SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1


              รายงาน



    เรื อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์

              เสนอ

     อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ



           จัดทําโดย

   นางสาวเบญจวรรณ รัตนะรัต

      ชันม.6/3        เลขที 24



โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์

        จังหวัดตรัง
2


                                        คํานํา

     รายงานเล่มนีเป็ นส่ วนหนึงของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทําขึนเพือได้ใช้เป็ น
สื อการเรี ยนการสอนสําหรับรุ่ นหลังหรื อผูทีสนใจเกียวกับวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
                                          ้
หากมีขอผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ทีนีด้วย
      ้



                                                               จัดทําโดย

                                                       นางสาวเบญจวรรณ รัตนะรัต
3


                                      สารบัญ

    เรื อง                                            หน้า

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์                                   4

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ                        5
วิวฒนาการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
   ั                                                      7

                               ั
ความสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบอาชญากรรม             8

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ถูกละเลย                      9

ประเด็นทีต้องศึกษาทังด้าน กฎหมาย เทคนิค และพฤติกรรม   10

ปัญหาในการสื บสวนสอบสวนดําเนินคดี                     11

การป้ องกันภัยจากการใช้อินเทอร์เน็ต                   12

อ้างอิง                                               13
4


                   อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทําผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรื อการใช้
คอมพิวเตอร์เพือกระทําผิดทางอาญา เช่น ทําลาย เปลียนแปลง หรื อขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็ นต้น ระบบ
คอมพิวเตอร์ในทีนี หมายรวมถึงระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทีเชือมกับระบบดังกล่าวด้วย
สําหรับอาชญากรรมในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์ เน็ต) อาจเรี ยกได้อีกอย่างหนึง คือ
  อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรทีก่ออาชญากรรมประเภทนี มักถูกเรี ยกว่า แครก
เกอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ
1.การกระทําการใด ๆ เกียวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทําให้เหยือได้รับความเสี ยหาย และผูกระทําได้รับ
                                                                                   ้
ผลประโยชน์ตอบแทน
2.การกระทําผิดกฎหมายใด ๆ ซึงใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็ นเครื องมือและในการสื บสวนสอบสวนของ
เจ้าหน้าทีเพือนําผูกระทําผิดมาดําเนินคดีตองใช้ความรู ้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกัน
                   ้                     ้


   การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสี ยหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจํานวน
มหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็ นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรื อ อาชญากรรมทางธุรกิจ
รู ปแบบ หนึงทีมีความสําคัญอาชญากรทางคอมพิวเตอร์
1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)
2. พวกวิกลจริ ต (Deranged persons)
3. อาชญากรทีรวมกลุ่มกระทําผิด (Organized crime)
4. อาชญากรอาชีพ (Career)
5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists)
6. พวกคลังลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues)
7. ผูทีมีความรู ้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker )
     ้
5


    Hacker หมายถึง บุคคลผูทีเป็ นอัจฉริ ยะ มีความรู ้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็ นอย่างดี สามารถเข้าไปถึง
                          ้
ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้ แต่อาจไม่แสวงหา
ผลประโยชน์
     Cracker หมายถึง ผูทีมีความรู ้และทักษะทางคอมพิวเตอร์ เป็ นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ ระบบได้ เพือเข้า
                       ้
ไปทําลายหรื อลบแฟ้ มข้อมูล หรื อทําให้ เครื องคอมพิวเตอร์ เสี ยหายรวมทังการทําลายระบบปฏิบติการของ
                                                                                             ั
เครื องคอมพิวเตอร์



                        อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ
    อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็ นการกระทําทีผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทาง
                                                       ่
อิเล็กทรอนิกส์เพือโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลทีอยูบนระบบดังกล่าว ส่ วนในมุมมองทีกว้างขึน
“อาชญากรรมทีเกียวเนืองกับคอมพิวเตอร์ ” หมายถึงการกระทําทีผิดกฎหมายใดๆ ซึงอาศัยหรื อมีความ
เกียวเนืองกับระบบคอมพิวเตอร์หรื อเครื อข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนีไม่ถือเป็ นอาชญากรรม
ทางคอมพิวเตอร์โดยตรง
ในการประชุมสหประชาชาติครังที 10 ว่าด้วยการป้ องกันอาชญากรรมและการปฏิบติต่อผูกระทําผิด (The
                                                                                ั   ้
Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึงจัดขึนที
กรุ งเวียนนา เมือวันที 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจําแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดย
แบ่งเป็ น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสี ยหายแก่ขอมูลหรื อโปรแกรม
                                                                              ้
คอมพิวเตอร์ , การก่อกวนการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์หรื อเครื อข่าย, การยับยังข้อมูลทีส่ งถึง/จากและ
ภายในระบบหรื อเครื อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์
โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and
Intellectual Property Theft) พยายามทีจะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ ขอมูล และค้นคว้าเกียวกับอาชญากรรม
                                                             ้
ทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ทีได้รับความนิยม ซึงส่ งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผูบริ โภค้
นอกจากนียังทําหน้าทีเผยแพร่ ความรู ้เกียวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปั ญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบนั
และความพยายามในการปัญหานี
 อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่
 1.การเงิน – อาชญากรรมทีขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทําธุ รกรรม อี-คอมเมิร์ซ(หรื อ
พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์)
6




    2.การละเมิดลิขสิ ทธิ – การคัดลอกผลงานทีมีลิขสิ ทธิ ในปัจจุบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอินเทอร์เน็ต
                                                                 ั
ถูกใช้เป็ นสื อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิด
ลิขสิ ทธิ ใดๆ ทีเกียวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพือจําหน่ายหรื อเผยแพร่ ผลงานสร้างสรรค์ทีได้รับการ
คุมครองลิขสิ ทธิ
  ้
 3. การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึงสิ ทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรื อเครื อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต
และในบางกรณี อาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนีโดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนีการเจาะระบบยังอาจ
รองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรู ปแบบอืนๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ)
                                                                        ่
   4.การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสื บเนืองจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุงหมายเพือสร้างความ
หวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทัวไป โดยการกระทําทีเข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-
terrorism) จะเกียวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์ เพือก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคลหรื อทรัพย์สิน หรื ออย่าง
             ่
น้อยก็มีจุดมุงหมายเพือสร้างความหวาดกลัว
 5.ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกําหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรื อการ
เผยแพร่ ภาพอนาจารเด็กถือเป็ นการกระทําทีผิดกฎหมาย และตามข้อกําหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ ภาพ
ลามกอนาจารในรู ปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็ นการกระทําทีขัดต่อกฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็ นเพียงช่องทาง
ใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื องวิธีทีเหมาะสมทีสุ ดในการควบคุมช่องทางการ
      ํ
สื อสารทีครอบคลุมทัวโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนีได้ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง


