มาสรี (Abu Ayyub al-Masri) ซึ่งต่อมา
แกนนาทั้งสองก็ถูกสังหารในปฏิบัติการทางการทหารของสหรัฐฯและอิรัก เมื่อเดือนเมษายน ปีค.ศ. 2010 นายอบูบักรฺ
อัล-บักดาดี จึงขึ้นเป็นผู้นาจนถึงปัจจุบัน
การก่อตั้ง
• ในเดือนตุลาคมปี 2004 นายซอรฺกอวีได้ประกาศความจงรักภักดี (บัยอะ) ต่อนายอุซมา บินลาดิน ผู้นาองค์กรอัล-กออี
ดะ นายซอรฺกอวีจึงเปลี่ยนชื่อกลุ่มเป็น "ตันซิม กออีดะ อัล-ญิฮาด ฟี บีลาด อัล-รอฟีดาน หรือ "องค์กรแห่งการญิฮาด
ซึ่งมีฐานในประเทศแห่งสองแม่น้า" (The Organization of Jihad's Base in the
Country of the Two Rivers- TQJBR)
• การยอมรับต่อองค์กรอัล-กออีดะ ทาให้กลุ่มนี้ได้รับการขนานนามว่า กลุ่มอัล-กออีดะฮ์แห่งอิรัก (Al-Qaeda
in Iraq- AQI)
• มกราคมปีค.ศ. 2006 ได้เข้ารวมกับกลุ่มติดอาวุธอีกหลายกลุ่มในอิรักภายใต้องค์กร ที่มีชื่อว่า "สภาที่ปรึกษามูญาฮีดีน
(The Mujahijdeen Shura Council) และในเดือนมิถุนายนปีเดียวกันนี้เอง กองกาลังของ
สหรัฐฯได้ ลอบสังหารนายซอรฺกอวี
การก่อตั้ง
• วันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 2006 ทางกลุ่มได้เปลี่ยนชื่อเป็น "เดาลัต อัล-อิรัก อัล-อิสลามียะ" หรือ "กลุ่มรัฐอิสลามแห่งอิรัก"
(Islamic State of Iraq- ISI) ภายใต้การนาขอนายอบู อับดุลเลาะห์ อัล-รอชิด อัล-บักดาดี
(Abu Abdullah al-Rashid al-Baghdadi) โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจนคือ การ
ปลดปล่อยดินแดนของชาวมุสลิมนิกายซุนนีจากการกดขี่ และยึดครองของกลุ่มชีอะฮ์และต่างชาติ กลุ่ม ISI ในอิรักมี
แกนนาระดับสูงอีกคนที่เป็นชาวอียิปต์คือนาย อบู อัยยุบ อัล-มาสรี (Abu Ayyub al-Masri) ซึ่งต่อมา
แกนนาทั้งสองก็ถูกสังหารในปฏิบัติการทางการทหารของสหรัฐฯและอิรัก เมื่อเดือนเมษายน ปีค.ศ. 2010 นายอบูบักรฺ
อัล-บักดาดี จึงขึ้นเป็นผู้นาจนถึงปัจจุบัน
การก่อตั้ง
• ชาวเคิร์ดรวมตัวชุมนุมในตุรกี ต่อต้านรัฐบาลตุรกีที่ให้
การสนับสนุนกลุ่มไอเอส
• การรวมตัวของพรรคแรงงานเคอร์ดิสถาน หรือ PKK
เป็นพรรคชาวเคิร์ดที่ใหญ่ที่สุดของตุรกี และถูกจัดให้
เป็นพรรคก่อการร้าย ออกมาเรียกร้องให้รัฐบาลตุรกีส่ง
กาลังหนุนมาร่วมสู้รบกับกลุ่มรัฐอิสลาม หรือกลุ่มไอเอส
ที่มีเป้าหมายในการฆ่าล้างเผ้าพันธ์ชาวเคิร์ด ซึ่งได้รับ
ความเดือดร้อนจากการคุกคามในเมือง โคบานี
บริเวณชายแดนซีเรีย-ตุรกี
• มีประเทศตะวันตกส่งอาวุธและกาลังมาร่วมกับกลุ่ม
เคิร์ด
• กลุ่มนักรบชาวเคิร์ดได้ปะทะกับกลุ่มไอสเอสอย่างดุเดือด
แต่กลุ่มเคิร์ดน่าจะเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ และกลุ่มไอเอสสามา
รถยึดครองเมือง โคบานีได้ในไม่ช้า
• รัฐมนตรีมหาดไทย ประนามผู้ประท้วงชาวเคิร์ดว่าทรยศ
ต่อประเทศ ได้ประกาศห้ามนอกนอกเคหสถานในตอน
กลางคืน
• โทนี แอบบอตท์ ต้องการยุติลัทธิแห่งความตายที่
ประกาศสงครามกับชาวโลก
• ทางการออสเตรเลียเชื่อว่ามีชาวออสเตรเลียเป็น
จานวนมากที่เดินทาง ไปร่วมกับกลุ่มติดอาวุธไอ
เอสในตะวันออกกลาง อย่างน้อย 160 คน และ
บางส่วนเดินทางกลับมาและยังคงแฝงตัวอยู่ใน
ออสเตรเลีย
• การกวาดล้างกลุ่มก่อการร้ายครั้งใหญ่ในนคร
ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย เข้าตรวจค้น
ครอบครัวและชุมชนของชาวมุสลิม
ออสเตรเลียส่งกองกาลังทางอากาศร่วมปราบปรามกลุ่มรัฐอิสลาม ไอเอส
ร่วมกับชาติพันธมิตรที่นาโดยสหรัฐอเมริกา
•ประธานาธิบดีฝรั่งเศส รับข้อเรียกร้องจากอิรักที่ต้องการให้ฝรั่งเศส
ส่งกองกาลังปฏิบัติการสนับสนุนทหารอิรักในการต่อสู้กับกลุ่มรัฐอิสลาม
•ฝรั่งเศสจะสนุบสนุนกองกาลังทางอากาศเท่านั้น และจะไม่เข้าไปปฏิบัติการโจมตีกลุ่มไอเอสใน
ซีเรีย ซึ่งเป็นฐานที่มั่นของกลุ่มดังกล่าว
•ฝรั่งเศสจ่ายเงินค่าไถ่ให้กับกลุ่มไอเอสเพื่อแลกกับอิสรภาพของตัวประกันชาวฝรั่งเศส ทาให้
ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการสนับสนุนกลุ่มก่อการร้าย เพราะไอเอสจะนาเงินที่ได้ไปใช้ในการ
ซื้ออาวุธ และอาจใช้ในการวางแผนก่อเหตุครั้งต่อไป
บทบาทประเทศฝรั่งเศส
นาย ฟร็องซัว ออล็องด์ ประธานาธิบดีฝรั่งเศส
• ไอเอสไม่เพียงแต่เป็นกลุ่มก่อการร้าย แต่ผู้ค้าน้ามันรายใหญ่
• กลุ่มไอเอสยึดเมืองใหญ่ที่มีความสาคัญทางด้านเศรษฐกิจของ
อิรักและซีเรียในหลายพื้นที่ จึงกลายเป็นผู้ครอบครองบ่อน้ามัน
11 แห่งในทั้งสองประเทศ
• แหล่งน้ามันที่มากที่สุดทางภาคเหนืออิรัก และตะวันออกของ
ซีเรีย ไม่รวมแหล่งขุดเจาะน้ามัน 7 แห่ง โรงกลั่นน้ามัน อีก
2 แห่ง และการควบคุมบริการงานของกลุ่ม ด้วยการผลิต
น้ามันดิบ
• นาเงินมาใช้ในการเคลื่อนไหวของกลุ่ม
น้ามันคือทรัพยากรสาคัญที่ทารายได้ให้แก่กลุ่มไอเอสมหาศาล
• ไอเอสเข้ายึดเมืองใด จะปล้นธนาคารและก่ออาชญากรรมหลายรูปแบบ
เช่น การกรรโชกทรัพย์ลักพาตัวประกันเพื่อเรียกค่าไถ่
• นักข่าวชาวฝรั่งเศส และสเปนถูกจับตัวเรียกค่าไถ่ ซึ่งรัฐบาลสองประเทศ
ต้องจ่ายค่าไถ่ตัวประกันหลายล้าน
• มีการจี้ปล้นทั่วๆไป มีการลักลอบนาวัตถุโบราณของอิรักส่งขายให้ตุรกี ทา
เงินให้กลุ่มหลายร้อยล้านดอลลาร์
• รายได้อีกทางหนึ่งมาจากการค้าผู้หญิงและเด็กส่วนใหญ่คือผู้หญิงในอิรัก
ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยยาซิดี ไอเอสมองว่าเป็นกลุ่มคนนอกรีต ถูกบังคับให้
นับถือศาสนาอิสลามและจับแต่งงานกับนักรบไอเอส บ้างก็ถูกจับไปขายใน
เมืองอาเลปโป เมืองรักกา และเมือง อัล-อัคซาคาห์ ซึ่งกลุ่มไอเอสจะได้รับ
ค่าตอบแทนประมาณราวๆครั้งละ 32,000 บาท
• การก่อการร้ายในยุโรปเกิดขึ้นบ่อยครั้ง
จากกลุ่มมุสลิมยุโรป
• พบการเดินทางเข้าออกของพลเมืองชาว
ยุโรปที่เข้าร่วมการสู้รบใน ซีเรีย ลิเบีย
เพิ่มมากขึ้น
• เป็นความเชื่อมโยงกันของการก่อการร้าย
ระหว่างประเทศที่ปฏิบัติการกระจาย
ออกไปยังที่ต่างๆ
• รัฐบาลของสหภาพยุโรปเห็นชอบร่วมกัน
ต่อต้านการก่อ การร้าย เพื่อให้เกิด
แผนปฏิบัติการอย่างเป็นรูปธรรม
• กองทัพสหรัฐฯส่งเฮลิคอปเตอร์โจมตีอาปาเชเข้าถล่มฐานที่มั่นของ
กลุ่มติดอาวุธ รัฐอิสลาม (ไอเอส) ในอิรักใกล้กับเมืองฟัลลูจาห์เป็น
เป้าหมายหลัก
• เป็นครั้งแรกที่มีการนาอากาศยานแบบนี้เข้าร่วมสนับสนุนกองกาลัง
ความมั่นคงอิรัก (ไอเอสเอฟ) การตัดสินใจของกองทัพสหรัฐครั้งนี้
ยิ่งทาให้ทหารอเมริกันในอิรักต้องเสี่ยงอันตรายมากขึ้น
• เครื่องบินขับไล่โจมตีบินในระดับความสูง 30,000 ฟุตปลอดภัยจาก
อาวุธทุกชนิดที่กลุ่มไอเอสมีอยู่ แต่เฮลิคอปเตอร์ไม่ใช่เมื่อนา
เฮลิคอปเตอร์บินสูงจากพื้นดินราวๆ 50 เมตร จะถูกยิงด้วยจรวด
อาร์พีจี หรือจรวดต่อสู้อากาศยาน
กองทัพสหรัฐฯ
• ประกอบด้วยอาวุธชั้นดีและผ่านการฝึกอบรมจากสหรัฐฯตลอดจนมหาอานาจ อื่นๆ กลับมีอันต้องพังทลายแยกสลายลง
อย่างรวดเร็ว เมื่อเผชิญกับกองกาลังซึ่งมีขนาดเล็กกว่าและประกอบอาวุธอ่อนด้อยกว่า แถมนาโดยบุคคลากรผู้ซึ่งแทบ
ไม่มีประสบการณ์ทางทหารเลยจวบจนกระทั่งพวกเขา เข้าสู่การสู้รบครั้งต่างๆ ในอิรักและซีเรีย เงามืดมนของความสงสัย
ข้องใจจึงกาลังทอดไปยังกองทัพอื่นๆ ในภูมิภาคแถบนี้ ว่าพวกเขาจะสามารถพึ่งพาอาศัยได้มากน้อยแค่ไหน โดยที่
กองทัพซาอุดีอาระเบียคือกองกาลังอาวุธซึ่งถูกตั้งคาถามมากกว่าเพื่อน การดาเนินภารกิจฝึกอบรมต่างๆ สามารถทาให้
เหล่าทหารยิงปืนยิงอาวุธได้แม่นยาและเดินสวนสนามได้อย่างพร้อม เพรียงกระฉับกระเฉง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่ออยู่ต่อ
หน้าพวกนักการเมืองและกล้องโทรทัศน์ ทว่าการฝึกอบรมนั้นไม่สามารถรับประกันได้ว่าทหารเหล่านี้จะมีการรวมตัวเกาะ
เกี่ยวกันอย่างเหนียวแน่น หรือป้องกันไม่ให้เกิดการแตกทัพแยกสลายได้ กองทัพทรงประสิทธิภาพทั้งหลายจึงต้องอาศัย
พวกระบบทางสังคมต่างๆ มากมายยิ่งกว่าบรรดาโปรแกรมฝึกอบรมนัก
กองกาลังติดอาวุธในอิรัก
• ในอิรักเวลานี้ มีกลุ่มติดอาวุธอยู่ 4 กลุ่มที่กาลังปฏิบัติการอยู่ กลุ่มเหล่านี้มีโครงสร้างและประสิทธิภาพซึ่งแตกต่างกัน
มาก กลุ่มแรก คือ กองทัพแห่งชาติของอิรัก ซึ่งได้รับการจัดตั้งในลักษณะเป็นกองทัพประจาการสมัยใหม่ กลุ่มถัดมา
ได้แก่ ISIS [1] ที่มีลักษณะเป็นกลุ่มนักรบผู้ศรัทธาเชื่อมั่นในลัทธิศาสนา และชวนให้หวนระลึกไปถึงคณะนิกายมุ่งสู้
รบเพื่ออุดมการณ์ทางศาสนาแห่งยุคอดีต อันไกลโพ้น สาหรับกลุ่มที่ 3 คือกองกาลังชาวเคิร์ด ผู้ซึ่งมีฐานะอยู่ตรงกลางๆ
