Anúncio
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Último(20)

Destaque(20)

Anúncio

ยาต้านการอักเสบ (Anti-inflammatory Drugs).pdf

  1. ยาต้านการอักเสบ (ANTI-INFLAMMATORY DRUGS) วุฒิชัย วิสุทธิพรต, PhD, BCHP คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  2. Steriods NSAIDs NSAIDs
  3. เอนไซม์ในกระบวนการอักเสบ  Phospholipase A2 ย่อยสลายไขมันจากเซลล์เมมเบรน ได้เป็นกรดไขมัน เช่น Arachidonic acid จัดเป็นเอนไซม์ตั้งต้นกระบวนการอักเสบ  Cyclooxygenase (COX) เปลี่ยน arachidonic acid กลายเป็น prostaglandins สามารถแบ่งได้ 2 ชนิด  Cyclooxygenase-I (COX-I) เอนไซม์ที่ควบคุมระบบต่างในร่างกาย  Cyclooxygenase-II (COX-II) เอนไซม์ที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับบาดเจ็บ/ติดเชื้อ
  4. สเตียรอยด์ (STERIODS)  เป็นสารประกอบที่สร้างจากต่อมหมวกไตส่วนนอก (Adrenal cortex)  แบ่งออกเป็น 2 ประเภท  Corticosteroid ที่ประกอบไปด้วย Glucocorticoid ทาหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมเมตาบอลิ ซึมของคาร์โบไฮเดรต ในมนุษย์ฮอร์โมนกล่มนี้ที่สาคัญคือ hydrocortisone (cortisol) และ Mineralcorticoid ทาหน้าที่ควบคุมความสมดุลของอิเลคโทรไลท์ในร่างกาย  Androgen ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศชายจากต่อมหมวกไต
  5. ผลของสเตียรอยด์ต่อกระบวนการอักเสบ  Corticosteroid สามารถยับยั้งการทางานของ leukocytes และ macrophages ทาให้เกิดการสร้าง antigen ลดลง ลดการสร้าง prostaglandin และ leukotrienes เป็นผลให้ยับยั้งการเกิด phospholipase A2 ด้วย กล่าวคือ glucocorticoid สามารถยับยั้งการสร้าง สารต่างๆจากเซลล์ที่ทาให้เกิดการอักเสบ  Corticosteroid สามารถยับยั้งการเติบโต ของ T-cell อีก ทั้งยังสามารถการสร้าง cytokines เกี่ยวกับการอักเสบทา ให้การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันลดลง และป้องกันการ อักเสบของเซลล์ที่เกิดจาก macrophage
  6. Effect of Steroids
  7. ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช้สเตียรอยด์ (Non-Steariodal Anti-Inflammatory Drugs)  ออกฤทธิ์ลดการอักเสบโดยยับยั้งการทางานของเอนไซม์ cyclooxygenases (COXs) ซึ่งเป็น เอนไซม์สาคัญในกระบวนการสังเคราะห์สารสื่อการอักเสบ  สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มตามความสามารถในการยับยั้งเอนไซม์ COX  Non-specific COX inhibitor  Selective COX-2 inhibitor  Specific COX-2 inhibitor  ยาส่วนใหญ่ถูกทาลาย (metabolized) ที่ตับและถูกขับทางไต  NSAIDs ทุกตัวเป็นยาที่ช่วยลดอาการปวด ไข้ (analgesic effect) และลดการอักเสบ (anti- inflammatory effect) ทั้งในชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
