SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
เรื่องเสร็จที่ ๓๒๕/๒๕๕๕

                               บันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
                  เรื่อง การออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขเพื่อควบคุมวัตถุออกฤทธิ์
                         (ซูโดอีเฟดรีน)∗


                       สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้มีหนังสือ ด่วนมาก ที่ สธ ๑๐๐๓.๕/๗๕๒๒
ลงวั น ที่ ๒๙ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๔ ถึ ง สํ า นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก า สรุ ป ความได้ ว่ า ปั จ จุ บั น
สถานการณ์ ปัญ หาการลัก ลอบนํา ยาแก้ ห วัด ที่มี ส่ว นผสมของวั ตถุ ท่ีอ อกฤทธิ์ต่ อจิ ต และประสาท
ในประเภท ๒ (ซูโดอีเฟดรีน) ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์โดยนํายาแก้หวัดดังกล่าวไปสกัดซูโดอีเฟดรีน
เพื่ อ นํ า ไปใช้ เ ป็ น สารตั้ ง ต้ น ในการผลิ ต Methamphetamine (ICE) ซึ่ ง เป็ น ยาเสพติ ด ให้ โ ทษ
ในประเภท ๑ ได้ ทวี ความรุนแรงขึ้น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาร่ วมกั บหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องได้ดําเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยคณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ในการประชุมครั้งที่ ๒๙๐-๑/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๔ ได้พิจารณาร่างประกาศกระทรวง
สาธารณสุขเพื่อปรับการควบคุมซูโดอีเฟดรีน และมีมติให้ความเห็นชอบกับร่างประกาศฯ โดยยังคง
กําหนดในบัญชีแนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข ลําดับที่ ๓๙ ระบุให้ซูโดอีเฟดรีน เป็นวัตถุที่
ออกฤทธิ์ประเภท ๒ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ระบุชื่อและ
จั ด แบ่ ง ประเภทวั ต ถุ อ อกฤทธิ์ ตามความในพระราชบั ญ ญั ติ วั ต ถุ ที่ อ อกฤทธิ์ ต่ อ จิ ต และประสาท
พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข
(ฉบับที่ ๑๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๔ เรื่อง ระบุชื่อและจัดแบ่งประเภทวัตถุออกฤทธิ์ (เพิ่มเติม) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔
แต่แก้ไขในส่วนเงื่อนไขเฉพาะจากเดิมที่กําหนดไว้ว่า “เว้นแต่ซูโดอีเฟดรีน (pseudoephedrine)
ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นผสมในตํ า รั บ ยาสู ต รผสม (combined drug) ตามพระราชบั ญ ญั ติ ย า พ.ศ. ๒๕๑๐
และซูโ ดอีเฟดรีน (pseudoephedrine) ซึ่งเป็ นส่ว นผสมในตํารับ ยาเสพติ ดให้โทษในประเภท ๓
ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒” เป็น
                       “(๑) เว้ น แต่ ซู โ ดอี เ ฟดรี น (pseudoephedrine) ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นผสมในตํ า รั บ ยา
สู ต รผสม (combined drug) ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยยา และซู โ ดอี เ ฟดรี น (pseudoephedrine)
ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นผสมในตํ า รั บ ยาเสพติ ด ให้ โ ทษประเภท ๓ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยยาเสพติ ด ให้ โ ทษ
ซึ่งผู้ครอบครองมีเจตนาใช้เป็นยาเพื่อบําบัด บรรเทา รักษาโรค หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วย




                  ∗
                   ส่ ง พร้ อ มหนั ง สื อ ด่ ว นมาก ที่ นร ๐๙๐๑/๐๕๑๖ ลงวั น ที่ ๒๘ มี น าคม ๒๕๕๕
ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีถึงสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
๒

