SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
จัดทำโดย นางสุนิศา  โชติกลาง   และ   น ารีรัตน์  ฟักสมบูรณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสุรนารีวิทยา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต  1
จุดประสงค์ ,[object Object]
วัตถุผิวโค้ง เลนส์นูน เลนส์เว้า กระจกเว้า กระจกนูน
เลนส์นูน  ( convex lens) ประโยชน์     ใช้ทำแว่นตาสำหรับคนสายตายาว  ทำแว่นขยาย  และเป็นส่วนประกอบของกล่องส่องทางไกล  กล้องถ่ายรูป กล้องจุลทรรศน์  B A C ลักษณะ    ขอบเลนส์บางกว่าตรงกลาง    ด้านโค้งนูนรับแสง  มีสมบัติรวมแสงหักเห    ให้ได้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน A  เลนส์นูน  2  ด้าน B   เลนส์นูนแกมระนาบ C   เลนส์นูนแกมเว้า จากรูป
ส่วนประกอบของเลนส์นูน A B F C O M N AB   เส้นแกนมุขสำคัญ O  จุดกึ่งกลางเลนส์ MN  เส้นแบ่งครึ่งเลนส์ F  จุดโฟกัส OC  รัศมีความโค้งของเลนส์ OF  ความยาวโฟกัส   รังสีตกกระทบ   รังสีหักเห
F วัตถุ ภาพ 1.  ลากเส้นแกนมุขสำคัญ  เขียนเลนส์ที่ต้องการ แล้วกำหนดจุด  F  2  .  เขียนวัตถุที่ระยะที่ต้องการ  3.  ลากรังสีจากจุดยอดของวัตถุให้ขนานกับเส้นแกนมุขสำคัญ   ไปตกกระทบเลนส์  แล้วเขียนรังสีหักเหผ่านจุด  F   4.  ลากรังสีจากจุดยอดของวัตถุผ่านจุดกึ่งกลางเลนส์  ตำแหน่งที่รังสีนี้ตัดกับรังสีข้อ  3    คือ  ตำแหน่งที่เกิดภาพ  โดยจุดตัด  คือ  จุดยอดของภาพ การเขียนภาพที่เกิดจากเลนส์   
การเกิดภาพบนเลนส์ เลนส์นูน เลนส์เว้า
F 2F F วัตถุ ภาพ วัตถุอยู่ที่ระยะ  2  เท่า ของความยาวโฟกัส  ( u = 2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ   ขนาดเท่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  2  เท่าของความยาวโฟกัส 2F การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีหักเหผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง รังสีหักเหอยู่แนวเดิม ***  รังสีทั้งสองตัดกันคือตำแหน่งภาพ 1 2
F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า  2  เท่า ของความยาวโฟกัส  ( u >2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  2  เท่าของความยาวโฟกัส 2F ภาพ ภาพ 1 2
F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า  1  เท่า ของความยาวโฟกัส  แต่ไม่ถึง  2  เท่าของความยาวโฟกัส  ( u >F<2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ   ขนาดโตกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  > 2  เท่าของความยาวโฟกัส 2F ภาพ 2F 1 2
F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส  ( u =F ) ไม่เกิดภาพ   หรือเกิดภาพที่ระยะอนันต์ 2F ภาพ
F 2F F วัตถุ ภาพ วัตถุอยู่ที่ระยะใกล้กว่าความยาวโฟกัส  ( u < F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดโตกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  >   ความยาวโฟกัส 2F
F 2F F วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์  ( u =  ∞ ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์  เป็น ภาพจริง  ขนาดเล็กมากหรือเป็นจุด   อยู่ที่จุดโฟกัส  ดังนั้น ความยาวโฟกัสของเลนส์นูน จึงเป็นโฟกัสจริง  2F ภาพ
เลนส์เว้า  (concave lens) ลักษณะ    ตรงกลางเลนส์บางกว่าตรงขอบ    ด้านโค้งเว้ารับแสง  มีสมบัติกระจายแสงหักเห    ให้เฉพาะภาพเสมือน  ขนาดเล็กกว่าวัตถุ    ประโยชน์   ใช้ทำแว่นตาสำหรับ  คนสายตาสั้น  กล้องจุลทรรศน์  A  เลนส์เว้า  2  ด้าน B  เลนส์เว้าแกมระนาบ C  เลนส์เว้าแกมนูน A B C จากรูป
. . . . . F ส่วนประกอบของเลนส์เว้า AB   เส้นแกนมุขสำคัญ O  จุดกึ่งกลางเลนส์ MN  เส้นแบ่งครึ่งเลนส์ F  จุดโฟกัสเสมือน OC  รัศมีความโค้งของเลนส์ OF  ความยาวโฟกัส   รังสีตกกระทบ   รังสีหักเห A B O M N C
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า โดยการเขียนรูปเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ
วัตถุอยู่ที่ระยะ  2  เท่า ของความยาวโฟกัส  ( u = 2F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  ความยาวโฟกัส F 2F วัตถุ ภาพ การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานแกนมุขสำคัญ  รังสีหักเหเสมือนผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางเลนส์  รังสีหักเหจะอยู่ในแนวเดิม  ***  รังสีทั้งสองตัดกันคือตำแหน่งภาพ 1 2
วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า  2  เท่า ของความยาวโฟกัส  ( u > 2F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  ความยาวโฟกัส F 2F
. . . . . เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  ความยาวโฟกัส F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า  1  เท่า ของความยาวโฟกัส  แต่ไม่ถึง  2  เท่าของความยาวโฟกัส  ( u >F<2F )
. . . . . วัตถุอยู่ที่ความยาวโฟกัส  ( u = F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  ความยาวโฟกัส F 2F
. . . . . วัตถุอยู่ที่ระยะใกล้กว่าความยาวโฟกัส  ( u < F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  ความยาวโฟกัส F 2F การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีหักเหเสมือนไปตัดที่โฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางเลนส์  รังสี หักเหกลับทางเดิม 1 1 2
. . . . . เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   อยู่ที่จุดโฟกัส  ดังนั้น ความยาวโฟกัสของเลนส์จึงเป็นโฟกัสเสมือน F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะ อนันต์  ( u =  ∞ ) ภาพ
สรุปการเกิดภาพกับเลนส์นูนเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U  = ∞  ภาพจริง  หัวกลับ หลังเลนส์ เล็กเป็นจุด u < ∞ >2f ภาพจริง  หัวกลับ หลังเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ U  =  2f ภาพจริง  หัวกลับ หลังเลนส์ เท่าวัตถุ u > f < 2f ภาพจริง  หัวกลับ หลังเลนส์ โตกว่าวัตถุ u = f ภาพจริง  หัวกลับ หลังเลนส์ ไม่เกิดภาพ u < f ภาพเสมือน  หัวตั้ง  หน้าเลนส์ โตกว่าวัตถุ
สรุปการเกิดภาพกับเลนส์เว้าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U  = ∞  ภาพเสมือนหัวตั้ง  หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u < ∞ >2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ U  =  2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u > f < 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u = f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u < f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ
การเกิดภาพบนกระจกโค้ง กระจกนูน กระจกเว้า
กระจกโค้งเว้า     หมายถึง  กระจกที่มีส่วนโค้งด้านเว้ารับแสง ทำหน้าที่ รวมของรังสีสะท้อน   ให้ภาพจริงหัวกลับ อยู่หน้ากระจก เอาฉากรับได้   กระจกโค้ง กระจกนูน  หมายถึง  กระจกที่มีส่วนโค้งด้านนูนรับแสง ทำหน้าที่ กระจายรังสีสะท้อน   ภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุ อยู่หลังกระจก หัวตั้งเหมือนวัตถุไม่สามารถเอาฉากรับได้
C   คือ  จุดศูนย์กลางความโค้ง O   คือ  ขั้วกระจก  F   คือ  จุดโฟกัส C  F  O   คือ  เส้นแกนมุขสำคัญ OF   คือ  ความยาวโฟกัส  R   คือ  รัศมีความโค้งของกระจก  =   2 f ก .  กระจกเว้า  ( รวมแสง ) ข . กระจกนูน  ( กระจายแสง ) ส่วนประกอบของกระจก
การสะท้อนแสงผ่านกระจกโค้ง จากรูป ก  จากรูป ข แสงขนานตกกระทบกระจกเว้า รังสีสะท้อน  แสงขนานตกระทบกระจกนูน  รังสีสะท้อนจะเสมือน จะตัดกันหน้ากระจก  เรียกว่า โฟกัสจริง  ไปตัดกันด้านหลังกระจก  เรียกว่า โฟกัสเสมือน  ก . กระจกเว้า ข . กระจกนูน
การเขียนภาพที่เกิดจากกระจกโค้ง กรณีที่วัตถุมีขนาด เขียนรังสีตกกระทบ  3  เส้น เส้นที่  1  เป็นรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญซึ่งต้องสะท้อนผ่านจุดโฟกัส เส้นที่  2  รังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ เส้นที่  3  รังสีตกกระทบผ่านจุกศูนย์กลางความโค้งจะสะท้อนกลับทางเดิม จุดตัดกันของรังสีสะท้อนทั้ง  3  เส้น คือ ภาพปลายของวัตถุนั้น **  ปกติเราเขียนรังสีเพียง  2  เส้นก็พอ และนิยมเขียนเส้นที่  1  กับ  3