อย่างไม่ค่อยเต็มอกเต็มใจนัก ระหว่างการเป็นกองกาลังจรยุทธ์ กับ การเป็นกองทัพแบบแผน และกลุ่มสุดท้ายได้แก่
กองกาลังชาวสุหนี่ ที่เป็นกองกาลังกบฎมุ่งก่อความไม่สงบ ซึ่งได้รับความสนับสนุนอย่างแข็งแรงจากกลุ่มประชากรของ
พวกตน การปะทะกันของกองกาลังอาวุธ 4 กลุ่มเหล่านี้ คือปัจจัยที่ชี้ขาดว่าอนาคตของอิรักจะเป็นอย่างไรต่อไป รวมทั้ง
อนาคตของเขตพรมแดนต่างๆ ของภูมิภาคแถบนี้ด้วย
กองกาลังติดอาวุธในอิรัก
Isis
Isis

Mais conteúdo relacionado

Mais de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

Mais de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

Isis

  • 4. www.kpi.ac.th การใช้อานาจในการต่อสู้ตามยุคสมัย Military Power Politics Power Economics Power Sociological Power Religion,Culture Media Power Facebook, Twitter, Vdolink, Mobile Phone, TV, Radio National Power
  • 5. GLOBAL CONFLICT •Globalisation & Localisation •Hard Power & Soft Power •Americanization & Islamization •Capitalism & Socialism •High Technology & Low Technology •Tangible & Intangible •Physical & Mental or Spiritual •National Resource
  • 9. World Muslim Population General & Islamic Source Continent Population in 2003 Muslim Population in 2003 Muslim Percentage Africa 861.20 461.77 53.62 Asia 3830.10 1178.89 30.78 Europe 727.40 52.92 7.28 North America 323.10 6.78 2.10 South America 539.75 3.07 0.57 Oceania 32.23 0.60 1.86 Total 6313.78 1704.03 26.99 Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%** We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The Muslim population in 2003 was 1704.03 million. **US Center For World Mission 1997 Report
  • 11. ประเทศมุสลิม • ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย) • ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี) • ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน) • ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ) • ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐) • ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชียกลางและคอเคซัสที่เคย รวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน)
  • 12. World Muslim Population General & Islamic Source Continent Population in 2003 Muslim Population in 2003 Muslim Percentage Africa 861.20 461.77 53.62 Asia 3830.10 1178.89 30.78 Europe 727.40 52.92 7.28 North America 323.10 6.78 2.10 South America 539.75 3.07 0.57 Oceania 32.23 0.60 1.86 Total 6313.78 1704.03 26.99 Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%** We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The Muslim population in 2003 was 1704.03 million. **US Center For World Mission 1997 Report
  • 13. Muslim • ความเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ 7 • กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจากบริเวณตะวันออกกลาง สู่ยุโรป • หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม 1990 มีบอสเนีย และเอเซียกลางแยกจากรัสเซีย รวมเป็น Islamic Conference Organization(ICO) • ไม่มีเอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบายต่างประเทศที่แตกต่างกัน • มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไปตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และยุทธศาสตร์ของที่ตั้งประเทศตามภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics) • มีการนาของประมุขที่มีกรอบแนวความคิด บุคลิก ประสบการณ์ส่วนตัวต่างกันไป
  • 15. ประเทศมุสลิม • ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือ กึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย) • ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี) • ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน) • ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ) • ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐) • ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชียกลางและ คอเคซัสที่เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน)
  • 16. ประเทศมุสลิมที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกา และตะวันตก • ประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน • ขบวนการชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” และ “ฮิซโบเลาะห์ • มุสลิมแนวปฏิวัติอิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่ออเมริกาและกลุ่มตะวันตก • ผู้นาเอากฎแบบเคร่งครัดของอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” ต่อต้าน “การครอง โลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา • อารยธรรมชนผิวขาวคริสเตียน” เป็นศัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม”(ฮันติงตัน เรียกว่า“The Clash of Civilizations” ) • ผู้นามีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอามาร์ กัดดาฟี • “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศเช่น UN , IMF, World Bank , WTO องค์การ กาหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ ฯลฯ เหล่านี้ มักมีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง
  • 18. สหรัฐอเมริกาและกลุ่มตะวันตกกับ “ชนมุสลิม” • มักจะมาจากประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน ขบวนการของชาวปาเลสไตน์บาง กลุ่มเช่น “ฮามาส” และ“ฮิซโบเลาะห์ รวมทั้งมุสลิมแนวปฏิวัติ เช่น อิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่อ สหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศตะวันตก เกิดจากสาเหตุหลายสาเหตุ • ยึดมั่นในคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามอยางเคร่งครัด และต้องการนาเอากฎหลักของศาสนามาใช้เป็นกฎ หลักของสังคมอย่างเคร่งครัด • วิถีชีวิตแบบตะวันตกโดยเฉพาะแบบอเมริกัน จะเต็มไปด้วยความเลวทราม อุจาด ลามก ทุจริต คด โกง เห็นแก่ตัว จะพยายามทาลายขจัดกีดกัน โค่นล้ม เท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธี รุนแรง • สังคมมุสลิมผู้นาได้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง เพื่อ ต่อต้านสหรัฐอเมริกา และอารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน” ในลักษณะเช่นนี้ความเป็นสัตรูที่ เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม” จะปรากาออกมาในแนวทางที่ แซมวล ฮันติงตันเรียกว่า “The Clash of Civilizations”
  • 19. 19
  • 20. บทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ หมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7 “Nothing contained in the present charter shall authorize the UN to intervene in matters which are essentially within the domestic jurisdiction of any state or shall require the member to submit such matters to settlement under the present charter; But this principle shall not prejudice the application of enforcement measures under chapter 7” www.kpi.ac.th
  • 21. กระบวนการสันติภาพกับปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศ ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่งอาจมีสาเหตุ จากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน • ความไม่เป็นธรรมในสังคม • ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์ • การรักษาการปกครองของรัฐ • กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ • ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนา ครอบคลุมพื้นที่อย่างเต็มประสิทธิภาพ www.kpi.ac.th
  • 22. America has stood down enemies before, and we will do so this time. Bush September, 11, 2001
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 28.