                  (๒) การนําผ่านและการส่งออกตํารับยาสูตรผสม (combined drug) ซึ่งมีซูโดอีเฟดรีน
(pseudoephedrine) เป็นส่วนผสมตาม (๑) ต้องดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อ
จิตและประสาทและกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ”
                  ต่ อ มา มี ก ารคั ด ค้ า นมติ ค ณะกรรมการฯ ว่ า การกํ า หนดเงื่ อ นไขเฉพาะตาม
ร่างประกาศฯ ดังกล่าวเป็นการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในการครอบครองยาที่มีส่วนผสม
ของซูโดอีเฟดรีน เนื่องจากเมื่อได้ยกเว้นตามเงื่อนไขเฉพาะตาม (๑) ทําให้ซูโดอีเฟดรีนในรูปของตํารับ
ยาสู ต รผสมดั ง กล่ า วไม่ เ ป็ น วั ต ถุ อ อกฤทธิ์ แ ล้ ว แต่ (๒) กลั บ กํ า หนดให้ ไ ม่ ร วมถึ ง การนํ า ผ่ า นและ
การส่งออก โดยกําหนดให้ต้องดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทและ
กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ มีผลให้การครอบครองซูโดอีเฟดรีนตาม (๑) กลับเป็นวัตถุออกฤทธิ์
ซึ่งจะทําให้ผู้ครอบครองซูโดอีเฟดรีนที่มีเจตนาเพื่อใช้เป็นยาเพื่อบําบัด บรรเทา รักษาโรคหรือป้องกัน
โรคหรือความเจ็บป่วย และจะนํายาที่มีส่วนผสมของซูโดอีเฟดรีนติดตัวนําผ่านไปยังต่างประเทศ
ต้องดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทและกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด
ให้โทษ จึงเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ในการประชุมครั้งที่ ๒๙๑-๒/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๔ จึงมีมติให้ฝ่ายเลขานุการฯ หารือ
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเกี่ยวกับการกําหนดเงื่อนไขเฉพาะสําหรับการกําหนดการควบคุม
ซูโดอีเฟดรีนในร่างประกาศฯ ดังกล่าว สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงขอหารือสํานักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกาว่าการกําหนดเงื่อนไขเฉพาะสําหรับการกําหนดการควบคุมซูโดอีเฟดรีน
(pseudoephedrine) ในร่ า งประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข เรื่ อ ง ระบุ ชื่ อ และจั ด แบ่ ง ประเภท
วัตถุออกฤทธิ์ (เพิ่มเติม) สามารถออกประกาศฯ โดยกําหนดเงื่อนไขเฉพาะในลักษณะนี้ได้หรือไม่
ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ หากออกประกาศในลักษณะนี้ไม่ได้จะต้องออกประกาศอย่างไร เพื่อให้
ไม่เกิดผลกระทบกับประชาชนส่วนรวมและเป็นการควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดได้

                คณะกรรมการกฤษฎี ก า (คณะที่ ๑๐) ได้ พิ จ ารณาข้ อ หารื อ ของสํ า นั ก งาน
คณะกรรมการอาหารและยา โดยมี ผู้ แ ทนกระทรวงสาธารณสุ ข (สํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงและ
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) เป็นผู้ชี้แจงข้อเท็จจริงแล้ว เห็นว่า การที่รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงสาธารณสุขใช้อานาจตามมาตรา ๖ (๑) และ (๗)๑ แห่งพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิต
                      ํ
และประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ระบุ
ชื่อและจัดแบ่งประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๓๙ กําหนดให้ซูโดอีเฟดรีนเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภท ๒
                    ๑
                 มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีมอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
                                         ี
                (๑) ระบุชื่อและจัดแบ่งประเภทวัตถุออกฤทธิ์ว่าวัตถุออกฤทธิ์ใดอยู่ในประเภท ๑ ประเภท ๒
ประเภท ๓ หรือประเภท ๔
                                    ฯลฯ                     ฯลฯ
                (๗) ระบุวัตถุตํารับให้เป็นวัตถุตํารับยกเว้น
                                    ฯลฯ                     ฯลฯ
๓