F 2F Object Image เกิดภาพจริง  ขนาดเท่ากับวัตถุ  ที่ตำแหน่ง  2 F วัตถุอยู่ที่ระยะ  2  เท่าของความยาวโฟกัส  ( u = 2F ) กระจกเว้า ภาพที่เกิดจากกระจกเมื่อวางวัตถุไว้ที่ระยะต่างๆ กัน การเขียนภาพ 1. ลากรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. ลากรังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส  รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ 1 2
F 2F Object Image เกิดภาพจริง  ขนาดเล็กว่าวัตถุ  ที่ตำแหน่ง  <  2 F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า  2  เท่า ของความยาวโฟกัส  ( u > 2F ) กระจกเว้า การเขียนภาพ 1. ลากรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. ลากรังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส  รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ 1 2
F 2F Object Image เกิดภาพจริง  ขนาดโตกว่าวัตถุ  ที่ตำแหน่ง  >  2 F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่าความยาวโฟกัส  แต่ไม่เกิน  2  เท่าของความยาวโฟกัส  ( u > F<2F ) กระจกเว้า 1 2
F 2F ไม่เกิดภาพ  หรือเกิดที่ระยะอนันต์ วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส  ( u = F ) Object กระจกเว้า การเขียนภาพ 1.  เขียนรังสีตกกระทบขนานแกนมุขสำคัญ  รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2.  รังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง รังสีสะท้อนจะกลับแนวเดิม 1 2
F 2F เกิดภาพเสมือน   โตกว่าวัตถุ  อยู่หลังกระจก วัตถุอยู่ที่ระยะน้อยกว่าความยาวโฟกัส  ( u < F ) Object Image กระจกเว้า การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง  รังสีสะท้อนกลับทางเดิม
F 2F เกิดภาพจริง  เป็นจุดขนาดเล็ก  ที่จุด  F  เรียกว่า  โฟกัสจริง วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์  ( u =  ∞ ) กระจกเว้า Image
F 2F Object Image เกิดภาพเสมือน  ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ที่ตำแหน่ง  < F วัตถุอยู่ที่ระยะ  2  เท่าของความยาวโฟกัส  ( u = 2F ) กระจกนูน F 2F ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1 2 ***
F 2F Object Image เกิดภาพเสมือน ขนาดเท่ากับวัตถุ  ที่ตำแหน่ง  2 F วัตถุอยู่ที่ระยะความยาวโฟกัส  ( u = F ) กระจกนูน F 2F 1 2 *** การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีสะท้อนเสมือนไปตัดที่จุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง  สะท้อนกลับแนวเดิม
F 2F Object Image เกิดภาพเสมือน  ขนาดเล็กวัตถุ  ที่ตำแหน่ง  < F วัตถุอยู่ที่ระยะน้อยกว่าความยาวโฟกัส  ( u = < F ) กระจกนูน F 2F 1 2 ***
F 2F Image กระจกนูน F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์  ( u =  ∞ ) ภาพเสมือน   เป็นจุด  ที่หลังกระจก  เรียกว่าโฟกัสเสมือน
สรุปการเกิดภาพกับกระจกเว้าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U  = ∞  ภาพจริง  หัวกลับ หน้ากระจก เล็กเป็นจุด u < ∞ >2f ภาพจริง  หัวกลับ หน้ากระจก เล็กกว่าวัตถุ U  =  2f ภาพจริง  หัวกลับ หน้ากระจก เท่าวัตถุ u > f < 2f ภาพจริง  หัวกลับ หน้ากระจก โตกว่าวัตถุ u = f ภาพจริง  หัวกลับ หน้ากระจก ไม่เกิดภาพ u < f ภาพเสมือน  หัวตั้ง  หลังกระจก โตกว่าวัตถุ
สรุปการเกิดภาพกับกระจกนูนเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U  = ∞  ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u < ∞ >2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ U  =  2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u > f < 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u = f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u < f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ

More Related Content

What's hot

บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าsripai52
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 

What's hot (20)

บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้า
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 

Similar to Light[1]

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงพัน พัน
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phographyedtech29
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์netzad
 
เลนส์
เลนส์เลนส์
เลนส์kruruty
 

Similar to Light[1] (10)

Lesson13
Lesson13Lesson13
Lesson13
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
148
148148
148
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
เลนส์
เลนส์เลนส์
เลนส์
 

Light[1]

  • 1. จัดทำโดย นางสุนิศา โชติกลาง และ น ารีรัตน์ ฟักสมบูรณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสุรนารีวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 1
  • 2.
  • 4. เลนส์นูน ( convex lens) ประโยชน์  ใช้ทำแว่นตาสำหรับคนสายตายาว ทำแว่นขยาย และเป็นส่วนประกอบของกล่องส่องทางไกล กล้องถ่ายรูป กล้องจุลทรรศน์ B A C ลักษณะ  ขอบเลนส์บางกว่าตรงกลาง  ด้านโค้งนูนรับแสง มีสมบัติรวมแสงหักเห  ให้ได้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน A เลนส์นูน 2 ด้าน B เลนส์นูนแกมระนาบ C เลนส์นูนแกมเว้า จากรูป
  • 5. ส่วนประกอบของเลนส์นูน A B F C O M N AB เส้นแกนมุขสำคัญ O จุดกึ่งกลางเลนส์ MN เส้นแบ่งครึ่งเลนส์ F จุดโฟกัส OC รัศมีความโค้งของเลนส์ OF ความยาวโฟกัส รังสีตกกระทบ รังสีหักเห
  • 6. F วัตถุ ภาพ 1. ลากเส้นแกนมุขสำคัญ เขียนเลนส์ที่ต้องการ แล้วกำหนดจุด F 2 . เขียนวัตถุที่ระยะที่ต้องการ 3. ลากรังสีจากจุดยอดของวัตถุให้ขนานกับเส้นแกนมุขสำคัญ ไปตกกระทบเลนส์ แล้วเขียนรังสีหักเหผ่านจุด F   4. ลากรังสีจากจุดยอดของวัตถุผ่านจุดกึ่งกลางเลนส์ ตำแหน่งที่รังสีนี้ตัดกับรังสีข้อ 3   คือ ตำแหน่งที่เกิดภาพ โดยจุดตัด คือ จุดยอดของภาพ การเขียนภาพที่เกิดจากเลนส์  
  • 8. F 2F F วัตถุ ภาพ วัตถุอยู่ที่ระยะ 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ( u = 2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ ขนาดเท่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ 2 เท่าของความยาวโฟกัส 2F การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีหักเหผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง รังสีหักเหอยู่แนวเดิม *** รังสีทั้งสองตัดกันคือตำแหน่งภาพ 1 2
  • 9. F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ( u >2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < 2 เท่าของความยาวโฟกัส 2F ภาพ ภาพ 1 2
  • 10. F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า 1 เท่า ของความยาวโฟกัส แต่ไม่ถึง 2 เท่าของความยาวโฟกัส ( u >F<2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ ขนาดโตกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ > 2 เท่าของความยาวโฟกัส 2F ภาพ 2F 1 2
  • 11. F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส ( u =F ) ไม่เกิดภาพ หรือเกิดภาพที่ระยะอนันต์ 2F ภาพ
  • 12. F 2F F วัตถุ ภาพ วัตถุอยู่ที่ระยะใกล้กว่าความยาวโฟกัส ( u < F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดโตกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ > ความยาวโฟกัส 2F
  • 13. F 2F F วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์ ( u = ∞ ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพจริง ขนาดเล็กมากหรือเป็นจุด อยู่ที่จุดโฟกัส ดังนั้น ความยาวโฟกัสของเลนส์นูน จึงเป็นโฟกัสจริง 2F ภาพ