  • 29.
  • 30. NATIONAL WILL or WILL POWER
  • 31.
  • 32.
  • 35. การเมืองของประเทศมหาอานาจ / ขาดหลักนิติธรรม Terrorist Movements โลกาภิบาล : Global Governance • UN • G 8 • World Bank • WTO • OECD • IMF •NATO •UNCTAD
  • 36. การวิเคราะห์ปัญหาแบบบูรณาการ •รากเหง้าของปัญหา(ตัวสหรัฐเองมากกว่ามุสลิม) •ความร่วมมือระหว่างประเทศ(ให้ความสาคัญ UN และประชาคมโลกระหว่างประเทศ) •จิตใจและจิตวิญญานของมุสลิม •ลัทธิครองความเป็นเจ้า(นโยบายฝ่ายเดียว การใช้กาลังและนโยบายสุดขั้ว) •USA ใช้ Hard Power ทาให้ขาดศรัทธา ชอบธรรม •ยุทธศาสตร์ตะวันออกกลาง(คงทหารไว้ สนับสนุน Israel) •การปะทะกันระหว่างอารยธรรม Crash Civilization
  • 37. กระบวนทัศน์ใหม่ • มีความมั่นใจในกาลังอานาจของตนทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และการทหาร • โน้มน้าวประเทศอื่นให้คล้อยตามด้วยเงินช่วยเหลือ ผลประโยชน์และอานาจความรู้ • การแบ่งกลุ่มประเทศ ๔ กลุ่ม G8,กาลังพัฒนา,New State,Rogue State • ประเทศเอกราช ๑๙๓ ประเทศ มีการรวมกลุ่มกันทางเศรษฐกิจ การเมือง เชื้อชาติ วัฒนธรรม พื้นที่ ตามภูมิศาสตร์ • พรมแดน ความเป็นเชื้อชาติเลือนหาย • เครือข่าย ข่าวสาร มีการถ่วงดุลกันมากขึ้น • เศรษฐกิจจะกระจายตัวไป จีน ญี่ปุ่น รัสเซีย อินเดีย กระจายไปสู่ยุโรปตะวันออก ประเทศมุสลิมใหม่ (รัฐเอกราชแยกจากรัสเซีย) • แผนที่รัฐเอกราช
  • 38. สหรัฐอเมริกา • การครอบงาโลกทางวัฒนธรรม Americanization • ประเทศสาคัญ 2 - 15 รวมกันไม่เท่าสหรัฐ • ด้านเศรษฐกิจ จีน+เยอรมัน+อังกฤษ = สหรัฐ • มีประชากร 5 % ของโลก • ผลผลิตสู่ตลาดโลก 43% • มีเทคโนโลยีสูง • RD ใช้งบประมาณ 50 % ของ งป.RD ของโลก • จุดแข็ง วัฒธรรม การศึกษา แนวคิด ผู้นา วิถีชีวิตอเมริกัน ยืดหยุ่น • เศรษฐกิจกสหรัฐเป็นพลวัตร
  • 39. Global studies • Globalization • Technology • Mobility • Beliefs • Economy
  • 40. สหรัฐอเมริกา •เป็นประเทศที่ทรงอิทธิพลที่สุด ในด้านเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร •มีศักยภาพในการชี้นาและการกาหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ในโลก •มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก •มีความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก (จัดอันดับโดย The Economist) •มีบทบาทสูงในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น UN, NATO, IMF, World Bank, WTO, G8, OECD, APEC และ UNCTAD
  • 41. ก่อการร้ายต่อสหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศตะวันตก • มองวิถีชีวิตแบบอเมริกันตะวันตก จะเต็มไปด้วยความเลวทราม อุจาด ลามก ทุจริต คดโกง เห็นแก่ตัว กีดกัน โค่นล้มเท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธีรุนแรง • ยึดมั่นในคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามอยางเคร่งครัด และต้องการนาเอากฎหลักของศาสนามาใช้เป็นกฎ หลักของสังคมอย่างเคร่งครัด • สังคมมุสลิม ผู้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” เพื่อ ต่อต้าน“การครองโลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา และอารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน” • ความเป็นศัตรูเกิดขึ้นระหว่าง“ตะวันตก” กับ “มุสลิม” (“The Clash of Civilizations” • ผู้นาจานวนนี้มักเป็นผู้นาที่มีความนับถือตัวเอง และเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน ในอิรัก หรือโมอามาร์ กัดดาฟี ในลิเบีย
  • 42. 42
  • 44. สถานการณ์ด้านความมั่นคง •แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการสู้รบด้วยอาวุธ •ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความแตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรมที่ปะทุขึ้น ต้องมีมาตรการแก้ไขที่ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง •มีมาตราการป้องกันกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้เกิดความขัดแย้งในระดับปัจเจก บุคคลหรือกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองที่อาจขยายตัวเป็นความขัดแย้งขนาด ใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อสันติภาพและความมั่นคงของประเทศต่างๆ
  • 45. • หลังจากสหรัฐได้บุกยึดครองอิรัก เมื่อปี 2003 สถานการณ์ในภูมิภาคตะวันออกกกลางได้เปลี่ยนไปมาก • ดุลยภาพแห่งอานาจในภูมิภาค ก่อนหน้าสงครามอิรัก การถ่วงดุลอานาจในภูมิภาคเป็นการถ่วงดุลกันระหว่างอาหรับกับ อิหร่าน โดยมีรัฐบาลซัดดัม เป็นรัฐกันชนสาคัญในการคานอานาจอิหร่าน • หลังสงครามอิรักดุลแห่งอานาจได้ไปทางอิหร่าน การโค่นล้มซัดดัม ทาให้ชาติอาหรับเกิดความหวาดระแวงว่าอิหร่านจะ ขึ้นมาครอบงาตะวันออกกลาง • เกิดสุญญากาศแห่งอานาจ อิหร่านที่ร่ารวยน้ามันและการปลุกระดมลัทธิชาตินิยม แต่ประสบอุปสรรคครอบงาภูมิภาค ปี 2003 ขยายอิทธิพลในตะวันออกกลาง มีพันธมิตรคือ กลุ่ม HAMAS และ Hizballah ต่อสู้กับอิสราเอล ปี 2006 ชาติอาหรับกลุ่มนิกายซุนนีย์มองว่า อิหร่านและกลุ่มชีอะห์กาลังได้รับชัยชนะ แต่ปี 2009 Hizballah พ่ายแพ้การเลือกตั้ง อิหร่านเกิดความวุ่นวายทางการเมืองหลังการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นอุปสรรคในการขยายอิทธิพล ภาพลักษณ์ของอิหร่านเป็นลบมากขึ้นในสายตาชาวอาหรับ โดยเฉพาะบทบาทอิหร่านที่เข้าไปแทรกแซงสถานการณ์ใน อิรัก ตะวันออกกลางในยุคหลังสงครามอิรัก
  • 46. • ชาติอาหรับต่อต้านการขึ้นมาของอิหร่านมีหลายรูปแบบ ส่วนใหญ่จะผสมผสานระหว่างยุทธศาสตร์การ ปฏิสัมพันธ์ การถ่วงดุลอานาจและการสกัดกั้น • โลกอาหรับมีภาพอิหร่านที่มีทั้งเป็นลบและเป็นบวก ภาพลบคือ การที่อิหร่านเข้าไปวุ่นวายในอิรัก และการ ท้าทายชาวมุสลิมนิการซุนนีย์ (ชาวอิหร่านนับถือศาสนาอิสลามนิกายชีอะห์) ในแง่บวกอิหร่านคือผู้นาการ ลุกขึ้นมาท้าทายตะวันตก และการต่อต้านอิสราเอล • ในโลกอาหรับไม่มีประเทศที่เล่นบทเป็นตัวถ่วงดุลอานาจอิหร่านอย่างเด่นชัด จึงกลายเป็นว่าตัวแสดง สาคัญในตะวันออกกลาง กลายเป็นประเทศที่ไม่ใช่อาหรับ คือ อิสราเอล ตุรกี อิหร่าน และสหรัฐ • การผงาดขึ้นมาของอิหร่านยังเกี่ยวพันกับเรื่องวิกฤตินิวเคลียร์อิหร่าน โดยทางตะวันตกและสหรัฐได้ กล่าวหาอิหร่านว่า กาลังแอบพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ ตะวันตกได้พยายามกดดันอิหร่านด้วยวิธีการต่างๆ โดยการผลักดันมาตรการคว่าบาตร แต่ก็ยังไม่ประสบความสาเร็จ ตะวันออกกลางในยุคหลังสงครามอิรัก