                           ่
 6.ภายในโรงเรี ยน – ถึงแม้วาอินเทอร์ เน็ตจะเป็ นแหล่งทรัพยากรสําหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่
เยาวชนจําเป็ นต้องได้รับทราบเกียวกับวิธีการใช้งานเครื องมืออันทรงพลังนีอย่างปลอดภัยและมีความ
รับผิดชอบ โดยเป้ าหมายหลักของโครงการนีคือ เพือกระตุนให้เด็กได้เรี ยนรู ้เกียวกับข้อกําหนดทางกฎหมาย
                                                         ้
สิ ทธิของตนเอง และวิธีทีเหมาะสมในการป้ องกันการใช้อินเทอร์เน็ตในทางทีผิด



                               วิวฒนาการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
                                  ั
                         ่
       สิ งใดมีคุณอนันต์ยอมมีโทษมหันต์ กิจกรรมประจําวันต่าง ๆ ของมนุษย์ลวนแต่ได้รับผลกระทบจาก
                                                                        ้
คอมพิวเตอร์ในรู ปแบบ สาระและเวลาทีแตกต่างกัน เช่น การใช้ ATM และการสื อสารทางโทรศัพท์ โดย
การเข้ามาแทนทีการทํางานของมนุษย์ เช่น การทอนและนับเงิน การบันทึกการให้บริ การ การออกใบเรี ยก
7


เก็บเงิน การสังซือสิ นค้า และการนําฝากเช็ค เป็ นต้น ทังนีชีวตมนุษย์อาจขึนกับการทํางานของคอมพิวเตอร์
                                                            ิ
เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการจราจรทางอากาศ หรื องานการรักษาพยาบาล นอกจากนัน คอมพิวเตอร์
ยังเก็บข้อมูลทีเป็ นความลับทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ หรื อข้อมูลส่ วนบุคคล เช่น แฟ้ มข้อมูล
บุคลากร แฟ้ มข้อมูลทีบันทึกคดีอาญา ข้อมูลทีบันทึกลงในคอมพิวเตอร์ จัดเก็บได้เป็ นจํานวนมาก ทีจัดเก็บมี
ขนาดเล็ก เช่น แผ่นดิสต์ หรื อ ฮาร์ดดิสต์ สามารถเรี ยกใช้หรื อดึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว จัดทําเครื อข่าย
เชือมโยงข้อมูล สามารถติดต่อถึงกันได้ทวประเทศหรื อทัวโลก
                                         ั
           จากแนวความคิดทีต้องการให้เครื องคอมพิวเตอร์ 2 เครื อง สามารถติดต่อคุยกัน แลกเปลียนข้อมูล
ระหว่างกันได้ มาสู่ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบน ซึงใน 1 เครื อข่ายนัน อาจมีจานวนเครื องทีเป็ น
                                                      ั                            ํ
สมาชิกเครื อข่าย นับสิ บนับร้อยเครื องเลยทีเดียว ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีนามาสู่ ระบบเครื อข่าย
                                                                              ํ
อินเทอร์ เน็ต ( InterNet ) ซึงสามารถติดต่อสื อสารกันระหว่างเครื อข่ายได้ทวโลก
                                                                         ั
   คอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ทําให้เกิดความเปลียนแปลง
   1. ในระดับพืนฐานของระบบเศรษฐกิจ เช่น ระบบการเงินทีทํางานผ่านทางสายโทรศัพท์ และเครื อง
คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
      2. ทําให้เกิดสิ นทรัพย์ (Commodity) ในรู ปแบบใหม่ อันได้แก่ ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual
Property))
     3. ทําให้เกิดการเปลียนแปลงของรู ปแบบสังคม (Societal Shift) โดยปรับเปลียนต่อเนืองจากสังคม
เกษตรกรรม (Agricultural) เป็ นสังคมอุตสาหกรรม (Industrial) มาเป็ นสังคมเทคโนโลยี (Technology)
     4. ทําให้เกิดรู ปแบบใหม่ของการใช้พลัง (Exercising Power) โดยมีลกษณะเป็ น องค์กรอาชญากรรม
                                                                    ั
และ การร่ วมกันก่อการร้าย



                                                   ั
                    ความสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบอาชญากรรม
จากการทีคอมพิวเตอร์มีคุณประโยชน์นานับประการ จึงมีผนาเทคโนโลยีเหล่านัน มาเป็ นช่องทาง หรื อเป็ น
                                                      ู้ ํ
                                                                                         ั
เครื องมือทีใช้ในการกระทําความผิด ซึงลักษณะหรื อรู ปแบบของความสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบ
อาชญากรรม พอสรุ ปได้ดงนีั
       1. คอมพิวเตอร์เป็ นเป้ าหมายในการก่ออาชญากรรม (Computer as Crime “Targets”) เช่น การลัก
ทรัพย์เครื องคอมพิวเตอร์ หรื อ ชินส่ วนของเครื องคอมพิวเตอร์ (ชิป หรื อ ส่ วนประกอบต่างๆ) โดยเฉพาะทีมี
ขนาดเล็ก แต่มีราคาแพง
8


      2. คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื องอํานวยความสะดวก ในการก่ออาชญากรรมในรู ปแบบ
”ดังเดิม” (Facilitation of “Traditional” Crimes) เช่น ใช้เครื องคอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูลลูกค้ายาเสพติด
หรื อ ในกรณี UNABOMBER ซึงอาชญากรใช้คอมพิวเตอร์ในการกําหนดตัวเหยือ จาก On-line Address
แล้วส่ งระเบิดแสวงเครื องไปทางไปรษณี ย ์ โดยวัตถุประสงค์เพือสังหารบุคคลทีชอบเทคโนโลยีชนสู ง    ั
       3. อาชญากรรมทีเกิดกับคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ (Computer-unique Crime) เช่น การสร้างให้ไวรัส
คอมพิวเตอร์ (Computer Virus) แพร่ ระบาดไปในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาทีจะสร้างความ
เสี ยหาย ,Nuke, การลักลอบเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ (Hacking /Cracking) , การละเมิดทรัพย์สินทาง
ปัญญาทีเกียวกับคอมพิวเตอร์ (Violation of Computer Intellectual Properties)
       4.คอมพิวเตอร์เป็ นเครื องมือในการประกอบอาชญากรรม(Computeras “Instrumentality” of Crimes)
เช่น การใช้เครื องคอมพิวเตอร์ในการโอนเงินจากบัญชีธนาคาร จากบัญชีหนึงไปเข้าอีกบัญชีหนึง โดยมี
เจตนาทุจริ ต ,ใช้เครื องคอมพิวเตอร์ในการเป็ นเจ้ามือรับพนันเอาทรัพย์สิน,หรื อ ใช้คอมพิวเตอร์ในการ
เผยแพร่ เอกสาร สิ งพิมพ์ รู ปภาพ หรื อ โฆษณาวัตถุ ลามก อนาจาร ผิดกฎหมาย