  8. คุณสมบัติด้านเภสัชจลนศาสตร์  มีคุณสมบัติเป็น Strong organic acid; pKa ~ 3-5 สามารถแตกตัวให้ประจุลบที่ physiological pH (~7.4)  สามารถจับกับ plasma protein binding ได้สูงมาก (~90-99%) โดยเกิดพันธะแบบ ionic bond ซึ่งเป็นแรงหลักที่ใช้ในจับ ยาอื่นที่มีประจุลบสามารถเกิด drug interaction กับ NSAIDs โดยแย่งจับกับ plasma protein binding  เนื่องจากยาส่วนใหญ่มี carboxylic group (-COOH) จึงถูก metabolize โดยการเกิด glucuronide conjugation (phase II) เป็นหลัก
  9. อาการข้างเคียงของ NSAIDs  ผลต่อทางเดินอาหาร: • direct topical injury เนื่องจาก NSAIDs ส่วนใหญ่มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อนๆ • Cyclooxygenase inhibition โดย NSAIDs มีผลทาให้มีการลดลงของ Prostaglandinsทาให้มี การลดลงของการหลั่ง mucus และ bicarbonate ลดความสามารถในการต้านกรดของชั้น mucus gel • ผลต่อตับ NSAIDs ทุกตัวมีฤทธิ์ทาลายเซลล์เนื้อเยื่อของตับและอาจทาให้เกิด cholestasis ได้ • ผลต่อไต การยับยั้งการสังเคราะห์ PGs ในไตจึงทาให้เกิดการบวมจากการคั่งของน้าและเกลือ โซเดียม เพิ่มระดับ creatinine และโปแตสเซียมในเลือด
  10. อาการข้างเคียงของ NSAIDs  ผลต่อระบบประสาท ในยา NSAIDs บางชนิดก่อให้เกิดอาการมึนงง  ผลต่อเกร็ดเลือด NSAIDs สามารถยับยั้งการทางานของเกร็ดเลือด ได้โดยสกัดกั้นการ สร้าง thromboxaneA2(TXA ) จึงอาจทาให้เกิดเลือดออก ในส่วนต่างๆได้ง่าย  ผลต่อความดันเลือด NSAIDs มีผลทาให้ผู้ป่วยมีความดันโลหิตเพิ่มขึ้นได้เนื่องจากยา NSAIDs ลดการสังเคราะห์ PGI ในไตซึ่งมีหน้าที่ในการขับเกลือโซเดียมและน้า  อาการข้างเคียงอื่นๆ เช่น ผื่นคัน, การเกิดภาวะ anaphylaxis shock
  11. NON-SPECIFIC COX INHIBITORS ยา ชื่อการค้า ข้อบ่งใช้ หมายเหตุ Diclofenac Voltaren บรรเทาอาการปวดข้อ/กล้ามเนื้อ มีความปลอดภัยสาหรับผู้สูงอายุ Ibuprofen Nurofen, Gofen บรรเทาอาการปวด/กล้ามเนื้อ/ไข้ มีความปลอดภัยสาหรับเด็ก Mefenamic acid Ponstan บรรเทาอาการปวดข้อ/กล้ามเนื้อ/ประจาเดือน มดลูกคลายตัวได้อย่างรวดเร็ว และลดความดัน ภายในมดลูกลงภายใน 15 นาทีหลังจากการใช้ยา Paracetamol Tylenol, Sara, Panadol บรรเทาอาการไข้ ควรระวังในผู้ป่วยโรคตับ Piroxicam Feldene, POX109, Pircam บรรเทาอาการปวด/กล้ามเนื้อ/ไข้ ควรระวังในผู้ป่วยโรคไต Naproxene Naprosyn บรรเทาอาการปวด/กล้ามเนื้อ มีความปลอดภัยในผู้ป่วยโรคไต Aspirin Aspent บรรเทาอาการปวด/กล้ามเนื้อ/ไข้ มีการนาไปใช้เป็นยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด/ กระตุ้นอาการหอบ/ระคายเคืองทางเดินอาหาร มาก
  12. SELECTIVE COX-2 / SPECIFIC COX-2 INHIBITORS ยา ชื่อการค้า ข้อบ่งใช้ หมายเหตุ Celecoxib Celebrex บรรเทาอาการปวดข้อ/กล้ามเนื้อ มีความปลอดภัยสาหรับผู้ป่วยโรคหัวใจ/หลอด เลือด ออกฤทธิ์ช้า 3 ชม. คนที่แพ้ sufonamide อาจมีอาการแพ้ยา celecoxib Etoricoxib Arcoxia บรรเทาอาการปวดข้อ/กล้ามเนื้อ ออกฤทธิ์ไวภายใน 1 ชม. Meloxicam Mobic บรรเทาอาการปวดข้อ/กล้ามเนื้อ ยังมีผลข้างเคียงเหมือน non-specific COX
  13. ASPIRIN  ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ COX แบบ irreversible  ตัวยาไม่คงตัวในสภาวะที่มีความชื้น เนื่องจากเกิด hydrolysis ได้ง่ายได้เป็น salicylic acid และ acetic acid จึงไม่สามารถเตรียมสารละลายของ aspirin ในรูปของ aqeous solution ได้  ยาถูกดูดซึมได้ดีที่กระเพาะและลาไส้ส่วนต้น เมื่อให้โดยการรับประทาน และถูก hydrolysis อย่างรวดเร็วด้วย plasma esterase  ใช้บรรเทาอาการปวดที่ไม่รุนแรง arthritis ใช้ป้องกันและลดความเสี่ยงของ transient ischemic attack และ myocardial infarction
  14. DICLOFENAC (VOLTAREN)  ดูดซึมได้รวดเร็วและสมบูรณ์เมื่อให้โดยการรับประทาน ให้ระดับยาสูงสุดภายใน 1.5- 2.5 hrs. จับกับ plasmaprotein ได้สูง  ออกฤทธิ์ได้ไว และมีค่าครึ่งชีวิตสั้นเหมาะกับการใช้ในผ้สูงอายุ  ใช้รักษา RA, OA และ ankylosing spondylitis
  15. PARACETAMOL  ยาในกลุ่มนี้มีฤทธิ์แก้ปวดและไข้ แต่ไม่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ  กลไกการออกฤทธิ์ของ paracetamol ยังไม่ชัดเจน;  ยาอาจมีผลยับยั้งความเจ็บปวดโดยทาหน้าที่เป็น antagonist แย่ง bradykinin จับกับ peripheral pain receptor  ฤทธิ์แก้ไข้เนื่องจากยับยั้งการหลั่ง endogenous pyrogen จาก hypothalamic thermoregulatory centers  การที่ยาไม่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบเนื่องจาก ยับยั้งการสร้าง PGs ใน สมองได้ดีกว่าที่ระบบประสาทส่วนปลาย
  16. PARACETAMOL  นิยมใช้เป็นยาแก้ปวดลดไข้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่แพ้ต่อ aspirin  มีความคงตัวใน aqeous solution มากกว่า Aspirin ทาให้สามารถเตรียมในรูปของ liquid formulation ต่าง ๆ ได้มากมายสาหรับใช้ในผู้ป่วยเด็ก  มีพิษต่อตับ ยาแก้พิษคือ Glutathione
  17. ประโยชน์ของ NSAIDs  ลดอาการอักเสบทั้งจากข้ออักเสบรูมาตอยด์, ข้ออักเสบเก๊าท์ โดยไม่มีผลยับยั้งการดาเนินของ โรค  ลดอาการปวด โดยไม่มีผลข้างเคียงต่อสมอง เช่น กดการหายใจ และเสพติด  ลดไข้ เชื่อว่า NSAIDs ลดการสร้าง prostaglandins ในสมอง แต่ควรระวังการใช้ ibuprofen และ aspirin เพื่อลดไข้ในผู้ป่วยติดเชื้อไข้เลือดออก  ป้องกันการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือดเพื่อป้องกันหลอดเลือดอุดตันในผู้ป่วยหัวใจและหลอดเลือด สมอง โดยแนะนาให้ใช้ aspirin เนื่องจากสามารถจับกับ COX แบบ irreversible
  18. THANK YOU
Anúncio