SlideShare a Scribd company logo
Enviar pesquisa
Carregar
Entrar
Cadastre-se
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
Denunciar
suchinmam
Seguir
24 de Oct de 2012
•
0 gostou
•
160,038 visualizações
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
24 de Oct de 2012
•
0 gostou
•
160,038 visualizações
suchinmam
Seguir
Denunciar
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
1 de 47
Baixar agora
1
de
47
Recomendados
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
150.2K visualizações
•
48 slides
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ไพบููลย์ หัดรัดชัย
51.1K visualizações
•
2 slides
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
607.9K visualizações
•
3 slides
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
54.1K visualizações
•
5 slides
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
788.2K visualizações
•
27 slides
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
90.6K visualizações
•
2 slides
Mais conteúdo relacionado
Mais procurados
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
136.8K visualizações
•
22 slides
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
ชิตชัย โพธิ์ประภา
73.6K visualizações
•
53 slides
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
19.6K visualizações
•
24 slides
หน่วย 2
ศิวากรณ์ บุญนิล
151K visualizações
•
49 slides
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
renusaowiang
137.1K visualizações
•
6 slides
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
107.8K visualizações
•
2 slides
Mais procurados
(20)
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
•
136.8K visualizações
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
ชิตชัย โพธิ์ประภา
•
73.6K visualizações
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
•
19.6K visualizações
หน่วย 2
ศิวากรณ์ บุญนิล
•
151K visualizações
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
renusaowiang
•
137.1K visualizações
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
•
107.8K visualizações
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
•
35.2K visualizações
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
•
1.7M visualizações
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
•
375.9K visualizações
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
•
615.4K visualizações
แรงลัพธ์
Kan Pan
•
55.9K visualizações
คู่มือสภานักเรียน
krupornpana55
•
113K visualizações
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
•
17.2K visualizações
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Kuntoonbut Wissanu
•
101.9K visualizações
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
•
27.7K visualizações
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
•
22.4K visualizações
ใบ000
ศรราม สุดหล่อ
•
106.9K visualizações
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
•
101.2K visualizações
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
•
16.7K visualizações
อารยธรรมกรีก
พัน พัน
•
14.1K visualizações
Similar a หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยที่๗
นันทนา วงศ์สมิตกุล
3.1K visualizações
•
7 slides
หน่วยที่๙
นันทนา วงศ์สมิตกุล
2.5K visualizações
•
7 slides
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
hadradchai
544 visualizações
•
14 slides
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
hadradchai7515
1.9K visualizações
•
14 slides
กิจกรรม สาระสังคม
kruarada
1.1K visualizações
•
27 slides
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
937 visualizações
•
8 slides
Similar a หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
(20)
หน่วยที่๗
นันทนา วงศ์สมิตกุล
•
3.1K visualizações
หน่วยที่๙
นันทนา วงศ์สมิตกุล
•
2.5K visualizações
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
hadradchai
•
544 visualizações
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
hadradchai7515
•
1.9K visualizações
กิจกรรม สาระสังคม
kruarada
•
1.1K visualizações
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
•
937 visualizações
อังกฤษ ปลาย
กลุ่มงาน วิชาการ
•
657 visualizações
สังคมศึกษา ปลาย
กลุ่มงาน วิชาการ
•
1.9K visualizações
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
•
28.6K visualizações
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
นันทนา วงศ์สมิตกุล
•
14.6K visualizações
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
•
4.9K visualizações
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
supanyasaengpet
•
7.2K visualizações
Astroplan10
SAKANAN ANANTASOOK
•
4.8K visualizações
หน่วยที่๘
นันทนา วงศ์สมิตกุล
•
2.9K visualizações
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
korakate
•
5.1K visualizações
02 สังคมศึกษา
Faralee Benahmad
•
473 visualizações
02 สังคมศึกษา
Faralee Benahmad
•
335 visualizações
สังคมศึกษา โควต้า มช.
Maya NNcuhmmy
•
17.7K visualizações
02 สังคมศึกษา
Justmin PocoYo
•
187 visualizações
02 สังคมศึกษา
Faralee Benahmad
•
1.6K visualizações
Mais de suchinmam
วันออกพรรษา
suchinmam
8.3K visualizações
•
30 slides
วันธรรมสวนะ
suchinmam
6.5K visualizações
•
30 slides
วันวิสาขบูชา
suchinmam
12.7K visualizações
•
30 slides
มุทิตาจิต
suchinmam
422 visualizações
•
4 slides
แบบฝึกทักษะ ม.3
suchinmam
118.1K visualizações
•
64 slides
วันเข้าพรรษา
suchinmam
12.8K visualizações
•
31 slides
Mais de suchinmam
(8)
วันออกพรรษา
suchinmam
•
8.3K visualizações
วันธรรมสวนะ
suchinmam
•
6.5K visualizações
วันวิสาขบูชา
suchinmam
•
12.7K visualizações
มุทิตาจิต
suchinmam
•
422 visualizações
แบบฝึกทักษะ ม.3
suchinmam
•
118.1K visualizações
วันเข้าพรรษา
suchinmam
•
12.8K visualizações
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
suchinmam
•
60.3K visualizações
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
suchinmam
•
69.2K visualizações
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
1.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา
เวลา 4 ชั ่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วด ั ส 1.1 ม.3/1 อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาทีตนนับถือสูประเทศต่างๆ ทั ่วโลก ่ ่ ม.3/ 2 วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทีตนนับถือในฐานะทีชวยสร้างสรรค์อารยธรรมและ ่ ่ ่ ความสงบสุขแก่โลก 2. สาระสาคัญ/ความคิ ดรวบยอด พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ประเทศต่างๆ ทั ่วโลก ส่งผลให้มการนับถือพระพุทธศาสนาอย่างกว้างขวางในหลาย ี ประเทศโดยเฉพาะดินแดนในภูมภาคเอเชีย พระพุทธศาสนามีความสาคัญในการสร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบสุข ิ แก่ชาวโลก 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศต่างๆ ทั ่วโลก และการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเหล่านัน ้ ั ั ในปจจุบน 2) ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะทีช่วยสร้างสรรค์อารยธรรม และความสงบสุขให้แก่โลก ่ ่ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ น (พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการคิ ด 1) ทักษะการสรุปย่อ 2) ทักษะการจัดโครงสร้าง 3) ทักษะการสร้างความรู้ 4) ทักษะการวิเคราะห์ 5) ทักษะการสรุปลงความเห็น 4.2 ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ั 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ่ 1. มีวนย 2. ใฝเรียนรู้ 3. มุ่งมั ่นในการทางาน ิ ั 6. ชิ้ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) รายงาน เรื่อง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาและความสาคัญของพระพุทธศาสนา 1 พระพุทธศาสนา ม.3
2.