  • 47. • สงครามอิรักทาให้ความขัดแย้งในภูมิภาคหลายเรื่องทรุดหนักลง • ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างมุสลิมนิกายชีอะห์และมุสลิมนิกายซุนนี ย์ โดยเฉพาะในอิรัก หลังสงคราม ได้เกิดความขัดแย้งกันอย่างรุนแรง ระหว่างชาวอิรักนิกายชีอะห์กับซุนนีย์ ถึงขั้นเกือบจะเป็นสงคราม กลางเมือง ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองนิกายได้แพร่ขยายไปในหลายๆ ประเทศในตะวันออกกลาง • ทาให้ความขัดแย้งระหว่างชาว Kurd กับหลายประเทศทรุดหนักลง โดยสงครามอิรักได้ทาให้ชาว Kurd ในอิรัก เรียกร้องการปกครองตนเอง ซึ่งมีผลทาให้เกิดกระแสเดียวกันขึ้นในหมู่ชาว Kurd ที่อาศัยอยู่ใน ซีเรีย ตุรกี และอิหร่าน • โดยเฉพาะกลุ่มแบ่งแยกดินแดนของชาว Kurd ในตุรกี คือกลุ่ม PKK ได้อาศัยตอนเหนือของอิรัก เป็นแหล่งซ่องสุม ขบวนการแบ่งแยกดินแดนของชาว Kurd ทาให้ ซีเรีย ตุรกี และอิหร่าน พยายาม ร่วมมือกัน ซึ่งทาให้แผนของสหรัฐที่จะดึงซีเรียออกจากอิทธิพลของอิหร่านเป็นไปได้ยากยิ่งขึ้น ความขัดแย้งตะวันออกกลางในยุคหลังสงครามอิรัก
  • 48. •สงครามอิรักไม่ได้ทาให้ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและ ปาเลสไตน์ดีขึ้น ในทาง ตรงกันข้าม กลับนาไปสู่ความขัดแย้งที่ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น แม้ว่ารัฐบาลโอ บามาจะพยายามแก้ปัญหา โดยเสนอทางแก้ที่เรียกว่า two state solution คือการให้รัฐอิสราเอลและรัฐปาเลสไตน์อยู่ร่วมกันอย่างสันติ •แต่เส้นทางสันติภาพในตะวันออกกลางก็เต็มไปด้วยอุปสรรค เพราะมีหลายเรื่องที่ ยากที่จะหาข้อยุติ อาทิ เขตแดนของรัฐปาเลสไตน์ สถานะของกรุงเยรูซาเลม สถานะ ของผู้ลี้ภัยชาวปาเลสไตน์กว่า 5 ล้านคน และปัญหาการตั้งถิ่นฐานของชาวยิวในเขต West Bank ความขัดแย้งตะวันออกกลางในยุคหลังสงครามอิรัก
  • 49. • ขบวนการก่อการร้าย โดยเฉพาะกลุ่ม Al-Qa’ida ไม่ได้หมดไป แต่ในทางตรงกันข้ามกลับแพร่ขยาย ออกไปมากขึ้น โดยหลังสงคราม อิรักได้กลายเป็นศูนย์กลางของการทาสงครามศาสนาหรือสงคราม Jihad เพื่อต่อต้านสหรัฐ • กลุ่ม Al-Qa’ida in Iraq แรกๆจะได้รับการสนับสนุนจากชาวอาหรับ แต่ในระยะหลังๆ ก็เสื่อม ความนิยมลง บทบาทของ Al-Qa’ida ในอิรักจะลดลง แต่กลับกลายเป็นว่า บทบาทของ Al- Qa’ida ในประเทศอื่นๆ ในตะวันออกกลางกลับเพิ่มมากขึ้น • การก่อการร้ายมีแนวโน้มจะลุกลามขยายตัว โดยเฉพาะใน เยเมนและโซมาเลีย สงครามในอัฟกานิสถาน และปากีสถานก็ได้เลวร้ายลงเรื่อยๆ เพราะทั้งนักรบตาลีบันและ Al-Qa’ida ได้ฟื้นคืนชีพ แหล่งซ่อง สุมใหม่อยู่บริเวณพรมแดนระหว่างปากีสถานกับอัฟกานิสถาน โดยนักรบตาลีบันได้ยึดครองพื้นที่ใน อัฟกานิสถานและปากีสถานได้มากขึ้น เรื่อยๆ ขบวนการก่อการร้ายในตะวันออกกลางหลังสงครามอิรัก
  • 50. • สาเหตุหนึ่งที่ ประธานาธิบดีบุชอ้าง ในการทาสงครามอิรักก็เพื่อสร้างประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นในอิรัก โดย หวังว่าประชาธิปไตยในอิรักจะส่งผลกระทบเป็น domino effect จะทาให้ประชาธิปไตย เกิดขึ้นทั่วตะวันออกกลาง • ผลที่เกิดขึ้น กลับเป็นไปในทางตรงกันข้าม 7 ปีผ่านไปประชาธิปไตยในอิรักและอัฟกานิสถานก็ง่อนแง่น และยังไม่มีแนวโน้มว่าประเทศในตะวันออกกลางอื่นๆ จะพัฒนาไปสู่การเป็นประชาธิปไตย ในทางตรงกัน ข้าม สงครามอิรักกลับเป็นตัวยับยั้งการปฏิรูปทางการเมือง • รัฐบาลอาหรับมองว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในอิรักสร้างความหายนะให้กับประเทศตน กลับกลายเป็นว่า ชาวอาหรับ กลับหันมาสนับสนุนรัฐบาลเผด็จการ มากกว่าจะเดินหน้าสู่ประชาธิปไตยที่จะนาไปสู่ความวุ่นวายทาง การเมือง โดยชาวอาหรับมองว่าประชาธิปไตยเป็นสิ่งที่สหรัฐยัดเยียดเข้ามา และมองว่าประชาธิปไตยใน อิรักเป็นปัจจัยที่ทาให้เกิดความวุ่นวายถึงขั้นเป็นสงครามกลางเมือง ประชาธิปไตย ในตะวันออกกลางหลังสงครามอิรัก
  • 51. • ผลกระทบของสงครามอิรักต่อบทบาทของสหรัฐได้ตกต่าลง โดยเฉพาะความล้มเหลวภายหลังสงคราม อิรัก อิทธิพลของสหรัฐลดลง อิทธิพลของมหาอานาจอื่นๆ โดยเฉพาะรัสเซียกับจีนเพิ่มขึ้น • ความล้มเหลวของสหรัฐในอิรัก ทาให้ประเทศต่างๆ ในตะวันออกกลางเริ่มไม่มีความมั่นใจ จึงได้เริ่มหัน ไปตีสนิทกับจีนและรัสเซียมากขึ้น โลกอาหรับได้สูญเสียความเชื่อมั่นต่อสถานะของสหรัฐในการเล่นบท เป็นผู้ให้ หลักประกันความมั่นคง • จีนและรัสเซียได้พยายามเพิ่มบทบาทมากขึ้นในตะวันออกกลาง โดยรัสเซียพยายามที่จะท้าทายอิทธิพล ของสหรัฐ และพยายามเข้าไปมีบทบาทในการเป็นตัวกลางแก้ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับ อาหรับ • จีนมียุทธศาสตร์ที่พยายามเน้นในเรื่องความมั่นคงด้านพลังงาน โดยพยายามตีสนิทกับประเทศใน ตะวันออกกลางเพื่อซื้อน้ามันเป็นหลัก แต่บทบาททางด้านการทหารและการเมืองยังมีจากัด มหาอานาจในตะวันออกกลางหลังสงครามอิรัก
  • 52. นิกายต่างๆ ของศาสนาอิสลาม นิกายซุนนีหรือซุนนะห์ เคร่งครัดการปฏิบัติตาม คัมภีร์อัลกุ รอาน และซุนนะห์เท่านั้น และยอมรับ ผู้นา ๔ คนแรก ซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดท่าน ศาสดา มุสลิมส่วนใหญ่ในโลกรวมทั้ง ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย นับถือนิกายนี้
  • 53. นิกายชีอะห์ ชีอะห์ แปลว่า พรรคพวก หมายถึง พรรคพวกท่านอาลีนั่นเอง นิกายนี้ถือว่าท่าน อาลี บุตรเขยของศาสดามูฮัมมัดคนเดียวเท่านั้นเป็นผู้ที่ถูกต้อง ผู้ถือนิกายนี้ส่วนใหญ่อยู่ใน ประเทศอิหร่าน อิรัก เยเมน อินเดีย และประเทศในทวีปแอฟริกาด้านตะวันออก
  • 54. • เป็นนิกายที่ชาวมุสลิมส่วนใหญ่นับถือ ซึ่งยึดถืออัลอ-กุรอาน จริยวัตรของท่านศาสดามุฮัมมัด และแบบอย่างของสาวก เป็นหลัก • เชื่อว่าท่านศาสดามุฮัมมัดมิได้แต่งตั้งตัวแทนไว้ก่อนที่ท่านจะจากไป ดังนั้นหลังจากท่านจากไปแล้วตาแหน่งผู้ปกครอง หรือผู้นาสืบต่อจากท่านจึงเป็นหน้าที่ ของมุสลิม ต้องเลือกสรรกันเองตามความเหมาะสม • หลัง จากจบการบริหารของเคาะลิฟะฮฺทั้งสี่ท่านแล้ว นิกายซุนนีย์ก็ปราศจากผู้ปกครองโดยเฉพาะผู้นาศาสนาที่ถูกต้อง ตามทานองครอง ธรรม ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้นิกายซุนนีย์ไ่ม่มีผู้ศาสนาที่เด่นชัด เนื่องจากไม่มีผู้รู้ที่แท้จริง ประกอบกับ ในช่วงนั้นพระวจนะของศาสดาเองก็ได้รับการสั่งห้ามจากเคาะลิฟะฮฺที่ สอง มิให้มีการจดบันทึกโดยอ้างเหตุผลว่าจะ สับสนกับโองการอัล-กุรอาน นิกายซุนีย์
  • 55.
  • 56.
  • 57.
  • 59.