และกําหนดเงื่อนไขเฉพาะให้ยกเว้นซูโดอีเฟรดีนซึ่งเป็นส่วนผสมในตํารับยาสูตรผสมตามกฎหมาย
ว่าด้วยยา และซูโดอี เฟรดีนซึ่งเป็นส่วนผสมในตํารับยาเสพติ ดให้ โทษในประเภท ๓ นั้น แม้จะมี
ซูโดอีเฟดรีนซึ่งเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภท ๒ ผสมอยู่ ก็มีลักษณะที่ไม่อาจก่อให้เกิดมีการใช้ที่ผิดทาง
ไม่สามารถจะแยกสกัดเอาวัตถุออกฤทธิ์ท่ีมีอยู่ในตํารับนั้นกลับมาใช้ในปริมาณที่จะทําให้เกิดมีการใช้
ที่ผิดทาง และไม่ก่อให้เกิดอันตรายทางด้านสุขภาพและสังคมได้ ตามหลักเกณฑ์ของมาตรา ๖๑๒ (๒)
(๓) และ (๔) แห่งพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทฯ ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนสามารถ
เข้ า ถึ ง ยาแก้ ห วั ด ได้ ส ะดวก แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม มาตรา ๕๙ ๓ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า ว
ได้บัญญัติให้ถือว่าวัตถุตํารับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่งประเภทใดปรุงผสมอยู่เป็นวัตถุออกฤทธิ์
ในประเภทนั้นด้วย
                     เมื่ อ สถานการณ์ ใ นปั จ จุ บั น ปรากฏว่ า มี ก ารนํ า ยาแก้ ห วั ด ที่ มี ส่ ว นผสมของวั ต ถุ
ออกฤทธิ์ประเภท ๒ (ซูโดอีเฟดรีน) ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์โดยนําไปสกัดเอาซูโดอีเฟดรีนเพื่อนําไปใช้
เป็นสารตั้ งต้ น ในการผลิ ต Methamphetamine (ICE) อันเป็ นยาเสพติ ดให้โทษประเภท ๑ ชนิ ด
ร้ายแรง ได้ทวีความรุนแรงแพร่ระบาดกว้างขวางในหมู่ประชาชน ยากแก่การควบคุมยาเสพติดชนิดนี้ได้
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ระบุชื่อและจัดแบ่งประเภทวัตถุ
ออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบั ญ ญั ติ วัต ถุที่ อ อกฤทธิ์ ต่ อจิ ต และประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวัน ที่
๒๓ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๑๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๔
เรื่อง ระบุช่ือและจัดแบ่งประเภทวัตถุออกฤทธิ์ (เพิ่มเติม) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่
ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ ซึ่งกําหนดเงื่อนไขไว้ดังกล่าว
ข้ า งต้ น อั น เป็ น การประกาศวั ต ถุ ตํ า รั บ ยกเว้ น ตามมาตรา ๖๑ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ วั ต ถุ ที่
ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทฯ เมื่อเงื่อนไขมิได้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของมาตรา ๖๑ (๒) (๓) และ (๔)
แห่งพระราชบั ญญัติดังกล่าว รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุข จึงไม่อาจประกาศให้ตํารับยา
สูตรผสม (ยาแก้หวัด) ที่มีซโดอีเฟดรีนซึ่งเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภท ๒ ผสมอยู่ เป็นวัตถุตํารับยกเว้นได้
                               ู


                   ๒
                       มาตรา ๖๑ ในกรณีวัตถุตํารับใด
                       (๑) มี วั ต ถุ อ อกฤทธิ์ ใ นประเภท ๒ ประเภท ๓ หรื อ ประเภท ๔ อย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดหรื อ
หลายอย่างปรุงผสมอยู่
                       (๒) มีลักษณะที่ไม่อาจก่อให้เกิดมีการใช้ที่ผิดทาง
                       (๓) ไม่สามารถจะแยกสกัดเอาวัตถุออกฤทธิ์ที่มีอยู่ในวัตถุตํารับนั้นกลับมาใช้ในปริมาณที่จะ
ทําให้เกิดมีการใช้ที่ผิดทาง และ
                       (๔) ไม่ก่อให้เกิดอันตรายทางด้านสุขภาพและสังคมได้
                       รัฐมนตรีอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นวัตถุตํารับยกเว้นได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง
                       วัตถุตํารับยกเว้นที่ประกาศตามวรรคสอง รัฐมนตรีอาจประกาศเพิกถอนได้ เมื่อปรากฏว่า
วัตถุตํารับนั้นไม่ตรงตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง
                      ๓
                       มาตรา ๕๙ ให้ถือว่าวัตถุตํารับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่งประเภทใดปรุงผสมอยู่เป็นวัตถุ
ออกฤทธิ์ในประเภทนั้นด้วย
๔