7. การวัดและการประเมินผล
7.1 การประเมิ นก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรูท่ี 1 ้ เรื่อง ประวัตและความสาคัญของพระพุทธศาสนา ิ 7.2 การประเมิ นระหว่างการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้ 1) ตรวจใบงานที่ 1.1 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย 2) ตรวจใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปต่างๆ 3) ตรวจใบงานที่ 2.1 เรื่อง ความสาคัญของพระพุทธศาสนา 4) ตรวจแบบบันทึกการอ่าน 5) ประเมินการนาเสนอผลงาน 6) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 7) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7.3 การประเมิ นหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรูท่ี 1 ้ เรื่อง ประวัตและความสาคัญของพระพุทธศาสนา ิ 7.4 การประเมิ นชิ้ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ตรวจรายงาน เรื่อง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาและความสาคัญของพระพุทธศาสนา 8. กิ จกรรมการเรียนรู้ นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ที ่ 1 เรือง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา ่ นักเรียนสวดมนต์บชาพระรัตนตรัยและทาสมาธิกอนเรียนทุกชั ่วโมง ู ่ 2 พระพุทธศาสนา ม.3
3.
เรื่องที่ 1 การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนา
เวลา 1-2 ชั ่วโมง วิ ธีสอนแบบโมเดลซิ ปปา (CIPPA Model) ขันที่ 1 ทบทวนความรู้เดิ ม ้ ครูให้นกเรียนดูภาพเกียวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนา แล้วให้นกเรียนตอบคาถามแสดงความคิดเห็นและทบทวน ั ่ ั ความรูเดิม ้ ขันที่ 2 แสวงหาความรู้ใหม่ ้ ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรูเกียวกับ ้ ่ การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ ทั ่วโลก ขันที่ 3 ศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กบความรู้เดิ ม ้ ั นักเรียนแต่ละกลุ่มจับคู่กนเป็น 2 คู่ คู่ท่ี 1 ทาใบงานที่ 1.1 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาใน ั ทวีปเอเชีย และคู่ท่ี 2 ทาใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปต่างๆ ขันที่ 4 แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม ้ นักเรียนแต่ละคู่ผลัดกันอธิบายผลงานในใบงานทีตนรับผิดชอบ ่ ขันที่ 5 สรุปและจัดระเบียบความรู้ ้ 1. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงานที่ 1.1 และใบงานที่ 1.2 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปและเรียบเรียงความรูสาคัญเกียวกับวิธการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและสภาพ ้ ่ ี การนับถือศาสนาในทวีปต่างๆ ของโลก ขันที่ 6 ปฏิ บติและ/หรือแสดงผลงาน ้ ั นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานทีหน้าชันเรียน ่ ้ ขันที่ 7 ประยุกต์ใช้ความรู้ ้ นักเรียนนาความรูเกียวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปเป็นแนวทางในการมีส่วนร่วมในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ้ ่ 3 พระพุทธศาสนา ม.3
4.
เรื่องที่ 2 ความสาคัญของพระพุทธศาสนา
เวลา 1-2 ชั ่วโมง วิ ธีสอนโดยใช้ทกษะกระบวนการเผชิ ญสถานการณ์ ั ขันนาเข้าสู่บทเรียน ้ ครูให้นกเรียนดูภาพเกียวกับการสร้างสรรค์อารยธรรมและการอยูร่วมกันในสังคมอย่างปกติสุข ตามหลักธรรมของ ั ่ ่ พระพุทธศาสนา แล้วให้นกเรียนแสดงความคิดเห็นถึงผลของการดาเนินกิจกรรมในภาพ ั ขันสอน ้ ขันที ่ 1 รวบรวมข่าวสาร ข้อมูล ข้อเท็จจริ ง ความรู้ และหลักการ ้ 1. ครูอธิบายเชื่อมโยงความรูให้นกเรียนเห็นความสาคัญของพระพุทธศาสนา ้ ั 2. นักเรียนศึกษาความรูและรวบรวมข้อมูลความรูเกียวกับความสาคัญของพระพุทธศาสนา ้ ้ ่ ขันที ่ 2 ประเมิ นคุณค่าและประโยชน์ ้ นักเรียนร่วมกันทาใบงานที่ 2.1 เรื่อง ความสาคัญของพระพุทธศาสนา และนาเสนอผลงานทีหน้าชันเรียน ่ ้ ขันที ่ 3 เลือกและตัดสิ นใจ ้ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดหาแนวทางในการหาข้อมูลหลักฐาน หรือตัวอย่างกิจกรรมหรือผลงานทีแสดงถึงความ ่ สาคัญของพระพุทธศาสนา แล้วตัดสินใจเลือกแนวทางหรือวิธการทีดทสุด ี ่ ี ่ี ขันที ่ 4 ปฏิ บติ ้ ั นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบตตามแนวทางหรือวิธการทีเลือกและตัดสินใจในขันที่ 2, 3 ั ิ ี ่ ้ ขันสรุป ้ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประเด็นสาคัญของความสาคัญของพระพุทธศาสนา ครูมอบหมายให้นักเรียนทารายงาน เรื่อง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาและความสาคัญของ พระพุทธศาสนา นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ที ่ 1 เรือง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา ่ 4 พระพุทธศาสนา ม.3
5.