  • 14. เลนส์เว้า (concave lens) ลักษณะ  ตรงกลางเลนส์บางกว่าตรงขอบ  ด้านโค้งเว้ารับแสง มีสมบัติกระจายแสงหักเห  ให้เฉพาะภาพเสมือน ขนาดเล็กกว่าวัตถุ  ประโยชน์ ใช้ทำแว่นตาสำหรับ คนสายตาสั้น กล้องจุลทรรศน์ A เลนส์เว้า 2 ด้าน B เลนส์เว้าแกมระนาบ C เลนส์เว้าแกมนูน A B C จากรูป
  • 15. . . . . . F ส่วนประกอบของเลนส์เว้า AB เส้นแกนมุขสำคัญ O จุดกึ่งกลางเลนส์ MN เส้นแบ่งครึ่งเลนส์ F จุดโฟกัสเสมือน OC รัศมีความโค้งของเลนส์ OF ความยาวโฟกัส รังสีตกกระทบ รังสีหักเห A B O M N C
  • 17. วัตถุอยู่ที่ระยะ 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ( u = 2F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < ความยาวโฟกัส F 2F วัตถุ ภาพ การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานแกนมุขสำคัญ รังสีหักเหเสมือนผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางเลนส์ รังสีหักเหจะอยู่ในแนวเดิม *** รังสีทั้งสองตัดกันคือตำแหน่งภาพ 1 2
  • 18. วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ( u > 2F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < ความยาวโฟกัส F 2F
  • 19. . . . . . เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < ความยาวโฟกัส F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า 1 เท่า ของความยาวโฟกัส แต่ไม่ถึง 2 เท่าของความยาวโฟกัส ( u >F<2F )
  • 20. . . . . . วัตถุอยู่ที่ความยาวโฟกัส ( u = F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < ความยาวโฟกัส F 2F
  • 21. . . . . . วัตถุอยู่ที่ระยะใกล้กว่าความยาวโฟกัส ( u < F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < ความยาวโฟกัส F 2F การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีหักเหเสมือนไปตัดที่โฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางเลนส์ รังสี หักเหกลับทางเดิม 1 1 2
  • 22. . . . . . เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ อยู่ที่จุดโฟกัส ดังนั้น ความยาวโฟกัสของเลนส์จึงเป็นโฟกัสเสมือน F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะ อนันต์ ( u = ∞ ) ภาพ
  • 23. สรุปการเกิดภาพกับเลนส์นูนเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U = ∞ ภาพจริง หัวกลับ หลังเลนส์ เล็กเป็นจุด u < ∞ >2f ภาพจริง หัวกลับ หลังเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ U = 2f ภาพจริง หัวกลับ หลังเลนส์ เท่าวัตถุ u > f < 2f ภาพจริง หัวกลับ หลังเลนส์ โตกว่าวัตถุ u = f ภาพจริง หัวกลับ หลังเลนส์ ไม่เกิดภาพ u < f ภาพเสมือน หัวตั้ง หน้าเลนส์ โตกว่าวัตถุ
  • 24. สรุปการเกิดภาพกับเลนส์เว้าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U = ∞ ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u < ∞ >2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ U = 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u > f < 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u = f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u < f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ
  • 26. กระจกโค้งเว้า   หมายถึง กระจกที่มีส่วนโค้งด้านเว้ารับแสง ทำหน้าที่ รวมของรังสีสะท้อน ให้ภาพจริงหัวกลับ อยู่หน้ากระจก เอาฉากรับได้ กระจกโค้ง กระจกนูน หมายถึง กระจกที่มีส่วนโค้งด้านนูนรับแสง ทำหน้าที่ กระจายรังสีสะท้อน ภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุ อยู่หลังกระจก หัวตั้งเหมือนวัตถุไม่สามารถเอาฉากรับได้
  • 27. C คือ จุดศูนย์กลางความโค้ง O คือ ขั้วกระจก F คือ จุดโฟกัส C F O คือ เส้นแกนมุขสำคัญ OF คือ ความยาวโฟกัส R คือ รัศมีความโค้งของกระจก = 2 f ก . กระจกเว้า ( รวมแสง ) ข . กระจกนูน ( กระจายแสง ) ส่วนประกอบของกระจก
  • 28. การสะท้อนแสงผ่านกระจกโค้ง จากรูป ก จากรูป ข แสงขนานตกกระทบกระจกเว้า รังสีสะท้อน แสงขนานตกระทบกระจกนูน รังสีสะท้อนจะเสมือน จะตัดกันหน้ากระจก เรียกว่า โฟกัสจริง ไปตัดกันด้านหลังกระจก เรียกว่า โฟกัสเสมือน ก . กระจกเว้า ข . กระจกนูน