                         อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ถูกละเลย
    สาเหตุบางประการทีทําให้อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ถูกละเลย ไม่ได้รับความสนใจ
   1.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยธรรมชาติจะมีความไม่เป็ นส่ วนตัว (Impersonal) จึงไม่มีผลกระทบ
ต่อจิตใจและความรู ้สึก (Emotion) ของประชาชนโดยทัวไป และถูกมองข้ามไป
   2.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เช่น การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา (Theft of Intellectual Property),
การโอนเงินโดยผิดกฎหมาย (Unlawful Transfer of Money), การฉ้อโกงด้านการสื อสาร
(Telecommunication Fraud) มีความแตกต่างกับอาชญากรรมแบบดังเดิม ทีเจ้าหน้าทีตํารวจมีความคุนเคย
                                                                                         ้
และเข้าใจเป็ นอย่างดี เช่นการลักทรัพย์, ทําร้ายร่ างกาย อย่างสิ นเชิง
  3.เจ้าหน้าทีตํารวจมักจะมองไม่เห็นว่าอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์นี เป็ นปัญหาทีกระทบต่อ
ประสิ ทธิภาพการปฏิบติงานของตน จึงไม่ให้ความสนใจ
                      ั
  4. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์แตกต่างจากอาชญากรรมรุ นแรง (Violent Crime) จุดความ รู ้สึกให้เกิด
อารมณ์ ( Emotion )ในหมูชน จึงทําให้เจ้าหน้าทีผูรับผิดชอบมีความจําเป็ นทีจะต้องทุ่มเท สรรพกําลังไปใน
                       ่                       ้
การแก้ไขปัญหา อาชญากรรมในรู ปแบบทัวไป
  5.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีความเกียวพันอย่างยิงกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึงจะทําให้บุคคลทีไม่มี
                                                                                    ่
ความรู ้เกียวกับเทคโนโลยีทีเกียวข้อง เกิดความไม่กล้า (Intimidated) ในการทีจะเข้าไปยุงเกียวข้องด้วย
9


    6.บุคคลโดยส่ วนมากจะมองอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในลักษณะ “มิติเดียว” (Unidimensionally) ใน
ลักษณะสภาวะของเหตุการณ์ทีเกิดขึนเป็ นครังๆ ไป โดยปราศจากการมองให้ลึกซึงถึง ผลกระทบ ความ
รุ นแรง การแพร่ กระจาย และปริ มาณของความเสี ยหายทีเกิดขึน ในการก่ออาชญากรรมแต่ละครังนัน
   7.เทคโนโลยีทีเกียวข้อง และ ประสิ ทธิภาพในการใช้เทคโนโลยีของอาชญากร มีการพัฒนาทีรวดเร็ ว ทํา
ให้ยากต่อการเรี ยนรู ้ถึงความเปลียนแปลง ในวงการของอาชญากรรมประเภทนี
                                                                          ั
  8.ผูเ้ สี ยหาย กลับจะตกเป็ นผูทีถูกประนามว่า เป็ นผูเ้ ปิ ดช่องโอกาสให้กบอาชญากรในการกระทําผิด
                                ้
                                      ่
กฎหมาย เช่น ผูเ้ สี ยหายมักถูกตําหนิวาไม่มีการวางระบบการรักษาความปลอดภัยทีเหมาะสมกับโครงข่าย
งานคอมพิวเตอร์ บางครังจึงมักไม่กล้าเปิ ดเผยว่า ระบบของตนถูกบุกรุ กทําลาย
   9.ทรัพย์สินทางปัญญาโดยทัวไปจะไม่สามารถประเมินราคาความเสี ยหายได้อย่างแน่ชด จึงทําให้คน
                                                                            ั
ทัวไปไม่รู้สึกถึงความรุ นแรงของอาชญากรรมประเภทนี
    10.พนักงานเจ้าหน้าทีทีเกียวข้องอาจไม่มีความรู ้ ความชํานาญ หรื อ ความสามารถพอเพียงทีจะสอบสวน
           ั
ดําเนินคดีกบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
   11.บุคคลทัวไปมักมองเห็นว่า อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นี ไม่ได้เกิดขึนบ่อยครัง จึงไม่ควรค่าต่อการ
ให้ความสนใจ
  12.เจ้าหน้าทีมักใช้ความรู ้ความเข้าใจในอาชญากรรมแบบดังเดิมนํา มาใช้ในการ สื บสวนสอบสวนคดี
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ซึงเป็ นเหตุให้อาชญากรรมประเภทนีไม่ครบองค์ประกอบความผิดตาม
อาชญากรรมแบบดังเดิม และถูกมองข้ามไปโดยไม่พบการกระทําผิด
  13.เจ้าหน้าทีตํารวจโดยทัวไปไม่มีการเตรี ยมการเพือรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อย่างจริ งจัง
    14.ในปัจจุบนนี อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ไม่ใช่อาชญากรรมทีมีผลกระทบต่อความมันคงทางการ
                 ั
เมือง เมือเทียบกับอาชญากรรมทีเกียวกับทรัพย์ หรื อ ชีวิตร่ างกาย ซึงทําให้ประชาชนเกิดความรู ้สึกไม่
ปลอดภัยในชีวตและทรัพย์สิน
               ิ



            ประเด็นทีต้องศึกษาทังด้าน กฎหมาย เทคนิค และพฤติกรรม
     1.กฎหมาย รู ปแบบใหม่ตองออกมาเพือรองรับ อํานาจการสอบสวน จุดเกิดเหตุตาม ป.วิอาญา เวลา
                             ้
                                                                         ่
กระทําความผิด สถานทีทีทําผิด หลักฐานการทําผิดเช่น ถ้ามีระบบตรวจสอบได้วามีการใช้รหัสนีเข้าไป
กระทําความผิด จะถือว่าเป็ นหลักฐานทางกฎหมายได้หรื อไม่ เช่นกรณี คนไทยเล่นคาสิ โนบน Internet จะมี
10