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
9.1 สือการเรียนรู้ ่ 1) หนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม. 3 2) หนังสือค้นคว้าเพิมเติม ่ ( 1) บุญมี แท่นแก้ว. ( 2546). ประวัติศาสนาต่างๆ และปรัชญาธรรม. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. ( 2) สุชพ ปุญญานุภาพ. ( 2551). คุณลักษณะพิ เศษแห่งพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธมหา- ี ิ มกุฏราชวิทยาลัย . 3) บัตรภาพ 4) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย 5) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปต่างๆ 6) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ความสาคัญของพระพุทธศาสนา 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.dhammathai.org/thailand/missionary/index.php - http://www.oknation.net/blog/Duplex/2008/10/28/enter-8 - http://www.tlcthai.com/club/view_topic.php?... - http://www.th.wikipedia.org/wiki/ประวัตศาสนาพุทธ ิ - http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?... - http://gotoknow.org/blog/piyatum/213754 5 พระพุทธศาสนา ม.3
6.
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินรายงาน
เรื่อง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาและความสาคัญของพระพุทธศาสนา คาอธิ บายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน รายการประเมิ น ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1. การเผยแผ่ อธิบายการเผยแผ่และ อธิบายการเผยแผ่และ อธิบายการเผยแผ่และ อธิบายการเผยแผ่และ และการนับถือ การนับถือพระพุทธ- การนับถือพระพุทธ- การนับถือพระพุทธ- การนับถือพระพุทธ- พระพุทธศาสนา ศาสนาในทวีปเอเชียได้ ศาสนาในทวีปเอเชียได้ ศาสนาในทวีปเอเชียได้ ศาสนาในทวีปเอเชียได้ ในทวีปเอเชีย ถูกต้อง ชัดเจน 7-8 ถูกต้อง 5-6 ประเทศ ถูกต้อง 3-4 ประเทศ ถูกต้อง 1-2 ประเทศ ประเทศ 2. การเผยแผ่ อธิบายการเผยแผ่และ อธิบายการเผยแผ่และ อธิบายการเผยแผ่และ อธิบายการเผยแผ่และ และการนับถือ การนับถือพระพุทธ- การนับถือพระพุทธ- การนับถือพระพุทธ- การนับถือพระพุทธ- พระพุทธศาสนา ศาสนาในทวีปต่างๆ ได้ ศาสนาในทวีปต่างๆ ได้ ศาสนาในทวีปต่างๆ ได้ ศาสนาในทวีปต่างๆ ได้ ในทวีปต่างๆ ถูกต้อง ชัดเจน 7-10 ถูกต้อง 4-6 ประเทศ ถูกต้อง 2-3 ประเทศ ถูกต้อง 1 ประเทศ ประเทศ 3. ความสาคัญของ วิเคราะห์ความสาคัญ วิเคราะห์ความสาคัญ วิเคราะห์ความสาคัญ วิเคราะห์ความสาคัญ พระพุทธศาสนา ของพระพุทธศาสนาที่ ของพระพุทธศาสนาที่ ของพระพุทธศาสนาที่ ของพระพุทธศาสนาที่ ช่วยสร้างสรรค์อารย- ช่วยสร้างสรรค์อารย- ช่วยสร้างสรรค์อารย- ช่วยสร้างสรรค์อารย- ธรรมและความสงบสุข ธรรมและความสงบสุข ธรรมและความสงบสุข ธรรมและความสงบสุข แก่โลกได้ถูกต้อง ชัดเจน แก่โลกได้ถูกต้อง พร้อม แก่โลกได้ถูกต้อง แต่ไม่ แก่โลกได้ถูกต้อง แต่ไม่ พร้อมยกตัวอย่าง ยกตัวอย่างประกอบ สมบูรณ์ และยกตัวอย่าง สมบูรณ์ และยกตัวอย่าง ประกอบ 5-6 ตัวอย่าง 3-4 ตัวอย่าง ประกอบได้เป็นส่วนใหญ่ ประกอบเป็นบางส่วน ขึนไป ้ 4. การทางานเป็ น จัดทารายงานเป็นระบบ จัดทารายงานเป็นระบบ จัดทารายงานส่วนใหญ่ จัดทารายงานไม่เป็น ระบบ เรียบร้อย เรียบร้อย ส่งงานตรง เรียบร้อย ส่งงานช้ากว่า ค่อนข้างเป็นระบบ ระบบ ส่งงานช้ากว่า และตรงต่อเวลา เวลาทีกาหนด ่ กาหนด 1 วัน เรียบร้อย ส่งงานช้ากว่า กาหนด 2 วันขึนไป ้ กาหนด 1 วัน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14 - 16 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 ปรับปรุง ต่ากว่า 8 พอใช้ 6 พระพุทธศาสนา ม.3
7.
แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี
1 คาชี้แจง ให้นกเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้องทีสุดเพียงข้อเดียว ั ่ ่ 1. ประเทศใดเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ 5. ลักษณะการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศญีปน ่ ุ่ ประเทศไทยและพม่าในสมัยโบราณ สอดคล้องกับข้อใด ก. จีน ก. พระเจ้าอโศกมหาราชส่งสมณทูตไปเผยแผ่ ข. อินเดีย พระพุทธศาสนา ่ ุ่ ค. ญีปน ข. เริมจากชนชันสูงก่อนแล้วค่อยแพร่หลายไปในหมู่ ่ ้ ง. ศรีลงกา ั ประชาชน ค. การรวมกลุ่มของบุคคลในองค์กรชาวพุทธหลาย องค์กรผนึกกาลังความสามัคคี 2. ข้อใดคือความแตกต่างของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน ง. สมณทูตจากเกาหลีมบทบาทสาคัญในการเผยแผ่ ี ั ั สมัยโบราณกับสมัยปจจุบน พระพุทธศาสนาให้กบชาวญีปน ั ่ ุ่ ก. การเทศน์ ข. การปฏิบตธรรม ัิ 6. วิธการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษมีความ ี ค. อินเทอร์เน็ต คล้ายคลึงกับประเทศเยอรมนีในเรืองใด ่ ง. การรวมกลุ่มเป็นองค์กรทางพระพุทธศาสนา ก. การเทศนาสั ่งสอน การใช้อนเทอร์เน็ต ิ ข. การสั ่งการและการวางตนเป็นแบบของคนชันสูง ้ ค. ผูนาประเทศเห็นความสาคัญของพระพุทธศาสนา ้ 3. ดร.อัมเบดการ์ เป็นผูทมความสาคัญในการฟื้ นฟู ้ ี่ ี และทุกคนต้องปฏิบตตาม ัิ พระพุทธศาสนาในประเทศใด ง. การพิมพ์หนังสือเผยแพร่ การก่อตังสมาคมของ ้ ก. จีน ชาวพุทธ การสร้างวัด ข. ญีปน่ ุ่ ค. อังกฤษ ง. ศรีลงกา ั 7. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาและความเจริญก้าวหน้า ในการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปต่างๆ เป็นไปอย่าง ต่อเนื่อง ยกเว้น ทวีปใด ั ั 4. ปจจุบนชาวจีนส่วนใหญ่นบถือพระพุทธศาสนาควบคู่ ั ก. ทวีปอเมริกาเหนือ ไปกับลัทธิหรือศาสนาใด ข. ทวีปอเมริกาใต้ ก. ขงจื๊อ เต๋า ค. ทวีปออสเตรเลีย ข. ชินโต ขงจื๊อ ง. ทวีปแอฟริกา ค. เชน เต๋า ง. ชินโต เต๋า 7 พระพุทธศาสนา ม.3
8.