  • 61. เกี่ยวกับกลุ่มก่อการร้าย 'ไอซิส' (ISIS) • เดิมทีกลุ่มไอซิสมาจากกลุ่มติดอาวุธที่ช่วยเหลือรัฐบาลอิรักในการสู้รบกับ กองกาลังสหรัฐฯ ในช่วงสงครามอิรักปี 2546 ก่อนที่ต่อมาจะจัดตั้งเป็นกลุ่ม "รัฐอิสลามแห่งอิรัก" (ISI) และแผ่ขยายอิทธิพลในหลายเมืองของซีเรียในช่วงที่ซีเรียกาลัง เกิดสงครามกลาง เมือง ทาให้มีชื่อเป็นกลุ่ม "รัฐอิสลามในอิรักและซีเรีย“ (Islamic State of Iraq and Syria) หรือไอซิส (ISIS) จนกระทั่งล่าสุดได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นเพียงกลุ่มรัฐอิสลามหรือไอเอส (IS) • ไอซิสเป็นกลุ่มหัวรุนแรงนิกายซุนนีที่เดินตามแนวทางอุดมการณ์ของกลุ่มอัลเคดา หรืออัลกออิดะฮ์ (เป็นกลุ่มก่อการร้าย อิสลามสากล) พวกเขาเชื่อการตีความศาสนาอิสลามในแบบที่ต่อต้านชาติตะวันตกอย่างสุดโต่ง สนับสนุนการใช้ความ รุนแรง และกล่าวหาคนที่ไม่เห็นด้วยกับการตีความของพวกตนว่าเป็นพวกนอกรีตหรือคนไม่มีศรัทธา • ไอซิสเป็นกลุ่มลัทธิปลุกปั่นความเชื่อเรื่องจุดจบของโลก ทั้งเชื่อว่ากาลังทาสงครามที่ตนเป็น "ฝ่ายดี" จึงกล้าแสดงออกให้ เห็นความโหดร้ายของกลุ่ม
  • 63. จุดมุ่งหมายหลักของกลุ่มไอซิส •จุดมุ่งหมายหลักของกลุ่มไอซิส คือการจัดตั้ง ‘รัฐอิสลาม’ทั่ว พื้นที่ ประเทศอิรักและในซีเรีย •โดยเก็บภาษีกฎหมายอิสลามในเมือง แยกเด็กชายและหญิงออกจาก กันในการศึกษาในโรงเรียน •รวมทั้งกาหนดให้สตรีต้องสวมผ้าคลุมหน้า ญิฮาบ ในที่สาธารณะ กล่าวคือ การนาเอากฏหมายอิสลามมาใช้อย่างเข้างวดในพื้นที่ที่ตน ปกครอง
  • 64. มุมมองของนักวิเคราะห์เกี่ยวกับกลุ่มก่อการร้าย 'ไอซิส' (ISIS) • ไอซิสมักจะแสดงออกให้เห็นความโหดร้ายด้วยวิธีการ ดังต่อไปนี้ ซึ่งเป็นท่าทีที่แตกต่างจากกลุ่มโหดร้ายใน ประวัติศาสตร์อย่างนาซีหรือเขมรแดงที่พยายามกลบเกลื่อนอาชญากรรมต่อมนุษยชาติที่พวกเขาก่อไว้ • การเผยแพร่ภาพวีดิโอสังหารผู้คนด้วยการตัดหัวตัวประกันรวมถึงกลุ่มชาวอียิปต์ผู้นับถือคริสต์ การจุดไฟ เผาเหยื่อทั้งเป็น และการจับผู้หญิงชาวยาดิซ เป็นทาส • มักสร้างศัตรูไปทั่ว ทั้งชาวมุสลิมนิกายชีอะฮ์ ชาวเคิร์ด ชาวยาดิซ ชาวคริสต์ และชาวมุสลิมคนอื่นๆ ที่ไม่เห็น ด้วยกับพวกเขา ไอซิสยังก่อสงครามแม้กระทั่งกับกลุ่มอัลกออิดะฮ์ในซีเรียทั้งที่สองกลุ่มนี้ น่าจะเป็นมิตรต่อ กัน(จากบทวิเคราะห์ของปีเตอร์ เบอร์เกน นักวิเคราะห์ด้านความมั่นคงของสานักข่าว CNN และรองประธานมูลนิธิ นิวอเมริกา องค์กร Think Thank ด้านนโยบายระหว่างประเทศ )
  • 65. สาเหตุที่กลุ่ม ISIS แสดงออกให้เห็นความโหดร้ายและสร้างศัตรูไปทั่ว • การมีอุดมการณ์แบบกลุ่มลัทธิคลั่งคาพยากรณ์ที่เชื่อว่าพวกเรากาลังอยู่ในช่วงโลกใกล้จะแตกแล้วการ กระทาของพวกไอซิสเองก็เร่งให้เกิดภัยพิบัติต่อมนุษยชาติ เร็วขึ้น • นิตยสารของไอซิสระบุว่าเมืองทางตอนเหนือของซีเรียที่ชื่อ 'ดาบิก' ในเขตปกครอง อเล็ปโป จะเป็นแหล่งของสงครามครั้งสุดท้ายระหว่าง "กองทัพอิสลาม" กับ "โรม" ที่จะทาให้เกิดจุดจบ ของโลกและชัยชนะจะเป็นของ "ผู้เป็นอิสลามที่แท้จริง” กลุ่มไอซิสต้องการให้ประเทศตะวันตกรุกราน ซีเรียซึ่งจะกลายเป็นการทาให้คาทานายเรื่องดาบอกของพวกเขาเป็นจริง • ระบุว่า “ผู้ที่จะชนะในสงครามครั้งใหญ่นี้ได้จะต้อง เป็นผู้ที่เข้าร่วมสงครามด้วย ผู้ที่เป็นคนดูอยู่เฉยๆ จะถือว่าพ่ายแพ้” ไอซิสต้องการให้คนเข้าร่วมเป็นพวก คนอื่นที่นอกเหนือจากกลุ่มของตัวเองถือเป็น "พวกนอกรีต" หรือ "ผู้ทาสงครามศาสนา" (Crusader) ทั้งหมด
  • 66. สาเหตุที่กลุ่ม ISIS แสดงออกให้เห็นความโหดร้ายและสร้างศัตรูไปทั่ว •ตามเขียนไว้ในหนังสือเกี่ยวกับไอ ซิส โดย เจ เอ็ม เบอรฺเกอร์ และ เจสสิกา สเติร์น ว่า "กลุ่มเชื่อในคาทานายของศาสนาหัวรุนแรงมักจะมองว่าพวกเขาเองกาลัง เข้าร่วมใน สงครามที่ยิ่งใหญ่ระหว่างความดีกับความชั่ว ซึ่งไม่ได้สนใจหลักการจริยธรรม ใดๆ“ •การที่ไอซิสมีแนวคิดว่าตัวเองกาลังต่อสู้ในสงครามยิ่งใหญ่ ซึ่งตนเองนั้นอยู่ใน "ฝ่ายดี" นี้เอง ที่ทาให้พวกเขาคิดว่าจะฆ่าใครก็ได้ที่ขัดขวางพวกเขาโดยไม่มีความสานึก ใดๆ ซึ่งถือเป็น อาการหลงผิดอย่างรุนแรง
  • 67. แหล่งเงินทุนของไอซิสมาจากไหน ? •บางสานักก็ให้ความเห็นว่าได้มาจากมหาเศรษฐีที่คอยช่วยเหลืออยู่เบื้องหลัง รวมไปถึงการ ปล้นธนาคาร ไปจนถึงร้านทอง ค้าสตรีชนกลุ่มน้อย ยึดบ่อน้ามันมาขายในตลาดมืด เก็บ ส่วยตามตะเข็บชายแดน โดยใช้เงินทุนเหล่านี้เพื่อการยึดครองเมืองอื่นๆ ต่อไป •กลุ่มไอเอสยังมีระบบการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ทั้งในด้านของเงินทุนในกลุ่ม และ การโฆษณา พีอาร์กลุ่มตนผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อระดมสมาชิกจากทั่วทุกมุมโลก ให้ เดินทางมายังตะวันออกกลางเพื่อรวมกลุ่ม
  • 68. แนวโน้มผลกระทบของกลุ่มไอเอสที่จะเกิดขึ้นในอนาคต •อาจบานปลายเป็นภัยคุกคามในระดับภูมิภาค ซึ่งอิรักและซีเรีย อาจจะต้องประสบ กับความเลวร้าย จากสงครามกลางเมือง •การดึงดูดแนวร่วมจากชาวมุสลิมทั่วโลกจะยังคงดาเนินต่อไป กลุ่มไอเอสจะ แข็งแกร่งกว่าเดิม เนื่องจากการระดมทุนจากวิธีต่างๆ
  • 69. ประเทศที่สันนิษฐานว่าสนับสนุนกลุ่มไอเอส • ไมเคิล สตีเฟนส์ ผู้อานวยการสถาบัน Royal United Services ในกาตาร์ ได้วิเคราะห์ว่า หากมอง ย้อนไปถึงความขัดแย้งที่มีรากลึกระ หว่างกลุ่มอิสลามนิกายสุหนี่กับนิกายชีอะห์ จะเห็นได้ว่ากลุ่ม อิสลามนิกายชีอะห์ในอิหร่านเริ่มแสดงทีท่าอยากเข้ามามีบทบาทในแถบเมดิเตอร์เรเนียนซึ่งเป็นถิ่นของ นิกายสุหนี่มากขึ้นเรื่อยๆ • กลุ่มสุหนี่ในอิรักและซีเรียนั้นไม่มีทั้งกาลังอาวุธและเงินทุน ในขณะเดียวกัน เป็นที่สันนิษฐานกันว่า กลุ่มไอเอสได้รับการหนุนหลังทางอ้อมอย่างลับ ๆ จากกาตาร์ ตุรกี และซาอุดิอาระเบียซึ่งมาในรูปแบบ ของนโยบายที่หละหลวมปล่อยให้อาวุธและเงิน ทุนเคลื่อนผ่านชายแดนและไหลเข้าสู่มือของกลุ่มไอเอส เพราะต้องการสกัดกั้นอิทธิพลของนิกายชีอะห์
  • 70. ประเทศที่สันนิษฐานว่าสนับสนุนกลุ่มไอเอส (ต่อ) •ถึงแม้ประเทศเหล่านี้ไม่เห็นด้วยกับการกระทาที่โหดร้ายทารุณ ของกลุ่มไอเอส แต่ อุดมการณ์หลักคือต้องการกาจัดการครอบงาจากกลุ่มชิอะห์ของอิหร่าน กลุ่มไอเอสจึงเป็น เสมือนหัวหอกของกลุ่มผู้สนับสนุนนิกายสุหนี่ไปโดยปริยาย โดยที่ก็ไม่มีใครออกมายอมรับ ว่าแอบให้การช่วยเหลือกลุ่มไอเอสอยู่อย่างลับ ๆ •กลุ่มไอเอสมีรายได้จากส่งออกน้ามันให้กับประเทศต่าง ๆ รวมทั้งกลุ่มพ่อค้าคนกลางชาว เคิร์ดในตุรกี ในขณะเดียวกันเชื่อว่าซีเรียก็แอบขายอาวุธให้กับกลุ่มไอเอส