การจัดการทางกฎหมายได้อย่างไร ในสหรัฐอเมริ กาใช้มาตรการทางภาษีโดยจัดเก็บภาษีคาสิ โน บน Internet
มากถึง 3-4 เท่าตัว ปัจจุบนแนวโน้มอาชญากรรมประเภทนีนับวันจะมีความรุ นแรงมากขึน
                         ั
      สํานักงานตํารวจแห่งชาติ ได้หามาตรการเพือรับมือกับเหล่าอาชญากร Computer ทีจะมาในรู ปแบบ
ต่างๆ โดยได้จดสัมมนาเรื องอาชญากรรม Computer ไปแล้วเมือ พ.ย.2539 โดยได้เชิญวิทยากรมาจาก
              ั
มหาวิทยาลัยมิชิแกน นอกจากนียังมีการร่ วมมือกับตํารวจสากลเพือหาเบาะแสคดีสาคัญทีเป็ นคดีระหว่าง
                                                                          ํ
                                                                ่
ประเทศ โดยมีศูนย์กลางข้อมูลทีติดต่อผ่านระบบ Computer on line อยูทีประเทศ สิ งคโปร์ และแผนต่อไปที
จะดําเนินการก็คือการตังศูนย์ในการปราบปรามอาชญากรรมทาง Computer ในภูมิภาคนี ร่ วมกับตํารวจ
อาเซียน
       2.เทคนิค ตรวจสอบและควบคุมการเข้าสู่ ระบบฐานข้อมูลภายในและนอกองค์กรสามารถทําได้ถึงขัน
ใด เพือไม่ให้เป็ นการละเมิดสิ ทธิส่วนบุคคล และปิ ดกันการศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ
      3.พฤติกรรม ชอบสนุก ชอบทําลาย ควรจะมีการอบรมทางด้านจริ ยธรรมแก่ผทีมีส่วนเกียวข้องกับงาน
                                                                                ู้
                                    ่
ด้าน Computer เช่น ถ้าเก็บสิ งของมีคาได้ ควรส่ งคืนเจ้าของ ในกรณี Computer ก็เช่นเดียวกันคือถ้ามี
ช่องทางในการทําทุจริ ต ก็ไม่ควรใช้โอกาสนีทําความผิด การ กลันแกล้งโดยการแพร่ กระจายไวรัส
Computer , Nuke ถือเป็ นสิ งไม่ควรปฏิบติ
                                       ั

                        ปัญหาในการสื บสวนสอบสวนดําเนินคดี
ปัญหาบางประการในการสื บสวนสอบสวนดําเนินคดีในอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
                       ั ้                      ุ      ํ                              ั
    1. กฎหมายอาญาปัจจุบนมีขอจํากัด ในการปรับใช้ยทธวิธีสาหรับอาชญากรรมแบบดังเดิม มาใช้กบ
อาชญากรรมสมัยใหม่
     2. อาชญากรมีความรู ้ ความเข้าใจ และใช้วธีการทางเทคโนโลยีมากยิงขึน ยากต่อการจับกุม
                                            ิ
     3. อาชญากรมีความฉลาดมากขึน
     4. การใช้เทคโนโลยีทาให้อาชญากร สามารถทีจะประกอบอาชญากรรมข้ามจังหวัดหรื อ ข้ามประเทศ
                        ํ
ได้โดยไม่ตองลุกออกจากโต๊ะทํางานทีบ้านของตนเอง ทําผิดได้โดยไม่ตองไปยังทีเกิดเหตุ
           ้                                                  ้
     5. รู ปแบบอาชญากรรมมีความเปลียนแปลงไป
    6. หลักฐานพยานในอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีลกษณะทีไม่สามารถจับต้องได้ เป็ นเพียงคลืน
                                                  ั
กระแสไฟฟ้ าและรหัสโปรแกรม ซึงสามารถถูกตังขึนให้ทาลายตัวเองได้
                                                ํ
11


      7. ระยะเวลาทีจะใช้ในการก่ออาชญากรรม(เวลาเกิดเหตุ) มีระยะสันมาก (อาจจะใช้เวลาเพียง 3/1000
วินาที)
      8. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ยากต่อการทําความเข้าใจ จึงทําให้ยากต่อการทีจะให้ได้รับการ
ยอมรับว่าเป็ นปัญหาอาชญากรรมร้ายแรงอย่างหนึง




                               การป้ องกันภัยจากการใช้อินเทอร์เน็ต
    1. ไม่บอกข้อมูลส่ วนตัว เช่น ชือ นามสกุล ทีอยู่ เบอร์ โทรศัพท์ ชือโรงเรี ยน ทีทํางาน หรื อเบอร์ทีทํางาน
เลขบัตรเครดิต ของตนเองและผูปกครอง ให้แก่บุคคลอืน ทีรู ้จกทาง อินเทอร์ เน็ต โดยไม่ขออนุญาตจาก
                                  ้                             ั
ผูปกครองก่อน
  ้
  2. แจ้งให้ผปกครอง ทราบโดยทันที หากพบข้อมูล หรื อรู ปภาพใดๆ บนอินเทอร์ เน็ตที หยาบคาย หรื อ ไม่
             ู้
เหมาะสม โดยประการทังปวง
    3. ไม่ไปพบ บุคคลใดก็ตาม ทีได้รู้จกทาง อินเทอร์ เน็ต โดยไม่ขออนุญาต จากผูปกครองก่อน และหาก
                                     ั                                      ้
ผูปกครองอนุญาต ให้ไปพบบุคคลนันได้ ก็จะไปพบเขา ในทีสาธารณะ ซึงมีคนผ่านไปมา โดยมีผปกครอง
  ้                                                                                      ู้
ไปด้วย
  4. ไม่ส่งรู ป เงิน หรื อสิ งของใดๆ ให้แก่ผอืน ทีรู ้จกทาง อินเทอร์ เน็ต โดยมิได้ขออนุญาตจาก ผูปกครอง
                                            ู้         ั                                        ้
ก่อน
 5. ไม่ตอบคําถาม หรื อตอบโต้ กับผูทีสื อข้อความ หยาบคาย หรื อไม่เหมาะสม และต้องแจ้งให้ ผูปกครอง
                                  ้                                                      ้
ทราบโดยทันที
                                 ั ้
 6. เคารพต่อข้อตกลงอืนๆ ทีให้ไว้กบ ผูปกครอง เช่น กําหนดระยะเวลา ทีจะใช้ อินเทอร์ เน็ต , เว็บไซต์ ที
จะเข้าไปได้ และข้อตกลงอืนๆ อย่างเคร่ งครัด
                                                ่
 7. ไม่พยายาม หลบเลียงกฎเกณฑ์ ทังหมดข้างต้น ไม่วาในกรณี ใด
12




อ้างอิง
http://www.gotoknow.org/posts/372559
http://www.microsoft.com/thailand/piracy/cybercrime.aspx
http://elearning.aru.ac.th/4000108/hum07/topic3/linkfile/print5.htm

More Related Content

What's hot (12)

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอล
 
แนน คอม Pdf
แนน คอม Pdfแนน คอม Pdf
แนน คอม Pdf
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
คอมดาวน
คอมดาวน คอมดาวน
คอมดาวน
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
โบว์Pdf
โบว์Pdfโบว์Pdf
โบว์Pdf
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
Aaaaa
AaaaaAaaaa
Aaaaa
 