8. การทีพระพุทธศาสนามีหลักธรรมคาสอนทีสอนให้
่ ่ 10. หลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนาทีสอนให้ชาวโลก ่ พุทธศาสนิกชนปฏิบตตนตามทิศ 6 นัน ส่งผลดีในด้านใด ัิ ้ ทาความดี ย่อมส่งผลสาคัญต่อการอยู่รวมกันในข้อใด ่ ก. การจัดระเบียบสังคม ก. ความสงบสุข ข. การเมือง การปกครอง ข. ความเจริญในทุกด้าน ค. สถาบันและองค์กรหลักของประเทศ ค. ความเจริญทางด้านจิตใจ ง. ความสามัคคีปรองดองกันของบุคคลทั ่วไป ง. ความสามัคคีกลมเกลียวกันของประชาชน 9. ข้อความใดทีสอดคล้องกับคากล่าวว่า พระพุทธศาสนา ่ สร้างสรรค์อารยธรรมให้แก่โลก ก. ผูทมจตเป็นสุขสงบและเลื่อมใสพระพุทธศาสนา ้ ี่ ี ิ ร่วมมือกันสร้างวัดและเจดีย์ ข. ชุมชนเล็กๆ ในชนบทจะยึดมั ่นและปฏิบตตนตาม ัิ หลักธรรมอย่างเคร่งครัดมากกว่าชุมชนใหญ่ ค. ประเทศทีเจริญก้าวหน้าทางด้านวัตถุจะหันมาพัฒนา ่ คุณภาพทางด้านสังคม ง. ประเทศทีมการปกครองระบอบประชาธิปไตย ใช้ ่ ี หลักธรรมของพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางการอยู่ ร่วมกันได้ดกว่าระบอบการปกครองอื่น ี ตัวชี้วด ส 1.1 ข้อ 1-2 ั 1. ง 2. ค 3. ง 4. ก 5. ข ได้คะแนน คะแนนเต็ม 6. ง 7. ง 8. ก 9. ก 10. ก 10 8 พระพุทธศาสนา ม.3
9.
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนา
้ เวลา 1-2 ชั ่วโมง 1. สาระสาคัญ/ความคิ ดรวบยอด พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ประเทศต่างๆ ทั ่วโลก ส่งผลให้มการนับถือพระพุทธศาสนาอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะ ี ในดินแดนภูมภาคเอเชีย ิ 2. ตัวชี้วด/จุดประสงค์การเรียนรู้ ั 2.1 ตัวชี้วด ั ส 1.1 ม.3/1 อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาทีตนนับถือสูประเทศต่างๆ ทั ่วโลก ่ ่ 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ ั ั 1) อธิบายแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและสมัยปจจุบนได้ 2) อธิบายแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลีย และทวีปแอฟริกาได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศต่างๆ ทั ่วโลก และการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเหล่านัน ้ ั ั ในปจจุบน ่ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ น (พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการคิ ด 1) ทักษะการสรุปย่อ 2) ทักษะการจัดโครงสร้าง 3) ทักษะการสร้างความรู้ 4.2 ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ั 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ่ 1. มีวนย 2. ใฝเรียนรู้ ิ ั (ชั่วโมงที่ 1) 6. กิ จกรรมการเรียนรู้ 9 พระพุทธศาสนา ม.3
10.
วิ ธีสอนแบบโมเดลซิ
ปปา (CIPPA Model) ชัวโมงที่ 1 ่ นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ที ่ 1 เรือง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา ่ นักเรียนสวดมนต์บชาพระรัตนตรัยและทาสมาธิกอนเรียนทุกชั ่วโมง ู ่ ขันที่ 1 ทบทวนความรู้เดิ ม ้ สื่อการเรียนรู้ : บัตรภาพ คาถามกระตุ้นความคิ ด 1. ครูให้นกเรียนดูภาพเกียวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณ ั ่ 1. นักเรียนชอบวิ ธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ั ั ภาพใดบ้าง อธิ บายเหตุผล และในสมัยปจจุบน แล้วให้นกเรียนตอบคาถามกระตุนความคิด ข้อ 1-2 ั ้ เพื่อเป็นการทบทวนความรูเ้ ดิม (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้ อยูในดุลยพินิจของครูผสอน) ่ ู้ 2. ครูอธิบายความรูเ้ พิมเติมเกียวกับแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ่ ่ ในสมัยโบราณและในสมัยปจจุบน ั ั 2. วิ ธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัย โบราณและในสมัยปัจจุบนมีความ ั แตกต่างกัน และความคล้ายคลึงกัน อย่างไรบ้าง ั ั (ความแตกต่างกัน คือ สมัยปจจุบนมี การเผยแผ่พระพุทธศาสนาทางแหล่งข้อมูล สารสนเทศ ภาพยนตร์ วีซดี วีดทศน์ การใช้ ี ิ ั สือเทคโนโลยี การรวมกลุ่มเป็ นองค์กร ่ ชมรม ส่วนสมัยโบราณจะเน้นการเผยแผ่ ด้วยการเทศน์หรือแสดงธรรมและปฏิบติ ั ธรรม กลุ่มผูนาในทางสังคม คือ ้ พระมหากษัตริย ์ ความคล้ายคลึงกัน คือ การเทศนา แสดงธรรม และปฏิบตธรรม) ัิ ขันที่ 2 แสวงหาความรู้ใหม่ ้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ : 1. หนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.3 คาถามกระตุ้นความคิ ด 2. หนังสือค้นคว้าเพิมเติม ่ เพราะเหตุใดจึงต้องมีการเผยแผ่ 3. ห้องสมุด พระพุทธศาสนาไปยังดิ นแดนต่างๆ 1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ ทัวโลก ่ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน แล้วให้ (เพราะจะทาให้ประชาชนในดินแดนต่างๆ แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรูเ้ กียวกับการเผยแผ่และการนับถือ ่ เห็นคุณค่าและความสาคัญของ พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ ทั ่วโลก จากหนังสือเรียน หนังสือ พระพุทธศาสนาและสามารถนาไปใช้ในการ ดาเนินชีวตอย่างปกติสุข) ิ ค้นคว้าเพิมเติม และห้องสมุด จากนันบันทึกข้อมูลทีได้จากการศึกษา ่ ้ ่ ลงในแบบบันทึกการอ่าน 2. นักเรียนตอบคาถามกระตุนความคิด (ชั่วโมงที่ 2) ้ ขันที่ 3 ศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กบความรู้เดิ ม ้ ั 10 พระพุทธศาสนา ม.3
11.