  • 29. การเขียนภาพที่เกิดจากกระจกโค้ง กรณีที่วัตถุมีขนาด เขียนรังสีตกกระทบ 3 เส้น เส้นที่ 1 เป็นรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญซึ่งต้องสะท้อนผ่านจุดโฟกัส เส้นที่ 2 รังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ เส้นที่ 3 รังสีตกกระทบผ่านจุกศูนย์กลางความโค้งจะสะท้อนกลับทางเดิม จุดตัดกันของรังสีสะท้อนทั้ง 3 เส้น คือ ภาพปลายของวัตถุนั้น ** ปกติเราเขียนรังสีเพียง 2 เส้นก็พอ และนิยมเขียนเส้นที่ 1 กับ 3
  • 30. F 2F Object Image เกิดภาพจริง ขนาดเท่ากับวัตถุ ที่ตำแหน่ง 2 F วัตถุอยู่ที่ระยะ 2 เท่าของความยาวโฟกัส ( u = 2F ) กระจกเว้า ภาพที่เกิดจากกระจกเมื่อวางวัตถุไว้ที่ระยะต่างๆ กัน การเขียนภาพ 1. ลากรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. ลากรังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ 1 2
  • 31. F 2F Object Image เกิดภาพจริง ขนาดเล็กว่าวัตถุ ที่ตำแหน่ง < 2 F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ( u > 2F ) กระจกเว้า การเขียนภาพ 1. ลากรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. ลากรังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ 1 2
  • 32. F 2F Object Image เกิดภาพจริง ขนาดโตกว่าวัตถุ ที่ตำแหน่ง > 2 F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่าความยาวโฟกัส แต่ไม่เกิน 2 เท่าของความยาวโฟกัส ( u > F<2F ) กระจกเว้า 1 2
  • 33. F 2F ไม่เกิดภาพ หรือเกิดที่ระยะอนันต์ วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส ( u = F ) Object กระจกเว้า การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานแกนมุขสำคัญ รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. รังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง รังสีสะท้อนจะกลับแนวเดิม 1 2
  • 34. F 2F เกิดภาพเสมือน โตกว่าวัตถุ อยู่หลังกระจก วัตถุอยู่ที่ระยะน้อยกว่าความยาวโฟกัส ( u < F ) Object Image กระจกเว้า การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง รังสีสะท้อนกลับทางเดิม
  • 35. F 2F เกิดภาพจริง เป็นจุดขนาดเล็ก ที่จุด F เรียกว่า โฟกัสจริง วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์ ( u = ∞ ) กระจกเว้า Image
  • 36.
  • 37. F 2F Object Image เกิดภาพเสมือน ขนาดเท่ากับวัตถุ ที่ตำแหน่ง 2 F วัตถุอยู่ที่ระยะความยาวโฟกัส ( u = F ) กระจกนูน F 2F 1 2 *** การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีสะท้อนเสมือนไปตัดที่จุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง สะท้อนกลับแนวเดิม
  • 38. F 2F Object Image เกิดภาพเสมือน ขนาดเล็กวัตถุ ที่ตำแหน่ง < F วัตถุอยู่ที่ระยะน้อยกว่าความยาวโฟกัส ( u = < F ) กระจกนูน F 2F 1 2 ***
  • 39. F 2F Image กระจกนูน F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์ ( u = ∞ ) ภาพเสมือน เป็นจุด ที่หลังกระจก เรียกว่าโฟกัสเสมือน
  • 40. สรุปการเกิดภาพกับกระจกเว้าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U = ∞ ภาพจริง หัวกลับ หน้ากระจก เล็กเป็นจุด u < ∞ >2f ภาพจริง หัวกลับ หน้ากระจก เล็กกว่าวัตถุ U = 2f ภาพจริง หัวกลับ หน้ากระจก เท่าวัตถุ u > f < 2f ภาพจริง หัวกลับ หน้ากระจก โตกว่าวัตถุ u = f ภาพจริง หัวกลับ หน้ากระจก ไม่เกิดภาพ u < f ภาพเสมือน หัวตั้ง หลังกระจก โตกว่าวัตถุ
  • 41. สรุปการเกิดภาพกับกระจกนูนเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U = ∞ ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u < ∞ >2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ U = 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u > f < 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u = f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u < f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