คอมดาวน์
คอมดาวน์คอมดาวน์
คอมดาวน์
 

Viewers also liked (8)

สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2
 
NDLD
NDLD NDLD
NDLD
 
Media evalutaions Q3
Media evalutaions  Q3Media evalutaions  Q3
Media evalutaions Q3
 
Welcome to carboline
Welcome to carbolineWelcome to carboline
Welcome to carboline
 
เก๋
เก๋เก๋
เก๋
 
ppp
pppppp
ppp
 
Demo
DemoDemo
Demo
 
รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20
 

Similar to รายงานเจียบ

Similar to รายงานเจียบ (20)

อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
คอมน องใหม
คอมน องใหม คอมน องใหม
คอมน องใหม
 
คอมน องใหม
คอมน องใหม คอมน องใหม
คอมน องใหม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
คอมดาวน
คอมดาวน คอมดาวน
คอมดาวน
 
Bbbb
BbbbBbbb
Bbbb
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
เก๋
เก๋เก๋
เก๋
 
คอมจ๊ะ
คอมจ๊ะคอมจ๊ะ
คอมจ๊ะ
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
ครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdfครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdf
 
Poopdf
PoopdfPoopdf
Poopdf
 
ครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdfครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdf
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัย
 

More from ปิยะวุฒิ แกล้วกล้า (8)

ผ จ_ดทำ
ผ  จ_ดทำผ  จ_ดทำ
ผ จ_ดทำ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
Power point ปิยะวุฒิ แกล้วกล้า
Power point ปิยะวุฒิ แกล้วกล้าPower point ปิยะวุฒิ แกล้วกล้า
Power point ปิยะวุฒิ แกล้วกล้า
 