สื่อการเรียนรู้ : ใบงานที่
1.1 – ใบงานที่ 1.2 คาถามกระตุ้นความคิ ด 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มจับคูกนเป็น 2 คู่ แบ่งหน้าทีกนทาใบงาน ดังนี้ ่ ั ่ ั นักเรียนคิ ดว่า ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ ประชาชนในดิ นแดนต่างๆ นับถือ - คูที่ 1 ทาใบงานที่ 1.1 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือ ่ พระพุทธศาสนา คืออะไร พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย (1. ผูนาประเทศมีความศรัทธา เห็นความ ้ - คูที่ 2 ทาใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือ ่ สาคัญ และเป็ นผูนาในการเผยแผ่ ้ พระพุทธศาสนาในทวีปต่างๆ พระพุทธศาสนา 2. นักเรียนแต่ละคูนาความรูเ้ ดิมและความรูใหม่ทได้ศกษาค้นคว้ามา ่ ้ ี่ ึ 2. การรวมกลุ่มกันขององค์กรต่างๆ เชือมโยงกันทาใบงาน และตรวจสอบความถูกต้อง ่ เพือเผยแผ่พระพุทธศาสนา ่ อย่างเข้มแข็ง 3. นักเรียนตอบคาถามกระตุนความคิด ซึงนักเรียนอาจตอบได้หลากหลาย ้ ่ 3. มีวธการเผยแผ่หลักธรรมคาสอนของ ิี อย่างมีเหตุผล พระพุทธศาสนาให้เข้าใจง่าย ฯลฯ) ชัวโมงที่ 2 ่ ขันที่ 4 แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม ้ สื่อการเรียนรู้ : ใบงานที่ 1.1 - ใบงานที่ 1.2 คาถามกระตุ้นความคิ ด 1. นักเรียนแต่ละคูผลัดกันอธิบายผลงานในใบงานที่ 1.1 และใบงานที่ 1.2 ่ เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนาจึงมีความ เจริ ญรุ่งเรืองในดิ นแดนของทวีปเอเชีย ทีตนรับผิดชอบ และผลัดกันซักถามข้อสงสัยจนมีความกระจ่างชัดเจน ่ มากกว่าภูมิภาคอื่น 2. นักเรียนตอบคาถามกระตุนความคิด ้ (เพราะพระพุทธศาสนากาเนิดในบริเวณ ภูมภาคเอเชียในชมพูทวีปหรือประเทศ ิ ั ั อินเดียในปจจุบน และพระเจ้าอโศกมหาราช ได้ส่งสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน ภูมภาคเอเชียก่อนภูมภาคอืน) ิ ิ ่ ขันที่ 5 สรุปและจัดระเบียบความรู้ ้ สื่อการเรียนรู้ : 1. หนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.3 คาถามกระตุ้นความคิ ด 2. หนังสือค้นคว้าเพิมเติม ่ 1. ประชาชนประเทศใดในทวีปเอเชียที่ 3. ใบงานที่ 1.1 - ใบงานที่ 1.2 ปฏิ บติตนตามคาสอนของพระพุทธ- ั 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องในผลงานในใบงาน ศาสนาอย่างเคร่งครัดเป็ นส่วนใหญ่ ที่ 1.1 และใบงานที่ 1.2 อธิ บายเหตุผล (ประชาชนในประเทศศรีลงกา ประเทศ ั 2. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงานที่ 1.1 และใบงานที่ 1.2 ภูฏาน ประเทศทิเบต เพราะประชาชน 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปความรูสาคัญถึงวิธการเผยแผ่ ้ ี จะสวดมนต์ภาวนา และปฏิบตธรรมในวิถี ัิ พระพุทธศาสนาและสภาพการนับถือศาสนาของดินแดนในทวีปต่างๆ การดาเนินชีวต) ิ ของโลก 4. นักเรียนตอบคาถามกระตุนความคิด ข้อโมงที่ 2) ้ (ชั่ว 1-2 2. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังดิ นแดน ต่างๆ ในโลก มีความสาคัญอย่างไร (ทาให้ชาวโลกมีความรูเกียวกับพระพุทธ - ้ ่ 11 พระพุทธศาสนา ม.3
12.