                   ส่วนประเด็นที่หารือว่า จะแก้ไขเพิ่มเติมกําหนดเงื่อนไขเฉพาะสําหรับการควบคุม
ซูโดอีเฟดรี นในประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙)ฯ ซึ่งแก้ไขเพิ่ มเติ มโดย
ประกาศฯ ฉบั บ ที่ ๑๑๗ (พ.ศ. ๒๕๔๔)ฯ เกี่ ย วกั บการครอบครอง การนํา ผ่ าน และการส่ง ออก
จะกระทําได้หรือไม่ นั้น เมื่อวินิจฉัยแล้วว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขไม่อาจประกาศให้
ตํารับยาสูตรผสม (ยาแก้หวัด) ที่มีซูโดอีเฟดรีนซึ่งเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภท ๒ ผสมอยู่เป็นวัตถุตํารับ
ยกเว้นได้ จึงไม่ต้องวินิจฉัยประเด็นนี้ต่อไป


                                                         (นายอัชพร จารุจินดา)
                                                     เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา


สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
        มีนาคม ๒๕๕๕

More Related Content

What's hot

M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
Wichai Likitponrak
 

What's hot (12)

Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
News 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tabletsNews 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tablets
 
Newya
NewyaNewya
Newya
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
Guidance on Cannabis for Medical Use
Guidance on Cannabis for Medical UseGuidance on Cannabis for Medical Use
Guidance on Cannabis for Medical Use
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 

Viewers also liked

цель исследовательской работы1
цель исследовательской работы1цель исследовательской работы1
цель исследовательской работы1
Cadets Chuvashiya
 
Examen de computacion
Examen de computacionExamen de computacion
Examen de computacion
joanha
 
El nen musulmà
El nen musulmàEl nen musulmà
El nen musulmà
vn17
 
Деятельность
ДеятельностьДеятельность
Деятельность
rus0106
 
Samir Sinha: Canadian innovation in caring for older adults
Samir Sinha: Canadian innovation in caring for older adultsSamir Sinha: Canadian innovation in caring for older adults
Samir Sinha: Canadian innovation in caring for older adults
Nuffield Trust
 
Swimming pool shoot 3
Swimming pool shoot  3Swimming pool shoot  3
Swimming pool shoot 3
TaylerRebecca
 
Anababa el kitabi (şiddet)
Anababa el kitabi (şiddet)Anababa el kitabi (şiddet)
Anababa el kitabi (şiddet)
Cemal Gamar
 
Sudalgaa biglu(4)
Sudalgaa biglu(4)Sudalgaa biglu(4)
Sudalgaa biglu(4)
ODONGOO56
 
Muž a žena: Oheň a voda, nebo luk a tětiva
Muž a žena: Oheň a voda, nebo luk a tětiva Muž a žena: Oheň a voda, nebo luk a tětiva
Muž a žena: Oheň a voda, nebo luk a tětiva
Petr Leba
 

Viewers also liked (20)

E-publishing: an innovation show and tell: Matt Marsh
E-publishing: an innovation show and tell: Matt MarshE-publishing: an innovation show and tell: Matt Marsh
E-publishing: an innovation show and tell: Matt Marsh
 
цель исследовательской работы1
цель исследовательской работы1цель исследовательской работы1
цель исследовательской работы1
 
Examen de computacion
Examen de computacionExamen de computacion
Examen de computacion
 
Rwv
RwvRwv
Rwv
 
Mohamed Siddiq CV
Mohamed Siddiq CVMohamed Siddiq CV
Mohamed Siddiq CV
 
О.В.Сухорослов "Параллельное программирование"
О.В.Сухорослов "Параллельное программирование"О.В.Сухорослов "Параллельное программирование"
О.В.Сухорослов "Параллельное программирование"
 
Comarcas da provincia de pontevedra
Comarcas da provincia de pontevedraComarcas da provincia de pontevedra
Comarcas da provincia de pontevedra
 