รายงานเจียบ

  • 1. 1 รายงาน เรื อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เสนอ อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทําโดย นางสาวเบญจวรรณ รัตนะรัต ชันม.6/3 เลขที 24 โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ จังหวัดตรัง
  • 2. 2 คํานํา รายงานเล่มนีเป็ นส่ วนหนึงของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทําขึนเพือได้ใช้เป็ น สื อการเรี ยนการสอนสําหรับรุ่ นหลังหรื อผูทีสนใจเกียวกับวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ้ หากมีขอผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ทีนีด้วย ้ จัดทําโดย นางสาวเบญจวรรณ รัตนะรัต
  • 3. 3 สารบัญ เรื อง หน้า อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 4 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ 5 วิวฒนาการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ั 7 ั ความสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบอาชญากรรม 8 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ถูกละเลย 9 ประเด็นทีต้องศึกษาทังด้าน กฎหมาย เทคนิค และพฤติกรรม 10 ปัญหาในการสื บสวนสอบสวนดําเนินคดี 11 การป้ องกันภัยจากการใช้อินเทอร์เน็ต 12 อ้างอิง 13
  • 4. 4 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทําผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรื อการใช้ คอมพิวเตอร์เพือกระทําผิดทางอาญา เช่น ทําลาย เปลียนแปลง หรื อขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็ นต้น ระบบ คอมพิวเตอร์ในทีนี หมายรวมถึงระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทีเชือมกับระบบดังกล่าวด้วย สําหรับอาชญากรรมในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์ เน็ต) อาจเรี ยกได้อีกอย่างหนึง คือ อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรทีก่ออาชญากรรมประเภทนี มักถูกเรี ยกว่า แครก เกอร์ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ 1.การกระทําการใด ๆ เกียวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทําให้เหยือได้รับความเสี ยหาย และผูกระทําได้รับ ้ ผลประโยชน์ตอบแทน 2.การกระทําผิดกฎหมายใด ๆ ซึงใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็ นเครื องมือและในการสื บสวนสอบสวนของ เจ้าหน้าทีเพือนําผูกระทําผิดมาดําเนินคดีตองใช้ความรู ้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกัน ้ ้ การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสี ยหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจํานวน มหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็ นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรื อ อาชญากรรมทางธุรกิจ รู ปแบบ หนึงทีมีความสําคัญอาชญากรทางคอมพิวเตอร์ 1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice) 2. พวกวิกลจริ ต (Deranged persons) 3. อาชญากรทีรวมกลุ่มกระทําผิด (Organized crime) 4. อาชญากรอาชีพ (Career) 5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists) 6. พวกคลังลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues) 7. ผูทีมีความรู ้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker ) ้
  • 5. 5 Hacker หมายถึง บุคคลผูทีเป็ นอัจฉริ ยะ มีความรู ้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็ นอย่างดี สามารถเข้าไปถึง ้ ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้ แต่อาจไม่แสวงหา ผลประโยชน์ Cracker หมายถึง ผูทีมีความรู ้และทักษะทางคอมพิวเตอร์ เป็ นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ ระบบได้ เพือเข้า ้ ไปทําลายหรื อลบแฟ้ มข้อมูล หรื อทําให้ เครื องคอมพิวเตอร์ เสี ยหายรวมทังการทําลายระบบปฏิบติการของ ั เครื องคอมพิวเตอร์ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็ นการกระทําทีผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทาง ่ อิเล็กทรอนิกส์เพือโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลทีอยูบนระบบดังกล่าว ส่ วนในมุมมองทีกว้างขึน “อาชญากรรมทีเกียวเนืองกับคอมพิวเตอร์ ” หมายถึงการกระทําทีผิดกฎหมายใดๆ ซึงอาศัยหรื อมีความ เกียวเนืองกับระบบคอมพิวเตอร์หรื อเครื อข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนีไม่ถือเป็ นอาชญากรรม ทางคอมพิวเตอร์โดยตรง ในการประชุมสหประชาชาติครังที 10 ว่าด้วยการป้ องกันอาชญากรรมและการปฏิบติต่อผูกระทําผิด (The ั ้ Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึงจัดขึนที กรุ งเวียนนา เมือวันที 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจําแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดย แบ่งเป็ น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสี ยหายแก่ขอมูลหรื อโปรแกรม ้ คอมพิวเตอร์ , การก่อกวนการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์หรื อเครื อข่าย, การยับยังข้อมูลทีส่ งถึง/จากและ ภายในระบบหรื อเครื อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามทีจะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ ขอมูล และค้นคว้าเกียวกับอาชญากรรม ้ ทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ทีได้รับความนิยม ซึงส่ งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผูบริ โภค้ นอกจากนียังทําหน้าทีเผยแพร่ ความรู ้เกียวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปั ญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบนั และความพยายามในการปัญหานี อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่ 1.การเงิน – อาชญากรรมทีขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทําธุ รกรรม อี-คอมเมิร์ซ(หรื อ พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์)
  • 6. 6 2.การละเมิดลิขสิ ทธิ – การคัดลอกผลงานทีมีลิขสิ ทธิ ในปัจจุบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอินเทอร์เน็ต ั ถูกใช้เป็ นสื อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิด ลิขสิ ทธิ ใดๆ ทีเกียวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพือจําหน่ายหรื อเผยแพร่ ผลงานสร้างสรรค์ทีได้รับการ คุมครองลิขสิ ทธิ ้ 3. การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึงสิ ทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรื อเครื อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และในบางกรณี อาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนีโดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนีการเจาะระบบยังอาจ รองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรู ปแบบอืนๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ) ่ 4.การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสื บเนืองจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุงหมายเพือสร้างความ หวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทัวไป โดยการกระทําทีเข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e- terrorism) จะเกียวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์ เพือก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคลหรื อทรัพย์สิน หรื ออย่าง ่ น้อยก็มีจุดมุงหมายเพือสร้างความหวาดกลัว 5.ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกําหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรื อการ เผยแพร่ ภาพอนาจารเด็กถือเป็ นการกระทําทีผิดกฎหมาย และตามข้อกําหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ ภาพ ลามกอนาจารในรู ปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็ นการกระทําทีขัดต่อกฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็ นเพียงช่องทาง ใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื องวิธีทีเหมาะสมทีสุ ดในการควบคุมช่องทางการ ํ สื อสารทีครอบคลุมทัวโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนีได้ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง ่ 6.ภายในโรงเรี ยน – ถึงแม้วาอินเทอร์ เน็ตจะเป็ นแหล่งทรัพยากรสําหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่ เยาวชนจําเป็ นต้องได้รับทราบเกียวกับวิธีการใช้งานเครื องมืออันทรงพลังนีอย่างปลอดภัยและมีความ รับผิดชอบ โดยเป้ าหมายหลักของโครงการนีคือ เพือกระตุนให้เด็กได้เรี ยนรู ้เกียวกับข้อกําหนดทางกฎหมาย ้ สิ ทธิของตนเอง และวิธีทีเหมาะสมในการป้ องกันการใช้อินเทอร์เน็ตในทางทีผิด วิวฒนาการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ั ่ สิ งใดมีคุณอนันต์ยอมมีโทษมหันต์ กิจกรรมประจําวันต่าง ๆ ของมนุษย์ลวนแต่ได้รับผลกระทบจาก ้ คอมพิวเตอร์ในรู ปแบบ สาระและเวลาทีแตกต่างกัน เช่น การใช้ ATM และการสื อสารทางโทรศัพท์ โดย การเข้ามาแทนทีการทํางานของมนุษย์ เช่น การทอนและนับเงิน การบันทึกการให้บริ การ การออกใบเรี ยก
  • 7. 7 เก็บเงิน การสังซือสิ นค้า และการนําฝากเช็ค เป็ นต้น ทังนีชีวตมนุษย์อาจขึนกับการทํางานของคอมพิวเตอร์ ิ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการจราจรทางอากาศ หรื องานการรักษาพยาบาล นอกจากนัน คอมพิวเตอร์ ยังเก็บข้อมูลทีเป็ นความลับทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ หรื อข้อมูลส่ วนบุคคล เช่น แฟ้ มข้อมูล บุคลากร แฟ้ มข้อมูลทีบันทึกคดีอาญา ข้อมูลทีบันทึกลงในคอมพิวเตอร์ จัดเก็บได้เป็ นจํานวนมาก ทีจัดเก็บมี ขนาดเล็ก เช่น แผ่นดิสต์ หรื อ ฮาร์ดดิสต์ สามารถเรี ยกใช้หรื อดึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว จัดทําเครื อข่าย เชือมโยงข้อมูล สามารถติดต่อถึงกันได้ทวประเทศหรื อทัวโลก ั จากแนวความคิดทีต้องการให้เครื องคอมพิวเตอร์ 2 เครื อง สามารถติดต่อคุยกัน แลกเปลียนข้อมูล ระหว่างกันได้ มาสู่ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบน ซึงใน 1 เครื อข่ายนัน อาจมีจานวนเครื องทีเป็ น ั ํ สมาชิกเครื อข่าย นับสิ บนับร้อยเครื องเลยทีเดียว ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีนามาสู่ ระบบเครื อข่าย ํ อินเทอร์ เน็ต ( InterNet ) ซึงสามารถติดต่อสื อสารกันระหว่างเครื อข่ายได้ทวโลก ั คอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ทําให้เกิดความเปลียนแปลง 1. ในระดับพืนฐานของระบบเศรษฐกิจ เช่น ระบบการเงินทีทํางานผ่านทางสายโทรศัพท์ และเครื อง คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น 2. ทําให้เกิดสิ นทรัพย์ (Commodity) ในรู ปแบบใหม่ อันได้แก่ ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)) 3. ทําให้เกิดการเปลียนแปลงของรู ปแบบสังคม (Societal Shift) โดยปรับเปลียนต่อเนืองจากสังคม เกษตรกรรม (Agricultural) เป็ นสังคมอุตสาหกรรม (Industrial) มาเป็ นสังคมเทคโนโลยี (Technology) 4. ทําให้เกิดรู ปแบบใหม่ของการใช้พลัง (Exercising Power) โดยมีลกษณะเป็ น องค์กรอาชญากรรม ั และ การร่ วมกันก่อการร้าย ั ความสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบอาชญากรรม จากการทีคอมพิวเตอร์มีคุณประโยชน์นานับประการ จึงมีผนาเทคโนโลยีเหล่านัน มาเป็ นช่องทาง หรื อเป็ น ู้ ํ ั เครื องมือทีใช้ในการกระทําความผิด ซึงลักษณะหรื อรู ปแบบของความสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบ อาชญากรรม พอสรุ ปได้ดงนีั 1. คอมพิวเตอร์เป็ นเป้ าหมายในการก่ออาชญากรรม (Computer as Crime “Targets”) เช่น การลัก ทรัพย์เครื องคอมพิวเตอร์ หรื อ ชินส่ วนของเครื องคอมพิวเตอร์ (ชิป หรื อ ส่ วนประกอบต่างๆ) โดยเฉพาะทีมี ขนาดเล็ก แต่มีราคาแพง
  • 8. 8 2. คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื องอํานวยความสะดวก ในการก่ออาชญากรรมในรู ปแบบ ”ดังเดิม” (Facilitation of “Traditional” Crimes) เช่น ใช้เครื องคอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูลลูกค้ายาเสพติด หรื อ ในกรณี UNABOMBER ซึงอาชญากรใช้คอมพิวเตอร์ในการกําหนดตัวเหยือ จาก On-line Address แล้วส่ งระเบิดแสวงเครื องไปทางไปรษณี ย ์ โดยวัตถุประสงค์เพือสังหารบุคคลทีชอบเทคโนโลยีชนสู ง ั 3. อาชญากรรมทีเกิดกับคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ (Computer-unique Crime) เช่น การสร้างให้ไวรัส คอมพิวเตอร์ (Computer Virus) แพร่ ระบาดไปในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาทีจะสร้างความ เสี ยหาย ,Nuke, การลักลอบเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ (Hacking /Cracking) , การละเมิดทรัพย์สินทาง ปัญญาทีเกียวกับคอมพิวเตอร์ (Violation of Computer Intellectual Properties) 4.คอมพิวเตอร์เป็ นเครื องมือในการประกอบอาชญากรรม(Computeras “Instrumentality” of Crimes) เช่น การใช้เครื องคอมพิวเตอร์ในการโอนเงินจากบัญชีธนาคาร จากบัญชีหนึงไปเข้าอีกบัญชีหนึง โดยมี เจตนาทุจริ ต ,ใช้เครื องคอมพิวเตอร์ในการเป็ นเจ้ามือรับพนันเอาทรัพย์สิน,หรื อ ใช้คอมพิวเตอร์ในการ เผยแพร่ เอกสาร สิ งพิมพ์ รู ปภาพ หรื อ โฆษณาวัตถุ ลามก อนาจาร ผิดกฎหมาย อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ถูกละเลย สาเหตุบางประการทีทําให้อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ถูกละเลย ไม่ได้รับความสนใจ 1.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยธรรมชาติจะมีความไม่เป็ นส่ วนตัว (Impersonal) จึงไม่มีผลกระทบ ต่อจิตใจและความรู ้สึก (Emotion) ของประชาชนโดยทัวไป และถูกมองข้ามไป 2.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เช่น การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา (Theft of Intellectual Property), การโอนเงินโดยผิดกฎหมาย (Unlawful Transfer of Money), การฉ้อโกงด้านการสื อสาร (Telecommunication Fraud) มีความแตกต่างกับอาชญากรรมแบบดังเดิม ทีเจ้าหน้าทีตํารวจมีความคุนเคย ้ และเข้าใจเป็ นอย่างดี เช่นการลักทรัพย์, ทําร้ายร่ างกาย อย่างสิ นเชิง 3.เจ้าหน้าทีตํารวจมักจะมองไม่เห็นว่าอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์นี เป็ นปัญหาทีกระทบต่อ ประสิ ทธิภาพการปฏิบติงานของตน จึงไม่ให้ความสนใจ ั 4. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์แตกต่างจากอาชญากรรมรุ นแรง (Violent Crime) จุดความ รู ้สึกให้เกิด อารมณ์ ( Emotion )ในหมูชน จึงทําให้เจ้าหน้าทีผูรับผิดชอบมีความจําเป็ นทีจะต้องทุ่มเท สรรพกําลังไปใน ่ ้ การแก้ไขปัญหา อาชญากรรมในรู ปแบบทัวไป 5.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีความเกียวพันอย่างยิงกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึงจะทําให้บุคคลทีไม่มี ่ ความรู ้เกียวกับเทคโนโลยีทีเกียวข้อง เกิดความไม่กล้า (Intimidated) ในการทีจะเข้าไปยุงเกียวข้องด้วย