ศาสนา และสามารถนาหลักธรรมคาสอนของ
พระพุทธศาสนาไปประยุกต์ใช้ตามความ เหมาะสม) ขันที่ 6 ปฏิ บติและ/หรือแสดงผลงาน ้ ั สื่อการเรียนรู้ : ป้ายนิเทศ คาถามกระตุ้นความคิ ด 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานทีหน้าชันเรียน ่ ้ นักเรียนได้ข้อคิ ดสาคัญเกี่ยวกับวิ ธีการ เผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังดิ นแดน 2. นักเรียนตอบคาถามกระตุนความคิด ้ ต่างๆ อย่างไรบ้าง 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาผลงานจัดป้ายนิเทศ (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้ อยูในดุลยพินิจของครูผสอน) ่ ู้ ขันที่ 7 ประยุกต์ใช้ความรู้ ้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ : 1. หนังสือค้นคว้าเพิมเติม ่ คาถามกระตุ้นความคิ ด 2. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนจะมีส่วนร่วมในกิ จกรรมการ 1. นักเรียนนาความรูเ้ กียวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปเป็น ่ เผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างไรบ้าง แนวทางในการมีสวนร่วมในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ่ (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้ 2. นักเรียนตอบคาถามกระตุนความคิด ้ อยูในดุลยพินิจของครูผสอน) ่ ู้ 7. การวัดและประเมินผล วิ ธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรูที่ 1 ้ แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรูที่ 1 ้ (ประเมินตามสภาพจริง) ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.2 ใบงานที่ 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจแบบบันทึกการอ่าน แบบบันทึกการอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวนย และใฝ่เรียนรู้ ิ ั แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สือการเรียนรู้ ่ 1) หนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.3 12 พระพุทธศาสนา ม.3
13.
2)
หนังสือค้นคว้าเพิมเติม ่ - บุญมี แท่นแก้ว. (2546). ประวัติศาสนาต่างๆ และปรัชญาธรรม. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. 3) บัตรภาพ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและในสมัยปจจุบน ั ั 4) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย 5) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปต่างๆ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.dhammathai.org/thailand/missionary/index.php - http://www.oknation.net/blog/Duplex/2008/10/28/enter-8 - http://www.tlcthai.com/club/view_topic.php?... - http://www.th.wikipedia.org/wiki/ประวัตศาสนาพุทธ ิ บัตรภาพ การเผยแผ่พระพุ ทธศาสนาในสมัยโบราณและในสมัยปจจุบัน ั 13 พระพุทธศาสนา ม.3
14.
ภาพที่ 1
ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 ภาพที่ 5 ภาพที่ 6 บัตรภาพ การเผยแผ่พระพุ ทธศาสนาในสมัยโบราณและในสมัยปจจุบัน ั 14 พระพุทธศาสนา ม.3
15.
ภาพที่ 7
ภาพที่ 8 ภาพที่ 9 ภาพที่ 10 ใบงานที่ 1.1 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนา ในทวีปเอเชีย คาชี้แจง ให้นกเรียนวิเคราะห์และสรุปความรูเกียวกับการเผยแผ่ และการนับถือพระพุทธศาสนาลงในตารางทีกาหนด ั ้ ่ ่ 15 พระพุทธศาสนา ม.3
16.
การเข้ามาของ
ผู้มีบทบาทสาคัญ ประเทศ ตัวอย่างผลงาน พระพุทธศาสนาในครังแรก ้ ในการเผยแผ่ 1. อินเดีย 2. ศรีลงกา ั 3. เนปาล การเข้ามาของ ผู้มีบทบาทสาคัญ ประเทศ ตัวอย่างผลงาน พระพุทธศาสนาในครังแรก ้ ในการเผยแผ่ 4. ภูฏาน 16 พระพุทธศาสนา ม.3
17.
5. เขต
ปกครอง ตนเอง ทิเบต การเข้ามาของ ผู้มีบทบาทสาคัญ ประเทศ ตัวอย่างผลงาน พระพุทธศาสนาในครังแรก ้ ในการเผยแผ่ 6. จีน 17 พระพุทธศาสนา ม.3
18.
การเข้ามาของ
ผู้มีบทบาทสาคัญ ประเทศ ตัวอย่างผลงาน พระพุทธศาสนาในครังแรก ้ ในการเผยแผ่ 7. เกาหลี 18 พระพุทธศาสนา ม.3
19.
ุ่ 8. ญี่ปน ใบงานที่ 1.1เรื่อง
การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนา เฉลย ในทวีปเอเชีย คาชี้แจง ให้นกเรียนวิเคราะห์และสรุปความรูเกียวกับการเผยแผ่ และการนับถือพระพุทธศาสนาลงในตารางทีกาหนด ั ้ ่ ่ การเข้ามาของ ผู้มีบทบาทสาคัญ ประเทศ ตัวอย่างผลงาน พระพุทธศาสนาในครังแรก ้ ในการเผยแผ่ 19 พระพุทธศาสนา ม.3
20.
1. อินเดีย
พระพุทธศาสนาได้ก่อตังขึน ้ ้ - เซอร์ เอ็ดวินส์ อาร์โนลด์ - วรรณกรรม “ประทีปแห่งเอเชีย” ในอินเดีย พระพุทธเจ้าเป็นผู้ (The light of Asia) ประกาศคาสอน - อนาคาริก ธรรมปาละ - ก่อตังมหาโพธิสมาคม ้ - ออกนิตยสาร “มหาโพธิรวว” ีิ (Mahabodhi Review) - ดร.อัมเบดการ์ - เป็นแกนนาชาวอินเดียวรรณะศูทร ประกาศปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ นับถือพระพุทธศาสนา 2. ศรีลงกา ั พระเจ้าอโศกมหาราชทรงส่ง - พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ - ประกาศให้พระพุทธศาสนาเป็น พระมหินทเถระ และพระ- ศาสนาประจาชาติ ภิกษุณีสงฆมิตตาไปเผยแผ่ ั - พระเจ้าอยูหวบรมโกศของ - ส่งพระอุบาลีมหาเถระไปอุปสมบท ่ ั พระพุทธศาสนา ไทย แบบไทยแก่กุลบุตรชาวศรีลงกา ั - สามเณรสรณังกร - เป็นสมเด็จพระสังฆราชแห่งลังกาใน นิกายสยามวงศ์ เป็นพระองค์แรก 3. เนปาล พระเจ้าอโศกมหาราชทรงส่ง - เจ้าหญิงจารุมตี พระธิดา - วัดและพุทธโบราณสถานในนคร พระมัชฌิมเถระไปเผยแผ่ ของพระเจ้าอโศกมหาราช กาฐมาณฑุ เมืองหลวงของเนปาล พระพุทธศาสนา - คณะสงฆ์ชาวเนปาล - คณะสงฆ์ชาวเนปาลกราบทูลเชิญ สมเด็จพระญาณสังวร เสด็จไปบรรพชาและอุปสมบท สมเด็จพระสังฆราช กุลบุตรชาวเนปาล สกลมหาสังฆปริณายก - ส่งพระภิกษุ สามเณรและกุลบุตรชาว เนปาลไปศึกษาพระพุทธ- ศาสนาทีมหามกุฏราชวิทยาลัยและ ่ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย การเข้ามาของ ผู้มีบทบาทสาคัญ ประเทศ ตัวอย่างผลงาน พระพุทธศาสนาในครังแรก ้ ในการเผยแผ่ 4. ภูฏาน ั ท่านคุรุปทมสัมภวะหรืออุก - ลามะปาโซ หรือดรุกอม - เผยแผ่พระพุทธศาสนา เยน คุรุ รินโปเช เดินทางจาก ชิงโป ชาวทิเบต - ก่อตังนิกายดรุกปะภัคยุ ้ ทิเบตเข้ามาเผยแผ่หลักคา - วังนัมเยล - สร้างพูนาคาซอง เป็นสถานที ่ สอนและพิธกรรมของ ี ประกอบพิธกรรมทีสาคัญ ี ่ พระพุทธศาสนาแบบวัชรยาน - วางรากฐานการปกครองภูฏานด้วย กฎหมายทางโลกและกฎหมายทางใจ 20 พระพุทธศาสนา ม.3
21.