El nen musulmà
El nen musulmàEl nen musulmà
El nen musulmà
 
Эквилон
ЭквилонЭквилон
Эквилон
 
Деятельность
ДеятельностьДеятельность
Деятельность
 
Samir Sinha: Canadian innovation in caring for older adults
Samir Sinha: Canadian innovation in caring for older adultsSamir Sinha: Canadian innovation in caring for older adults
Samir Sinha: Canadian innovation in caring for older adults
 
墨墨
 
Back To The Future
Back To The FutureBack To The Future
Back To The Future
 
Swimming pool shoot 3
Swimming pool shoot  3Swimming pool shoot  3
Swimming pool shoot 3
 
Anababa el kitabi (şiddet)
Anababa el kitabi (şiddet)Anababa el kitabi (şiddet)
Anababa el kitabi (şiddet)
 
Sudalgaa biglu(4)
Sudalgaa biglu(4)Sudalgaa biglu(4)
Sudalgaa biglu(4)
 
Muž a žena: Oheň a voda, nebo luk a tětiva
Muž a žena: Oheň a voda, nebo luk a tětiva Muž a žena: Oheň a voda, nebo luk a tětiva
Muž a žena: Oheň a voda, nebo luk a tětiva
 
finalreport
finalreportfinalreport
finalreport
 
Bab 6
Bab 6Bab 6
Bab 6
 
崇德歌 Xp2.1s
崇德歌 Xp2.1s崇德歌 Xp2.1s
崇德歌 Xp2.1s
 

Similar to ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine

เนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมายเนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมาย
Gawewat Dechaapinun
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvement
Surang Judistprasert
 
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
Surang Judistprasert
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
Utai Sukviwatsirikul
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
atit604
 
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้องระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
teeclub
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
teeclub
 

Similar to ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine (20)

สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
เนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมายเนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมาย
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvement
 
บท4กฎหมาย
บท4กฎหมายบท4กฎหมาย
บท4กฎหมาย
 
21 23 (1)
21 23 (1)21 23 (1)
21 23 (1)
 
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
 
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
 
Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014
 
Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014
 
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdfแผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
 
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้องระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
 
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวมRatchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
 

More from Surang Judistprasert

ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
Surang Judistprasert
 

More from Surang Judistprasert (16)

Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
 
7 qcdoe
7 qcdoe7 qcdoe
7 qcdoe
 
Quality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategyQuality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategy
 
Introduction to innovation management
Introduction to innovation managementIntroduction to innovation management
Introduction to innovation management
 
Culture of-quality
Culture of-qualityCulture of-quality
Culture of-quality
 
Import be 5 55
Import be 5 55Import be 5 55
Import be 5 55
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 
Soft gelatin capsule
Soft gelatin capsuleSoft gelatin capsule
Soft gelatin capsule
 
Ketoconazole and hepatotoxic
Ketoconazole and hepatotoxicKetoconazole and hepatotoxic
Ketoconazole and hepatotoxic
 
TQM & Pharma industry
TQM & Pharma industryTQM & Pharma industry
TQM & Pharma industry
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
 
IVIVC topical dosage form
IVIVC topical dosage formIVIVC topical dosage form
IVIVC topical dosage form
 
Bioequivalence in adv.
Bioequivalence in adv.Bioequivalence in adv.
Bioequivalence in adv.
 
Basic bioequivalence
Basic bioequivalenceBasic bioequivalence
Basic bioequivalence
 

ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine

  • 1. เรื่องเสร็จที่ ๓๒๕/๒๕๕๕ บันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง การออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขเพื่อควบคุมวัตถุออกฤทธิ์ (ซูโดอีเฟดรีน)∗ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้มีหนังสือ ด่วนมาก ที่ สธ ๑๐๐๓.๕/๗๕๒๒ ลงวั น ที่ ๒๙ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๔ ถึ ง สํ า นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก า สรุ ป ความได้ ว่ า ปั จ จุ บั น สถานการณ์ ปัญ หาการลัก ลอบนํา ยาแก้ ห วัด ที่มี ส่ว นผสมของวั ตถุ ท่ีอ อกฤทธิ์ต่ อจิ ต และประสาท ในประเภท ๒ (ซูโดอีเฟดรีน) ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์โดยนํายาแก้หวัดดังกล่าวไปสกัดซูโดอีเฟดรีน เพื่ อ นํ า ไปใช้ เ ป็ น สารตั้ ง ต้ น ในการผลิ ต Methamphetamine (ICE) ซึ่ ง เป็ น ยาเสพติ ด ให้ โ ทษ ในประเภท ๑ ได้ ทวี ความรุนแรงขึ้น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาร่ วมกั บหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องได้ดําเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยคณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ในการประชุมครั้งที่ ๒๙๐-๑/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๔ ได้พิจารณาร่างประกาศกระทรวง สาธารณสุขเพื่อปรับการควบคุมซูโดอีเฟดรีน และมีมติให้ความเห็นชอบกับร่างประกาศฯ โดยยังคง กําหนดในบัญชีแนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข ลําดับที่ ๓๙ ระบุให้ซูโดอีเฟดรีน เป็นวัตถุที่ ออกฤทธิ์ประเภท ๒ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ระบุชื่อและ จั ด แบ่ ง ประเภทวั ต ถุ อ อกฤทธิ์ ตามความในพระราชบั ญ ญั ติ วั ต ถุ ที่ อ อกฤทธิ์ ต่ อ จิ ต และประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๑๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๔ เรื่อง ระบุชื่อและจัดแบ่งประเภทวัตถุออกฤทธิ์ (เพิ่มเติม) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ แต่แก้ไขในส่วนเงื่อนไขเฉพาะจากเดิมที่กําหนดไว้ว่า “เว้นแต่ซูโดอีเฟดรีน (pseudoephedrine) ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นผสมในตํ า รั บ ยาสู ต รผสม (combined drug) ตามพระราชบั ญ ญั ติ ย า พ.ศ. ๒๕๑๐ และซูโ ดอีเฟดรีน (pseudoephedrine) ซึ่งเป็ นส่ว นผสมในตํารับ ยาเสพติ ดให้โทษในประเภท ๓ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒” เป็น “(๑) เว้ น แต่ ซู โ ดอี เ ฟดรี น (pseudoephedrine) ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นผสมในตํ า รั บ ยา สู ต รผสม (combined drug) ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยยา และซู โ ดอี เ ฟดรี น (pseudoephedrine) ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นผสมในตํ า รั บ ยาเสพติ ด ให้ โ ทษประเภท ๓ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยยาเสพติ ด ให้ โ ทษ ซึ่งผู้ครอบครองมีเจตนาใช้เป็นยาเพื่อบําบัด บรรเทา รักษาโรค หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วย ∗ ส่ ง พร้ อ มหนั ง สื อ ด่ ว นมาก ที่ นร ๐๙๐๑/๐๕๑๖ ลงวั น ที่ ๒๘ มี น าคม ๒๕๕๕ ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีถึงสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