  • 9. 9 6.บุคคลโดยส่ วนมากจะมองอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในลักษณะ “มิติเดียว” (Unidimensionally) ใน ลักษณะสภาวะของเหตุการณ์ทีเกิดขึนเป็ นครังๆ ไป โดยปราศจากการมองให้ลึกซึงถึง ผลกระทบ ความ รุ นแรง การแพร่ กระจาย และปริ มาณของความเสี ยหายทีเกิดขึน ในการก่ออาชญากรรมแต่ละครังนัน 7.เทคโนโลยีทีเกียวข้อง และ ประสิ ทธิภาพในการใช้เทคโนโลยีของอาชญากร มีการพัฒนาทีรวดเร็ ว ทํา ให้ยากต่อการเรี ยนรู ้ถึงความเปลียนแปลง ในวงการของอาชญากรรมประเภทนี ั 8.ผูเ้ สี ยหาย กลับจะตกเป็ นผูทีถูกประนามว่า เป็ นผูเ้ ปิ ดช่องโอกาสให้กบอาชญากรในการกระทําผิด ้ ่ กฎหมาย เช่น ผูเ้ สี ยหายมักถูกตําหนิวาไม่มีการวางระบบการรักษาความปลอดภัยทีเหมาะสมกับโครงข่าย งานคอมพิวเตอร์ บางครังจึงมักไม่กล้าเปิ ดเผยว่า ระบบของตนถูกบุกรุ กทําลาย 9.ทรัพย์สินทางปัญญาโดยทัวไปจะไม่สามารถประเมินราคาความเสี ยหายได้อย่างแน่ชด จึงทําให้คน ั ทัวไปไม่รู้สึกถึงความรุ นแรงของอาชญากรรมประเภทนี 10.พนักงานเจ้าหน้าทีทีเกียวข้องอาจไม่มีความรู ้ ความชํานาญ หรื อ ความสามารถพอเพียงทีจะสอบสวน ั ดําเนินคดีกบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 11.บุคคลทัวไปมักมองเห็นว่า อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นี ไม่ได้เกิดขึนบ่อยครัง จึงไม่ควรค่าต่อการ ให้ความสนใจ 12.เจ้าหน้าทีมักใช้ความรู ้ความเข้าใจในอาชญากรรมแบบดังเดิมนํา มาใช้ในการ สื บสวนสอบสวนคดี อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ซึงเป็ นเหตุให้อาชญากรรมประเภทนีไม่ครบองค์ประกอบความผิดตาม อาชญากรรมแบบดังเดิม และถูกมองข้ามไปโดยไม่พบการกระทําผิด 13.เจ้าหน้าทีตํารวจโดยทัวไปไม่มีการเตรี ยมการเพือรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อย่างจริ งจัง 14.ในปัจจุบนนี อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ไม่ใช่อาชญากรรมทีมีผลกระทบต่อความมันคงทางการ ั เมือง เมือเทียบกับอาชญากรรมทีเกียวกับทรัพย์ หรื อ ชีวิตร่ างกาย ซึงทําให้ประชาชนเกิดความรู ้สึกไม่ ปลอดภัยในชีวตและทรัพย์สิน ิ ประเด็นทีต้องศึกษาทังด้าน กฎหมาย เทคนิค และพฤติกรรม 1.กฎหมาย รู ปแบบใหม่ตองออกมาเพือรองรับ อํานาจการสอบสวน จุดเกิดเหตุตาม ป.วิอาญา เวลา ้ ่ กระทําความผิด สถานทีทีทําผิด หลักฐานการทําผิดเช่น ถ้ามีระบบตรวจสอบได้วามีการใช้รหัสนีเข้าไป กระทําความผิด จะถือว่าเป็ นหลักฐานทางกฎหมายได้หรื อไม่ เช่นกรณี คนไทยเล่นคาสิ โนบน Internet จะมี
  • 10. 10 การจัดการทางกฎหมายได้อย่างไร ในสหรัฐอเมริ กาใช้มาตรการทางภาษีโดยจัดเก็บภาษีคาสิ โน บน Internet มากถึง 3-4 เท่าตัว ปัจจุบนแนวโน้มอาชญากรรมประเภทนีนับวันจะมีความรุ นแรงมากขึน ั สํานักงานตํารวจแห่งชาติ ได้หามาตรการเพือรับมือกับเหล่าอาชญากร Computer ทีจะมาในรู ปแบบ ต่างๆ โดยได้จดสัมมนาเรื องอาชญากรรม Computer ไปแล้วเมือ พ.ย.2539 โดยได้เชิญวิทยากรมาจาก ั มหาวิทยาลัยมิชิแกน นอกจากนียังมีการร่ วมมือกับตํารวจสากลเพือหาเบาะแสคดีสาคัญทีเป็ นคดีระหว่าง ํ ่ ประเทศ โดยมีศูนย์กลางข้อมูลทีติดต่อผ่านระบบ Computer on line อยูทีประเทศ สิ งคโปร์ และแผนต่อไปที จะดําเนินการก็คือการตังศูนย์ในการปราบปรามอาชญากรรมทาง Computer ในภูมิภาคนี ร่ วมกับตํารวจ อาเซียน 2.เทคนิค ตรวจสอบและควบคุมการเข้าสู่ ระบบฐานข้อมูลภายในและนอกองค์กรสามารถทําได้ถึงขัน ใด เพือไม่ให้เป็ นการละเมิดสิ ทธิส่วนบุคคล และปิ ดกันการศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ 3.พฤติกรรม ชอบสนุก ชอบทําลาย ควรจะมีการอบรมทางด้านจริ ยธรรมแก่ผทีมีส่วนเกียวข้องกับงาน ู้ ่ ด้าน Computer เช่น ถ้าเก็บสิ งของมีคาได้ ควรส่ งคืนเจ้าของ ในกรณี Computer ก็เช่นเดียวกันคือถ้ามี ช่องทางในการทําทุจริ ต ก็ไม่ควรใช้โอกาสนีทําความผิด การ กลันแกล้งโดยการแพร่ กระจายไวรัส Computer , Nuke ถือเป็ นสิ งไม่ควรปฏิบติ ั ปัญหาในการสื บสวนสอบสวนดําเนินคดี ปัญหาบางประการในการสื บสวนสอบสวนดําเนินคดีในอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ั ้ ุ ํ ั 1. กฎหมายอาญาปัจจุบนมีขอจํากัด ในการปรับใช้ยทธวิธีสาหรับอาชญากรรมแบบดังเดิม มาใช้กบ อาชญากรรมสมัยใหม่ 2. อาชญากรมีความรู ้ ความเข้าใจ และใช้วธีการทางเทคโนโลยีมากยิงขึน ยากต่อการจับกุม ิ 3. อาชญากรมีความฉลาดมากขึน 4. การใช้เทคโนโลยีทาให้อาชญากร สามารถทีจะประกอบอาชญากรรมข้ามจังหวัดหรื อ ข้ามประเทศ ํ ได้โดยไม่ตองลุกออกจากโต๊ะทํางานทีบ้านของตนเอง ทําผิดได้โดยไม่ตองไปยังทีเกิดเหตุ ้ ้ 5. รู ปแบบอาชญากรรมมีความเปลียนแปลงไป 6. หลักฐานพยานในอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีลกษณะทีไม่สามารถจับต้องได้ เป็ นเพียงคลืน ั กระแสไฟฟ้ าและรหัสโปรแกรม ซึงสามารถถูกตังขึนให้ทาลายตัวเองได้ ํ
  • 11. 11 7. ระยะเวลาทีจะใช้ในการก่ออาชญากรรม(เวลาเกิดเหตุ) มีระยะสันมาก (อาจจะใช้เวลาเพียง 3/1000 วินาที) 8. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ยากต่อการทําความเข้าใจ จึงทําให้ยากต่อการทีจะให้ได้รับการ ยอมรับว่าเป็ นปัญหาอาชญากรรมร้ายแรงอย่างหนึง การป้ องกันภัยจากการใช้อินเทอร์เน็ต 1. ไม่บอกข้อมูลส่ วนตัว เช่น ชือ นามสกุล ทีอยู่ เบอร์ โทรศัพท์ ชือโรงเรี ยน ทีทํางาน หรื อเบอร์ทีทํางาน เลขบัตรเครดิต ของตนเองและผูปกครอง ให้แก่บุคคลอืน ทีรู ้จกทาง อินเทอร์ เน็ต โดยไม่ขออนุญาตจาก ้ ั ผูปกครองก่อน ้ 2. แจ้งให้ผปกครอง ทราบโดยทันที หากพบข้อมูล หรื อรู ปภาพใดๆ บนอินเทอร์ เน็ตที หยาบคาย หรื อ ไม่ ู้ เหมาะสม โดยประการทังปวง 3. ไม่ไปพบ บุคคลใดก็ตาม ทีได้รู้จกทาง อินเทอร์ เน็ต โดยไม่ขออนุญาต จากผูปกครองก่อน และหาก ั ้ ผูปกครองอนุญาต ให้ไปพบบุคคลนันได้ ก็จะไปพบเขา ในทีสาธารณะ ซึงมีคนผ่านไปมา โดยมีผปกครอง ้ ู้ ไปด้วย 4. ไม่ส่งรู ป เงิน หรื อสิ งของใดๆ ให้แก่ผอืน ทีรู ้จกทาง อินเทอร์ เน็ต โดยมิได้ขออนุญาตจาก ผูปกครอง ู้ ั ้ ก่อน 5. ไม่ตอบคําถาม หรื อตอบโต้ กับผูทีสื อข้อความ หยาบคาย หรื อไม่เหมาะสม และต้องแจ้งให้ ผูปกครอง ้ ้ ทราบโดยทันที ั ้ 6. เคารพต่อข้อตกลงอืนๆ ทีให้ไว้กบ ผูปกครอง เช่น กําหนดระยะเวลา ทีจะใช้ อินเทอร์ เน็ต , เว็บไซต์ ที จะเข้าไปได้ และข้อตกลงอืนๆ อย่างเคร่ งครัด ่ 7. ไม่พยายาม หลบเลียงกฎเกณฑ์ ทังหมดข้างต้น ไม่วาในกรณี ใด