(โล ทริม มิลุ
ทริม) 5. เขต พระเจ้าลาโธ โธรี เย็นเซ เป็น - พระเจ้าซรอนซันกัมโป - ประกาศให้พระพุทธศาสนาเป็น ปกครอง พระมหากษัตริยพระองค์แรก ์ ศาสนาประจาชาติ ตนเอง ทีนบถือพระพุทธศาสนา โดย ่ั - ส่งเสริมให้มการศึกษาคัมภีรของ ี ์ ทิเบต ได้รบพระพุทธรูปและคัมภีร์ ั พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาจากชาว - สร้างวัดโจกังเป็นวัดแรก อินเดีย ซึงนามาเป็นเครือง ่ ่ - ส่งสมณทูตไปศึกษาพระพุทธ- บรรณาการ ศาสนาในอินเดีย - นาคัมภีรทางพระพุทธศาสนาแปล ์ เป็นภาษาทิเบต - พระนางเหวินเฉิง - นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ซึงเป็นพระมเหสีของ ่ อย่างเคร่งครัด พระเจ้าซรอนซันกัมโป - พระนางภริคุตเิ ทวี - นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน พระมเหสีของพระเจ้า อย่างเคร่งครัด ซรอนซันกัมโป - พระมหากษัตริย์ - ศึกษาพระพุทธศาสนาอย่างละเอียด ทุกพระองค์ ลึกซึ้ง - จัดทาพจนานุกรมพระพุทธศาสนา ภาษาสันสกฤต-ทิเบต การเข้ามาของ ผู้มีบทบาทสาคัญ ประเทศ ตัวอย่างผลงาน พระพุทธศาสนาในครังแรก ้ ในการเผยแผ่ 6. จีน พระพุทธศาสนาเข้ามาอย่าง - พระเจ้าฮั ่นหมิงตี้ - ส่งคณะทูตไปสืบทอด เป็นทางการในสมัยพระเจ้า พระพุทธศาสนาทางตอนเหนือของ ฮั ่นหมิงตี้ แห่งราชวงศ์ฮ ั ่น อินเดีย - พระกาศยปมาตังคะ และ - ประกาศพระพุทธศาสนา พระธรรมรักษ์ - กษัตริยราชวงศ์ถง ์ ั - สร้างวัดหลายแห่ง 21 พระพุทธศาสนา ม.3
22.
- แปลพระสูตรจากภาษาบาลีเป็น
ภาษาจีน - มีนิกายสาคัญทางพระพุทธศาสนา เกิดขึนหลายนิกาย ้ - กษัตริยราชวงศ์หมิง และ ์ - พระพุทธศาสนาได้รบการเอาใจใส่ ั ราชวงศ์หยวน ่ ทานุบารุงอย่างดีจากฝายบ้าน เมือง - พระพุทธศาสนานิกายตันตระ นิกาย เซน และนิกายสุขาวดี ได้รบการยก ั ย่องให้เป็นศาสนาประจาราชสานัก ั ั - รัฐบาลจีนในปจจุบน - สนับสนุนให้มการจัดตังพุทธสมาคม ี ้ แห่งประเทศจีน และสภาการศึกษา พระพุทธศาสนาในกรุงเปยจง่ ์ิ เพือเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่ ่ พระพุทธศาสนากับนานาประเทศ การเข้ามาของ ผู้มีบทบาทสาคัญ ประเทศ ตัวอย่างผลงาน พระพุทธศาสนาในครังแรก ้ ในการเผยแผ่ 7. เกาหลี จีนส่งสมณทูต ชือ ซุนเตา ่ - พระภิกษุชาวอินเดีย - เผยแผ่พระพุทธศาสนาในเกาหลี เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ชือมาลานันทะ ่ ในอาณาจักรโคกรูยอ - ชาวเกาหลี - สร้างวัด และพระพุทธรูป - แปลพระไตรปิฎกจากภาษาบาลีเป็น ภาษาเกาหลี และพิมพ์เป็นเล่ม เรียกว่า พระไตรปิฎกฉบับสุง ่่ - ชาวเกาหลีและญีปุน - ออกวารสารทางพระพุทธศาสนา 22 พระพุทธศาสนา ม.3
23.
- ปฏิบตธรรม
ั ิ - พุทธศาสนิกชนชาวเกาหลี - จัดตังพุทธสมาคมเป็นหน่วยกลาง ้ ใต้ สาคัญ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ุ่ 8. ญี่ปน กษัตริยเ์ กาหลีส่งคณะทูตนา - เจ้าชายโชโตกุ - เอาใจใส่ทานุบารุงพระพุทธศาสนา พระพุทธรูปและคัมภีรทาง ์ ทุกด้าน พระพุทธศาสนาไปถวายพระ - ประกาศยกให้พระพุทธศาสนาเป็น จักรพรรดิญปุนี่ ่ ศาสนาประจาชาติ เป็นยุคสัทธรรม ไพโรจน์ ่่ - ชาวญีปุน - ปรับบทบาทของพระพุทธศาสนาให้ สอดคล้องกับสภาวการณ์ของประเทศ ทาให้เกิดนิกายหลัก 3 นิกาย คือ นิกายใจโตหรือสุขาวดี นิกายเซน และนิกายนิชเิ รน - ส่งเสริมการศึกษาและการวิจยทาง ั พระพุทธศาสนา - จัดตังองค์กรทางพระพุทธศาสนาเพือ ้ ่ เผยแผ่พระพุทธศาสนา - แปลและจัดพิมพ์พระไตรปิฎกจาก ภาษาจีน ทิเบต เกาหลี เป็น ่่ ภาษาญีปุน - ตังคณะพุทธศาสน์ขนในมหาวิทยาลัย ้ ้ึ ใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนา ในทวีปต่างๆ คาชี้แจง ให้นกเรียนตอบคาถามตามหัวข้อทีกาหนด ั ่ 1. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษและเยอรมนีมลกษณะหรือวิธการคล้ายคลึงกันอย่างไร ี ั ี 23 พระพุทธศาสนา ม.3
24.
2. วิธการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศฝรั ่งเศส
รัสเซีย และเนเธอร์แลนด์มความคล้ายคลึงกันอย่างไร ี ี ผลทีได้รบเป็นอย่างไร ่ ั 3. วิธการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้มความคล้ายคลึงกันและมีความแตกต่างกัน ี ี อย่างไร 4. วิธการเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์มความคล้ายคลึงกันและ ี ี แตกต่างกันอย่างไรบ้าง 5. สถานการณ์การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในแอฟริกาเป็นอย่างไร 24 พระพุทธศาสนา ม.3
25.
ใบงานที่ 1.2 เรื่อง
การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนา เฉลย ในทวีปต่างๆ คาชี้แจง ให้นกเรียนตอบคาถามตามหัวข้อทีกาหนด ั ่ 1. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษและเยอรมนีมลกษณะหรือวิธการคล้ายคลึงกันอย่างไร ี ั ี 1) การจัดพิมพ์หนังสือและวารสารเผยแผ่หลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา 2) การจัดตังสมาคมเพือทากิจกรรมต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา และเผยแผ่พระพุทธศาสนา ้ ่ 3) มีการสร้างวัดทางพระพุทธศาสนาของประเทศต่างๆ ในเอเชีย 4) มีผนาในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ู้ 5) มีการแปลคาสอนของพระพุทธศาสนามาเป็นภาษาอังกฤษสาหรับชาวอังกฤษ และภาษาเยอรมนีสาหรับ 25 พระพุทธศาสนา ม.3
26.
ชาวเยอรมนี
6) สถานการณ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนามีความก้าวหน้าเช่นกัน 2. วิธการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศฝรั ่งเศส รัสเซีย และเนเธอร์แลนด์มความคล้ายคลึงกันอย่างไร ี ี ผลทีได้รบเป็นอย่างไร ่ ั 1) วิธการเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้แก่ ี ( 1) มีการก่อตังสมาคมขึนเพือเป็นศูนย์รวมการศึกษาและปฏิบตธรรม ้ ้ ่ ั ิ ( 2) มีการออกวารสารเผยแผ่คาสอนของพระพุทธศาสนา ( 3) พระสงฆ์จากประเทศในเอเชียเป็นหลักในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยเฉพาะคือ ประเทศไทย 2) ผลทีได้รบ คือ พระพุทธศาสนายังไม่ได้รบการประดิษฐานอย่างมั ่นคง แต่กทาให้ชาวยุโรปหันมาสนใจ ่ ั ั ็ พระพุทธศาสนามากขึน ้ 3. วิธการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้มความคล้ายคลึงกันและมีความแตกต่างกัน ี ี อย่างไร ความคล้ายคลึงกัน คือ มีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยชาวเอเชีย มีการจัดตังองค์กรทางพระพุทธศาสนา เพือเป็นศูนย์รวม ้ ่ ในการปฏิบตกจกรรมทางพระพุทธศาสนา ั ิ ิ ความแตกต่างกัน คือ ในทวีปอเมริกาเหนือพระพุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรือง มีวดไทยในสหรัฐอเมริกา 151 วัด ในแคนาดา 7 วัด ั พระสงฆ์ไทยเดินทางไปเผยแผ่คาสอนของพระพุทธศาสนา แต่ในทวีปอเมริกาใต้การเผยแผ่พระพุทธศาสนาและการนับถือพระพุทธศาสนายังมีจานวนน้อย ส่วนมาก จะเป็นการนับถือของผูอพยพย้ายถินฐานมาจากทวีปเอเชีย ้ ่ 4. วิธการเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์มความคล้ายคลึงกันและ ี ี แตกต่างกันอย่างไรบ้าง ความคล้ายคลึงกัน คือ มีการก่อตังองค์กรทางพระพุทธศาสนา เพือเผยแผ่พระพุทธศาสนาเช่นกัน ้ ่ ความแตกต่างกัน คือ ในออสเตรเลียมีวดทางพระพุทธศาสนาของไทย 18 วัด แต่ในนิวซีแลนด์มเี พียง 6 วัด ั 5. สถานการณ์การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในแอฟริกาเป็นอย่างไร มีหลักฐานของพระพุทธศาสนาได้เข้าไปเผยแผ่ในประเทศอียปต์ เคนยา โดยเข้าไปพร้อมกับชาวเอเชียที ่ ิ เดินทางไปศึกษา ทางาน และท่องเทียว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังเป็นไปอย่างจากัด ไม่เจริญก้าวหน้า ่ 26 พระพุทธศาสนา ม.3
27.
ส่วนใหญ่เป็นการนับถือและการประกอบพิธกรรมทางพระพุทธศาสนาของชาวพุทธต่างถินทีเ่ ข้าไปอาศัยใน
ี ่ ประเทศเหล่านัน ้ แบบบันทึกการอ่าน ชือหนังสือ ่ ชือผูแต่ง ่ ้ นามปากกา สานักพิมพ์ สถานทีพมพ์ ่ ิ ปีทพมพ์ ี่ ิ จานวนหน้า ราคา บาท อ่านวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา 1. สาระสาคัญของเรื่อง 2. วิเคราะห์ขอคิด/ประโยชน์ทได้จากเรื่องทีอ่าน ้ ่ี ่ 27 พระพุทธศาสนา ม.3