  • 71. ประเทศที่สันนิษฐานว่าสนับสนุนกลุ่มไอเอส สหรัฐอเมริกาใช่หรือไม่ ? • สหรัฐอเมริกาแสดงจุดยืนชัดเจนว่า พร้อมทาทุกวิถีทางเพื่อโค่นล้มประธานาธิบดีอัสซาดในซีเรีย เพราะ ถือว่าเป็นฝ่ายตรงข้ามที่ใกล้ชิดกับรัฐบาลปูติน แห่งรัสเซีย และถือเป็น “หนามยอกอก” ที่คอยขัดขวาง การดาเนินนโยบายต่างประเทศของสหรัฐฯในภูมิภาคตะวันออกกลางมาตลอด • อเมริกา เป็นตัวตั้งตัวตีในการสนับสนุนพวกนักรบหัวรุนแรง ทั้งทางการเงินและอาวุธ เพื่อหวังให้พวก นักรบนี้โค่นล้ม อัสซาด แห่งซีเรีย ซึ่งเป็นผู้นาที่มีรัสเซียและอิหร่านคอยค้าจุน หรือจะพูดอีกนัยหนึ่งได้ ว่า อัสซาด แห่งซีเรีย ถือเป็นผู้นาที่อเมริกา “ไม่ชอบขี้หน้า • โอบามา ออกมาประกาศ จะให้การสนับสนุนทั้งด้านการเงิน และอาวุธยุทโธปกรณ์ ต่อฝ่ายกบฏในซีเรีย เพื่อใช้ในการทาสงครามกลางเมือง โค่นล้มรัฐบาลอัสซาด สหรัฐฯ จึงได้หนุน กลุ่มสภาสูงสุดทางทหาร (SMC) โดยทั่วไปแล้วมักจะเรียกว่าเป็น FSA หรือกองทัพปลดแอกซีเรีย ถึงแม้ว่าภายใต้ชื่อนี้ จะมีขั้วที่เป็นปรปักษ์ร่วมอยู่ก็ตาม
  • 72. •อเมริกา ต้องการสร้างความแตกแยกในอิรัก จึงให้การสนับสนุนทางการเงิน อาวุธ การฝึกฝนยุทธวิธี การก่อการร้าย แบบ “ไม่ดูตาม้าตาเรือ” • ให้แม้แต่ชุดพรางทหารอเมริกา ต่อฝ่ายกบฏในซีเรีย แต่แล้ว กลุ่มหัวรุนแรง IS กลับสามารถขยายอานาจและอิทธิพลของตนได้อย่างกว้างขวางในเวลาที่รวดเร็ว ประเทศที่สันนิษฐานว่าสนับสนุนกลุ่มไอเอส
  • 73. กลุ่มไอเอสมีเป้าหมายโจมตีชาติในภูมิภาคอาเซียน • ผลการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญด้านการระหว่างประเทศศึกษาของสถาบันเอส ราชารัตนามแห่งสิงคโปร์ ระบุว่า กลุ่มไอเอสได้กาหนดให้ประเทศในภูมิภาคอาเซียนเป็นเป้าหมายในการโจมตีของกลุ่มไอเอส โดยจะเห็นได้จากกรณีที่ทางการสิงคโปร์เพิ่งจะจับกุม 2 วัยรุ่น ในข้อหาที่เชื่อมโยงกับการก่อการร้าย • จัสมินเดอร์ ซิงห์ นักวิเคราะห์ผู้เขียนรายงานฉบับดังกล่าว ระบุว่า ขณะที่เครือข่ายกลุ่มนักรบไอเอส ใน อาเซียนที่เรียกว่ากลุ่ม คาติบาห์ นูซันตาร่า ซึ่งเป็นเครือข่ายก่อการร้าย ไอเอสบนคาบสมุทรมลายู เริ่ม เป็นที่รู้จักมากขึ้น แต่กลยุทธ์หลักของไอเอสที่มุ่งดึงให้ประชากรโลกเข้าร่วมเป็นนักรบ หรือจีฮัด กับไอ เอสมากขึ้นกลับไม่เป็นที่สังเกตเห็นมากนัก
  • 74. กลุ่มไอเอสมีเป้าหมายโจมตีชาติในภูมิภาคอาเซียน (ต่อ) • เดิมเชื่อว่ากลุ่มคาติบาห์ นูซันตารามีเป้าหมายเพื่อจัดส่งกาลังคนและอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ที่ ต้องการร่วมรบกับกลุ่มไอเอสในอิรักและซีเรีย แต่จากข้อมูลล่าสุดพบว่าได้ทาหน้าที่เผยแพร่หลักการ ความเชื่อเพื่อดึงคนให้เข้าร่วมเป็นนักรบจีฮัดสงครามเพื่อศาสนามากขึ้น ส่งผลให้ความเคลื่อนไหว ดังกล่าวกลายเป็นภัยคุกคามความมั่นคงในอาเซียนโดยเฉพาะในหมู่เกาะมาเลย์ เช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ เพราะนักรบเหล่านี้จะทาทุกทางเพื่อปกป้องหลักการปกครองแบบ คอลีฟะห์คือการวางแผนก่อการร้ายภายในประเทศของตนเอง • การดาเนินการจับกุมผู้ที่มีความเชื่อมโยงกับกลุ่มไอเอส และมีแผนก่อการร้ายทั้งในมาเลเซียและ อินโดนีเซีย ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา ถือเป็นหลักฐานยืนยันที่ดีที่สุด สรุปว่าภูมิภาคอาเซียนกาลังตก เป็นเป้าโจมตีที่รัฐบาลและสังคมอาเซียนควรร่วมมือหาทางจัดการอย่างจริงจังภายใต้การสนับสนุนจาก ประชาคมโลก
  • 75. #1 We Interrupt this Lesson….. #1
  • 76. ISIS is a shorthand name for the Islamic State in Iraq and Syria, and it has made news in the past few months…. ….for its dramatic military conquest of Iraqi territory ….its ruthless treatment of Iraqi minorities such as the Yazidis, ….and a string of videotaped beheadings of Western hostages What is ISIS? What do you know about ISIS?
  • 77. • The situation in Iraq and Syria is complex, to say the least. • It presents a continuing humanitarian crisis, with millions of people fleeing for their lives, and hundreds of thousands being killed.
  • 78. • It presents a threat to Middle East stability, with ISIS promising to create an Islamic caliphate, or state, erasing modern borders and imposing its own version of fundamentalist law. • Furthermore, ISIS presents an unknown threat to the larger world with the militant group beheading international hostages and recruiting jihadists from across the globe. • http://www.bbc.com/news/world-middle-east- 27905425
  • 79. 1. ISIS used to be called al-Qaeda in Iraq • It's essentially a rebooted version of al-Qaeda in Iraq, the Islamist group that rose to power after the American invasion. • US troops and allied Sunni militias defeated AQI during the post-2006 "surge," but it didn't demolish them. • In 2011, the group rebooted. ISIS successfully freed a number of prisoners held by the Iraqi government and, slowly but surely, began rebuilding their strength. • The chaos today is a direct result of the Iraqi government's failure to stop them. (8) facts that explain the escalating crisis in Iraq Updated by Zack Beauchamp on June 13, 2014, 9:49 a.m. ET
  • 80. • Their goal since being founded in 2004 has been remarkably consistent: found a Sunni Islamic state. • "They want complete failure of the government in Iraq. They want to establish a caliphate in Iraq." • Even after ISIS split with al-Qaeda in February 2014 (in large part because ISIS was too brutal even for al-Qaeda), ISIS' goal remained the same. • http://www.wsj.com/video/iraq-isis-sparks-a-middle-east-crisis- explained/74607CBE-0725-4C02-A289-ABA34FEAB516.html 2. ISIS wants to create an Islamic state in Iraq and Syria Syria Iraq Area controlled by ISIS
  • 81. • Perhaps the single most important factor in ISIS' recent resurgence is the conflict between Iraqi Shias and Iraqi Sunnis • These are the two major denominations of ISLAM  ISIS fighters are Sunnis, and the tension between the two groups is a powerful recruiting tool for ISIS. Shias run the govt and Sunnis don’t feel they are fairly represented and have been treated poorly 3. ISIS thrives on tension between Iraq's two largest religious groups http://www.bbc.com/news/magazin e-27945271
  • 82. • Police have killed peaceful Sunni protestors and used anti- terrorism laws to mass-arrest Sunni civilians. • ISIS cannily exploited that brutality to recruit new fighters. 4. The Iraqi government has made this tension worse by persecuting Sunnis and through other missteps 5. ISIS raises money like a government  In Syria, they've built up something like a mini-state: collecting the equivalent of taxes and selling electricity to fund its militant activities.  Some reports suggest they've restarted oil fields in eastern Syria.