  • 2. (๒) การนําผ่านและการส่งออกตํารับยาสูตรผสม (combined drug) ซึ่งมีซูโดอีเฟดรีน (pseudoephedrine) เป็นส่วนผสมตาม (๑) ต้องดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อ จิตและประสาทและกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ” ต่ อ มา มี ก ารคั ด ค้ า นมติ ค ณะกรรมการฯ ว่ า การกํ า หนดเงื่ อ นไขเฉพาะตาม ร่างประกาศฯ ดังกล่าวเป็นการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในการครอบครองยาที่มีส่วนผสม ของซูโดอีเฟดรีน เนื่องจากเมื่อได้ยกเว้นตามเงื่อนไขเฉพาะตาม (๑) ทําให้ซูโดอีเฟดรีนในรูปของตํารับ ยาสู ต รผสมดั ง กล่ า วไม่ เ ป็ น วั ต ถุ อ อกฤทธิ์ แ ล้ ว แต่ (๒) กลั บ กํ า หนดให้ ไ ม่ ร วมถึ ง การนํ า ผ่ า นและ การส่งออก โดยกําหนดให้ต้องดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทและ กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ มีผลให้การครอบครองซูโดอีเฟดรีนตาม (๑) กลับเป็นวัตถุออกฤทธิ์ ซึ่งจะทําให้ผู้ครอบครองซูโดอีเฟดรีนที่มีเจตนาเพื่อใช้เป็นยาเพื่อบําบัด บรรเทา รักษาโรคหรือป้องกัน โรคหรือความเจ็บป่วย และจะนํายาที่มีส่วนผสมของซูโดอีเฟดรีนติดตัวนําผ่านไปยังต่างประเทศ ต้องดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทและกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด ให้โทษ จึงเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ในการประชุมครั้งที่ ๒๙๑-๒/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๔ จึงมีมติให้ฝ่ายเลขานุการฯ หารือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเกี่ยวกับการกําหนดเงื่อนไขเฉพาะสําหรับการกําหนดการควบคุม ซูโดอีเฟดรีนในร่างประกาศฯ ดังกล่าว สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงขอหารือสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาว่าการกําหนดเงื่อนไขเฉพาะสําหรับการกําหนดการควบคุมซูโดอีเฟดรีน (pseudoephedrine) ในร่ า งประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข เรื่ อ ง ระบุ ชื่ อ และจั ด แบ่ ง ประเภท วัตถุออกฤทธิ์ (เพิ่มเติม) สามารถออกประกาศฯ โดยกําหนดเงื่อนไขเฉพาะในลักษณะนี้ได้หรือไม่ ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ หากออกประกาศในลักษณะนี้ไม่ได้จะต้องออกประกาศอย่างไร เพื่อให้ ไม่เกิดผลกระทบกับประชาชนส่วนรวมและเป็นการควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดได้ คณะกรรมการกฤษฎี ก า (คณะที่ ๑๐) ได้ พิ จ ารณาข้ อ หารื อ ของสํ า นั ก งาน คณะกรรมการอาหารและยา โดยมี ผู้ แ ทนกระทรวงสาธารณสุ ข (สํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงและ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) เป็นผู้ชี้แจงข้อเท็จจริงแล้ว เห็นว่า การที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุขใช้อานาจตามมาตรา ๖ (๑) และ (๗)๑ แห่งพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิต ํ และประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ระบุ ชื่อและจัดแบ่งประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๓๙ กําหนดให้ซูโดอีเฟดรีนเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภท ๒ ๑ มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีมอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา ี (๑) ระบุชื่อและจัดแบ่งประเภทวัตถุออกฤทธิ์ว่าวัตถุออกฤทธิ์ใดอยู่ในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ฯลฯ ฯลฯ (๗) ระบุวัตถุตํารับให้เป็นวัตถุตํารับยกเว้น ฯลฯ ฯลฯ
  • 3. ๓ และกําหนดเงื่อนไขเฉพาะให้ยกเว้นซูโดอีเฟรดีนซึ่งเป็นส่วนผสมในตํารับยาสูตรผสมตามกฎหมาย ว่าด้วยยา และซูโดอี เฟรดีนซึ่งเป็นส่วนผสมในตํารับยาเสพติ ดให้ โทษในประเภท ๓ นั้น แม้จะมี ซูโดอีเฟดรีนซึ่งเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภท ๒ ผสมอยู่ ก็มีลักษณะที่ไม่อาจก่อให้เกิดมีการใช้ที่ผิดทาง ไม่สามารถจะแยกสกัดเอาวัตถุออกฤทธิ์ท่ีมีอยู่ในตํารับนั้นกลับมาใช้ในปริมาณที่จะทําให้เกิดมีการใช้ ที่ผิดทาง และไม่ก่อให้เกิดอันตรายทางด้านสุขภาพและสังคมได้ ตามหลักเกณฑ์ของมาตรา ๖๑๒ (๒) (๓) และ (๔) แห่งพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทฯ ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนสามารถ เข้ า ถึ ง ยาแก้ ห วั ด ได้ ส ะดวก แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม มาตรา ๕๙ ๓ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า ว ได้บัญญัติให้ถือว่าวัตถุตํารับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่งประเภทใดปรุงผสมอยู่เป็นวัตถุออกฤทธิ์ ในประเภทนั้นด้วย เมื่ อ สถานการณ์ ใ นปั จ จุ บั น ปรากฏว่ า มี ก ารนํ า ยาแก้ ห วั ด ที่ มี ส่ ว นผสมของวั ต ถุ ออกฤทธิ์ประเภท ๒ (ซูโดอีเฟดรีน) ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์โดยนําไปสกัดเอาซูโดอีเฟดรีนเพื่อนําไปใช้ เป็นสารตั้ งต้ น ในการผลิ ต Methamphetamine (ICE) อันเป็ นยาเสพติ ดให้โทษประเภท ๑ ชนิ ด ร้ายแรง ได้ทวีความรุนแรงแพร่ระบาดกว้างขวางในหมู่ประชาชน ยากแก่การควบคุมยาเสพติดชนิดนี้ได้ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ระบุชื่อและจัดแบ่งประเภทวัตถุ ออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบั ญ ญั ติ วัต ถุที่ อ อกฤทธิ์ ต่ อจิ ต และประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวัน ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๑๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๔ เรื่อง ระบุช่ือและจัดแบ่งประเภทวัตถุออกฤทธิ์ (เพิ่มเติม) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ ซึ่งกําหนดเงื่อนไขไว้ดังกล่าว ข้ า งต้ น อั น เป็ น การประกาศวั ต ถุ ตํ า รั บ ยกเว้ น ตามมาตรา ๖๑ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ วั ต ถุ ที่ ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทฯ เมื่อเงื่อนไขมิได้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของมาตรา ๖๑ (๒) (๓) และ (๔) แห่งพระราชบั ญญัติดังกล่าว รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุข จึงไม่อาจประกาศให้ตํารับยา สูตรผสม (ยาแก้หวัด) ที่มีซโดอีเฟดรีนซึ่งเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภท ๒ ผสมอยู่ เป็นวัตถุตํารับยกเว้นได้ ู ๒ มาตรา ๖๑ ในกรณีวัตถุตํารับใด (๑) มี วั ต ถุ อ อกฤทธิ์ ใ นประเภท ๒ ประเภท ๓ หรื อ ประเภท ๔ อย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดหรื อ หลายอย่างปรุงผสมอยู่ (๒) มีลักษณะที่ไม่อาจก่อให้เกิดมีการใช้ที่ผิดทาง (๓) ไม่สามารถจะแยกสกัดเอาวัตถุออกฤทธิ์ที่มีอยู่ในวัตถุตํารับนั้นกลับมาใช้ในปริมาณที่จะ ทําให้เกิดมีการใช้ที่ผิดทาง และ (๔) ไม่ก่อให้เกิดอันตรายทางด้านสุขภาพและสังคมได้ รัฐมนตรีอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นวัตถุตํารับยกเว้นได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง วัตถุตํารับยกเว้นที่ประกาศตามวรรคสอง รัฐมนตรีอาจประกาศเพิกถอนได้ เมื่อปรากฏว่า วัตถุตํารับนั้นไม่ตรงตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ๓ มาตรา ๕๙ ให้ถือว่าวัตถุตํารับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่งประเภทใดปรุงผสมอยู่เป็นวัตถุ ออกฤทธิ์ในประเภทนั้นด้วย
  • 4. ส่วนประเด็นที่หารือว่า จะแก้ไขเพิ่มเติมกําหนดเงื่อนไขเฉพาะสําหรับการควบคุม ซูโดอีเฟดรี นในประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙)ฯ ซึ่งแก้ไขเพิ่ มเติ มโดย ประกาศฯ ฉบั บ ที่ ๑๑๗ (พ.ศ. ๒๕๔๔)ฯ เกี่ ย วกั บการครอบครอง การนํา ผ่ าน และการส่ง ออก จะกระทําได้หรือไม่ นั้น เมื่อวินิจฉัยแล้วว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขไม่อาจประกาศให้ ตํารับยาสูตรผสม (ยาแก้หวัด) ที่มีซูโดอีเฟดรีนซึ่งเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภท ๒ ผสมอยู่เป็นวัตถุตํารับ ยกเว้นได้ จึงไม่ต้องวินิจฉัยประเด็นนี้ต่อไป (นายอัชพร จารุจินดา) เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีนาคม ๒๕๕๕