  • 83. • Kurds are mostly Sunnis, but they're ethnically distinct from Iraqi Arabs. • There's somewhere between 80,000 and 240,000 Kurdish peshmerga (militias) • They're well equipped and trained, and represent a serious military threat to ISIS. • They have started to fight back as ISIS has attacked them 6. Iraq has another major ethno-religious group, the Kurds, who could matter in this fight
  • 84. • Mosul is the second-largest city in Iraq • It’s fairly close to major oilfields. • It’s close to the Mosul Dam which is important in the country’s water supply 7. Mosul, the big city ISIS recently conquered, is really important — and ISIS has spread out from there http://www.bbc.com/news/uk-28892365
  • 85. 8. The Iraqi Army is much larger than ISIS, but also a total mess  ISIS has a bit more than 7,000 combat troops  The Iraqi army has 250,000 troops, plus armed police.  That Iraqi military also has tanks, airplanes, and helicopters.  But the Iraqi army is also a total mess, which explains why ISIS has had the success it's had despite being outnumbered.  Take ISIS' victory in Mosul: 30,000 Iraqi troops ran from 800 ISIS fighters -------- Those are 40:1 odds! Yet Iraqi troops ran because they simply didn't want to fight and die for this government. There had been hundreds of desertions per month for months prior to the events of June 10th. The escalation with ISIS is, of course, making it worse.  http://www.bbc.com/news/uk-28892365
  • 86. •ตั้งแต่มิถุนายน กลุ่มติดอาวุธกลุ่มหนึ่งนามว่า ISIS ได้สร้างความตื่นตะลึงให้คน ทั้งโลก โดยเข้ายึดครองเมืองต่างๆในภาคเหนือของอิรักอย่างสายฟ้าแลบ •เริ่มจากเมืองซามาร์รา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน เมืองโมซุลในคืนวันที่ 9 มิถุนายน และ เมืองไทกริตบ้านเกิดของอดีตประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซ็นเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน •เหตุการณ์ยิ่งเลวร้ายขึ้นและรัฐบาลอิรักกาลังเสียเมืองต่างๆให้แก่ กลุ่มกบฏ ISIS อย่างไม่อาจต้านทาน
  • 87. •ISIS หรือ ISIL หรือ "The Islamic State in Iraq and al- Sham" แปลว่า "รัฐอิสลามในอิรักและอัล-ชาม (ซีเรีย) •ISIL จะย่อมาจาก "The Islamic State in Iraq and Levant" แปลว่า "รัฐอิสลามในอิรักและเลแวนท์" ซึ่งเลแวนท์ หมายถึงซีเรีย •เป็นกลุ่มติดอาวุธ ที่ประกาศจัดตั้งรัฐที่ยังไม่มีใครรับรอง โดยรวมดินแดนบางส่วนในอิรักและ ซีเรีย เป้าหมายสูงสุดคือ การจัดตั้งรัฐอิสลาม โดยรวมดินแดนในเลแวนท์ ซึ่งนอกจากซีเรีย แล้ว ยังรวมถึงเลบานอน อิสราเอล ปาเลสไตน์ จอร์แดน ไซปรัส และภาคใต้ของตุรกีไว้ ด้วยกัน กลุ่ม ISIS คือใคร มีเป้าหมายอะไร เกี่ยวข้องกับอัลกออิดะฮ์หรือไม่
  • 88. • จากการที่สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรทาสงครามในอิรักเมื่อปี ค.ศ.2003 เป็นการจุดเชื้อของความรุนแรงและการก่อการ ร้ายในอิรัก • ต้นปีค.ศ. 2004 ได้ลุกลามไปทั่วภูมิภาคตะวันออกกลาง • ในกลุ่มติดอาวุธ กลุ่มหนึ่งได้ก่อตั้งขึ้นชื่อว่า "ญามาอัต อัต-เตาฮีด อัล-ญิฮาด" หรือ "องค์กรแห่งเอกภาพในการศรัทธา และการญิฮาด" (The Organization of Monotheism and Jihad- JTJ) มี ผู้นาคือนายอบู มูซ๊าบ อัล-ซอรฺกอวี ชาวจอร์แดน • ในเดือนตุลาคมปี 2004 นายซอรฺกอวีได้ประกาศความจงรักภักดี (บัยอะ) ต่อนายอุซมา บินลาดิน ผู้นาองค์กรอัล-กออี ดะ นายซอรฺกอวีจึงเปลี่ยนชื่อกลุ่มเป็น "ตันซิม กออีดะ อัล-ญิฮาด ฟี บีลาด อัล-รอฟีดาน หรือ "องค์กรแห่งการญิฮาด ซึ่งมีฐานในประเทศแห่งสองแม่น้า" (The Organization of Jihad's Base in the Country of the Two Rivers- TQJBR) แม้การยอมรับต่อองค์กรอัล-กออีดะ จะทาให้กลุ่ม นี้ได้รับการขนานนามว่า กลุ่มอัล-กออีดะฮ์แห่งอิรัก (Al-Qaeda in Iraq- AQI) แต่กลุ่มนี้ก็ไม่เคยใช้ ชื่อดังกล่าวแทนชื่อกลุ่มนอกจากชื่อที่ประกาศใช้เป็น ทางการ[2] การก่อตั้ง
  • 89. • ในเดือนมกราคมปีค.ศ. 2006 กลุ่มดังกล่าวได้เข้ารวมกับกลุ่มติดอาวุธอีกหลายกลุ่มในอิรักภายใต้องค์กร ที่มีชื่อว่า "สภาที่ปรึกษามูญาฮีดีน (The Mujahijdeen Shura Council) และในเดือนมิถุนายนปี เดียวกันนี้เอง กองกาลังของสหรัฐฯได้ ลอบสังหารนายซอรฺกอวี • ต่อมาวันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 2006 ทางกลุ่มได้เปลี่ยนชื่อเป็น "เดาลัต อัล-อิรัก อัล-อิสลามียะ" หรือ "กลุ่มรัฐอิสลาม แห่งอิรัก" (Islamic State of Iraq- ISI) ภายใต้การนาขอนายอบู อับดุลเลาะห์ อัล-รอชิด อัล-บักดา ดี (Abu Abdullah al-Rashid al-Baghdadi) โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจนคือ การ ปลดปล่อยดินแดนของชาวมุสลิมนิกายซุนนีจากการกดขี่ และยึดครองของกลุ่มชีอะฮ์และต่างชาติ กลุ่ม ISI ในอิรักมี แกนนาระดับสูงอีกคนที่เป็นชาวอียิปต์คือนาย อบู อัยยุบ อัล-มาสรี (Abu Ayyub al-Masri) ซึ่งต่อมา แกนนาทั้งสองก็ถูกสังหารในปฏิบัติการทางการทหารของสหรัฐฯและอิรัก เมื่อเดือนเมษายน ปีค.ศ. 2010 นายอบูบักรฺ อัล-บักดาดี จึงขึ้นเป็นผู้นาจนถึงปัจจุบัน การก่อตั้ง
  • 90. • ในเดือนตุลาคมปี 2004 นายซอรฺกอวีได้ประกาศความจงรักภักดี (บัยอะ) ต่อนายอุซมา บินลาดิน ผู้นาองค์กรอัล-กออี ดะ นายซอรฺกอวีจึงเปลี่ยนชื่อกลุ่มเป็น "ตันซิม กออีดะ อัล-ญิฮาด ฟี บีลาด อัล-รอฟีดาน หรือ "องค์กรแห่งการญิฮาด ซึ่งมีฐานในประเทศแห่งสองแม่น้า" (The Organization of Jihad's Base in the Country of the Two Rivers- TQJBR) • การยอมรับต่อองค์กรอัล-กออีดะ ทาให้กลุ่มนี้ได้รับการขนานนามว่า กลุ่มอัล-กออีดะฮ์แห่งอิรัก (Al-Qaeda in Iraq- AQI) • มกราคมปีค.ศ. 2006 ได้เข้ารวมกับกลุ่มติดอาวุธอีกหลายกลุ่มในอิรักภายใต้องค์กร ที่มีชื่อว่า "สภาที่ปรึกษามูญาฮีดีน (The Mujahijdeen Shura Council) และในเดือนมิถุนายนปีเดียวกันนี้เอง กองกาลังของ สหรัฐฯได้ ลอบสังหารนายซอรฺกอวี การก่อตั้ง
  • 91. • วันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 2006 ทางกลุ่มได้เปลี่ยนชื่อเป็น "เดาลัต อัล-อิรัก อัล-อิสลามียะ" หรือ "กลุ่มรัฐอิสลามแห่งอิรัก" (Islamic State of Iraq- ISI) ภายใต้การนาขอนายอบู อับดุลเลาะห์ อัล-รอชิด อัล-บักดาดี (Abu Abdullah al-Rashid al-Baghdadi) โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจนคือ การ ปลดปล่อยดินแดนของชาวมุสลิมนิกายซุนนีจากการกดขี่ และยึดครองของกลุ่มชีอะฮ์และต่างชาติ กลุ่ม ISI ในอิรักมี แกนนาระดับสูงอีกคนที่เป็นชาวอียิปต์คือนาย อบู อัยยุบ อัล-มาสรี (Abu Ayyub al-Masri) ซึ่งต่อมา แกนนาทั้งสองก็ถูกสังหารในปฏิบัติการทางการทหารของสหรัฐฯและอิรัก เมื่อเดือนเมษายน ปีค.ศ. 2010 นายอบูบักรฺ อัล-บักดาดี จึงขึ้นเป็นผู้นาจนถึงปัจจุบัน การก่อตั้ง
  • 92. • ชาวเคิร์ดรวมตัวชุมนุมในตุรกี ต่อต้านรัฐบาลตุรกีที่ให้ การสนับสนุนกลุ่มไอเอส • การรวมตัวของพรรคแรงงานเคอร์ดิสถาน หรือ PKK เป็นพรรคชาวเคิร์ดที่ใหญ่ที่สุดของตุรกี และถูกจัดให้ เป็นพรรคก่อการร้าย ออกมาเรียกร้องให้รัฐบาลตุรกีส่ง กาลังหนุนมาร่วมสู้รบกับกลุ่มรัฐอิสลาม หรือกลุ่มไอเอส ที่มีเป้าหมายในการฆ่าล้างเผ้าพันธ์ชาวเคิร์ด ซึ่งได้รับ ความเดือดร้อนจากการคุกคามในเมือง โคบานี บริเวณชายแดนซีเรีย-ตุรกี
  • 93. • มีประเทศตะวันตกส่งอาวุธและกาลังมาร่วมกับกลุ่ม เคิร์ด • กลุ่มนักรบชาวเคิร์ดได้ปะทะกับกลุ่มไอสเอสอย่างดุเดือด แต่กลุ่มเคิร์ดน่าจะเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ และกลุ่มไอเอสสามา รถยึดครองเมือง โคบานีได้ในไม่ช้า • รัฐมนตรีมหาดไทย ประนามผู้ประท้วงชาวเคิร์ดว่าทรยศ ต่อประเทศ ได้ประกาศห้ามนอกนอกเคหสถานในตอน กลางคืน
  • 94. • โทนี แอบบอตท์ ต้องการยุติลัทธิแห่งความตายที่ ประกาศสงครามกับชาวโลก • ทางการออสเตรเลียเชื่อว่ามีชาวออสเตรเลียเป็น จานวนมากที่เดินทาง ไปร่วมกับกลุ่มติดอาวุธไอ เอสในตะวันออกกลาง อย่างน้อย 160 คน และ บางส่วนเดินทางกลับมาและยังคงแฝงตัวอยู่ใน ออสเตรเลีย • การกวาดล้างกลุ่มก่อการร้ายครั้งใหญ่ในนคร ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย เข้าตรวจค้น ครอบครัวและชุมชนของชาวมุสลิม ออสเตรเลียส่งกองกาลังทางอากาศร่วมปราบปรามกลุ่มรัฐอิสลาม ไอเอส ร่วมกับชาติพันธมิตรที่นาโดยสหรัฐอเมริกา
  • 95. •ประธานาธิบดีฝรั่งเศส รับข้อเรียกร้องจากอิรักที่ต้องการให้ฝรั่งเศส ส่งกองกาลังปฏิบัติการสนับสนุนทหารอิรักในการต่อสู้กับกลุ่มรัฐอิสลาม •ฝรั่งเศสจะสนุบสนุนกองกาลังทางอากาศเท่านั้น และจะไม่เข้าไปปฏิบัติการโจมตีกลุ่มไอเอสใน ซีเรีย ซึ่งเป็นฐานที่มั่นของกลุ่มดังกล่าว •ฝรั่งเศสจ่ายเงินค่าไถ่ให้กับกลุ่มไอเอสเพื่อแลกกับอิสรภาพของตัวประกันชาวฝรั่งเศส ทาให้ ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการสนับสนุนกลุ่มก่อการร้าย เพราะไอเอสจะนาเงินที่ได้ไปใช้ในการ ซื้ออาวุธ และอาจใช้ในการวางแผนก่อเหตุครั้งต่อไป บทบาทประเทศฝรั่งเศส นาย ฟร็องซัว ออล็องด์ ประธานาธิบดีฝรั่งเศส
  • 96. • ไอเอสไม่เพียงแต่เป็นกลุ่มก่อการร้าย แต่ผู้ค้าน้ามันรายใหญ่ • กลุ่มไอเอสยึดเมืองใหญ่ที่มีความสาคัญทางด้านเศรษฐกิจของ อิรักและซีเรียในหลายพื้นที่ จึงกลายเป็นผู้ครอบครองบ่อน้ามัน 11 แห่งในทั้งสองประเทศ • แหล่งน้ามันที่มากที่สุดทางภาคเหนืออิรัก และตะวันออกของ ซีเรีย ไม่รวมแหล่งขุดเจาะน้ามัน 7 แห่ง โรงกลั่นน้ามัน อีก 2 แห่ง และการควบคุมบริการงานของกลุ่ม ด้วยการผลิต น้ามันดิบ • นาเงินมาใช้ในการเคลื่อนไหวของกลุ่ม น้ามันคือทรัพยากรสาคัญที่ทารายได้ให้แก่กลุ่มไอเอสมหาศาล
  • 97. • ไอเอสเข้ายึดเมืองใด จะปล้นธนาคารและก่ออาชญากรรมหลายรูปแบบ เช่น การกรรโชกทรัพย์ลักพาตัวประกันเพื่อเรียกค่าไถ่ • นักข่าวชาวฝรั่งเศส และสเปนถูกจับตัวเรียกค่าไถ่ ซึ่งรัฐบาลสองประเทศ ต้องจ่ายค่าไถ่ตัวประกันหลายล้าน • มีการจี้ปล้นทั่วๆไป มีการลักลอบนาวัตถุโบราณของอิรักส่งขายให้ตุรกี ทา เงินให้กลุ่มหลายร้อยล้านดอลลาร์ • รายได้อีกทางหนึ่งมาจากการค้าผู้หญิงและเด็กส่วนใหญ่คือผู้หญิงในอิรัก ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยยาซิดี ไอเอสมองว่าเป็นกลุ่มคนนอกรีต ถูกบังคับให้ นับถือศาสนาอิสลามและจับแต่งงานกับนักรบไอเอส บ้างก็ถูกจับไปขายใน เมืองอาเลปโป เมืองรักกา และเมือง อัล-อัคซาคาห์ ซึ่งกลุ่มไอเอสจะได้รับ ค่าตอบแทนประมาณราวๆครั้งละ 32,000 บาท
  • 98. • การก่อการร้ายในยุโรปเกิดขึ้นบ่อยครั้ง จากกลุ่มมุสลิมยุโรป • พบการเดินทางเข้าออกของพลเมืองชาว ยุโรปที่เข้าร่วมการสู้รบใน ซีเรีย ลิเบีย เพิ่มมากขึ้น • เป็นความเชื่อมโยงกันของการก่อการร้าย ระหว่างประเทศที่ปฏิบัติการกระจาย ออกไปยังที่ต่างๆ • รัฐบาลของสหภาพยุโรปเห็นชอบร่วมกัน ต่อต้านการก่อ การร้าย เพื่อให้เกิด แผนปฏิบัติการอย่างเป็นรูปธรรม
  • 99. • กองทัพสหรัฐฯส่งเฮลิคอปเตอร์โจมตีอาปาเชเข้าถล่มฐานที่มั่นของ กลุ่มติดอาวุธ รัฐอิสลาม (ไอเอส) ในอิรักใกล้กับเมืองฟัลลูจาห์เป็น เป้าหมายหลัก • เป็นครั้งแรกที่มีการนาอากาศยานแบบนี้เข้าร่วมสนับสนุนกองกาลัง ความมั่นคงอิรัก (ไอเอสเอฟ) การตัดสินใจของกองทัพสหรัฐครั้งนี้ ยิ่งทาให้ทหารอเมริกันในอิรักต้องเสี่ยงอันตรายมากขึ้น • เครื่องบินขับไล่โจมตีบินในระดับความสูง 30,000 ฟุตปลอดภัยจาก อาวุธทุกชนิดที่กลุ่มไอเอสมีอยู่ แต่เฮลิคอปเตอร์ไม่ใช่เมื่อนา เฮลิคอปเตอร์บินสูงจากพื้นดินราวๆ 50 เมตร จะถูกยิงด้วยจรวด อาร์พีจี หรือจรวดต่อสู้อากาศยาน กองทัพสหรัฐฯ
  • 100. • ประกอบด้วยอาวุธชั้นดีและผ่านการฝึกอบรมจากสหรัฐฯตลอดจนมหาอานาจ อื่นๆ กลับมีอันต้องพังทลายแยกสลายลง อย่างรวดเร็ว เมื่อเผชิญกับกองกาลังซึ่งมีขนาดเล็กกว่าและประกอบอาวุธอ่อนด้อยกว่า แถมนาโดยบุคคลากรผู้ซึ่งแทบ ไม่มีประสบการณ์ทางทหารเลยจวบจนกระทั่งพวกเขา เข้าสู่การสู้รบครั้งต่างๆ ในอิรักและซีเรีย เงามืดมนของความสงสัย ข้องใจจึงกาลังทอดไปยังกองทัพอื่นๆ ในภูมิภาคแถบนี้ ว่าพวกเขาจะสามารถพึ่งพาอาศัยได้มากน้อยแค่ไหน โดยที่ กองทัพซาอุดีอาระเบียคือกองกาลังอาวุธซึ่งถูกตั้งคาถามมากกว่าเพื่อน การดาเนินภารกิจฝึกอบรมต่างๆ สามารถทาให้ เหล่าทหารยิงปืนยิงอาวุธได้แม่นยาและเดินสวนสนามได้อย่างพร้อม เพรียงกระฉับกระเฉง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่ออยู่ต่อ หน้าพวกนักการเมืองและกล้องโทรทัศน์ ทว่าการฝึกอบรมนั้นไม่สามารถรับประกันได้ว่าทหารเหล่านี้จะมีการรวมตัวเกาะ เกี่ยวกันอย่างเหนียวแน่น หรือป้องกันไม่ให้เกิดการแตกทัพแยกสลายได้ กองทัพทรงประสิทธิภาพทั้งหลายจึงต้องอาศัย พวกระบบทางสังคมต่างๆ มากมายยิ่งกว่าบรรดาโปรแกรมฝึกอบรมนัก กองกาลังติดอาวุธในอิรัก
  • 101. • ในอิรักเวลานี้ มีกลุ่มติดอาวุธอยู่ 4 กลุ่มที่กาลังปฏิบัติการอยู่ กลุ่มเหล่านี้มีโครงสร้างและประสิทธิภาพซึ่งแตกต่างกัน มาก กลุ่มแรก คือ กองทัพแห่งชาติของอิรัก ซึ่งได้รับการจัดตั้งในลักษณะเป็นกองทัพประจาการสมัยใหม่ กลุ่มถัดมา ได้แก่ ISIS [1] ที่มีลักษณะเป็นกลุ่มนักรบผู้ศรัทธาเชื่อมั่นในลัทธิศาสนา และชวนให้หวนระลึกไปถึงคณะนิกายมุ่งสู้ รบเพื่ออุดมการณ์ทางศาสนาแห่งยุคอดีต อันไกลโพ้น สาหรับกลุ่มที่ 3 คือกองกาลังชาวเคิร์ด ผู้ซึ่งมีฐานะอยู่ตรงกลางๆ อย่างไม่ค่อยเต็มอกเต็มใจนัก ระหว่างการเป็นกองกาลังจรยุทธ์ กับ การเป็นกองทัพแบบแผน และกลุ่มสุดท้ายได้แก่ กองกาลังชาวสุหนี่ ที่เป็นกองกาลังกบฎมุ่งก่อความไม่สงบ ซึ่งได้รับความสนับสนุนอย่างแข็งแรงจากกลุ่มประชากรของ พวกตน การปะทะกันของกองกาลังอาวุธ 4 กลุ่มเหล่านี้ คือปัจจัยที่ชี้ขาดว่าอนาคตของอิรักจะเป็นอย่างไรต่อไป รวมทั้ง อนาคตของเขตพรมแดนต่างๆ ของภูมิภาคแถบนี้ด้วย กองกาลังติดอาวุธในอิรัก