SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ของหน่วยงานรัฐบาล โครงการวิจัย จัดทำโดย สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สนับสนุนโดย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ  ( ก . พ . ร .)
คณะผู้วิจัย อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจัย บริพัตร 7.  อาจารย์ ม . ล .  พินิตพันธุ์ อาจารย์ประจำ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจัย อิสระวรวา ณิ ช 6.  อาจารย์ ปัญญา อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจัย ชัชวาลย์ 5.  อาจารย์ ดร . ศุภสวัสดิ์ อาจารย์ประจำ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจัย พัชราวนิช 4.  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พัชรา ผู้อำนวยการวิทยาลัยพัฒนา การปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า นักวิจัย  ( ที่ปรึกษา ) ตันไชย 3.  รองศาสตราจารย์ วุฒิสาร รองอธิการบดีฝ่ายบริหารงานบุคคล และกฎหมาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจัย  ( ที่ปรึกษา ) เลิศไพฑูรย์ 2.  ศาสตราจารย์ ดร . สมคิด คณบดีคณะรัฐศาสตร์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าคณะผู้วิจัย เมฆไตรรัตน์ 1.  รองศาสตราจารย์ ดร . นครินทร์
วิธีการศึกษาวิจัย ,[object Object],[object Object],104 25 ภูเก็ต 120 25 ชลบุรี 37 26 สิงห์บุรี 56 26 นนทบุรี 204 28 นครราชสีมา ราชการบริหารส่วนกลางในพื้นที่จังหวัด ราชการบริหารส่วนภูมิภาค จังหวัด
กรอบแนวความคิดและแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูล การมุ่งเน้นประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการให้บริการภาครัฐที่มี  คุณภาพ -  กระแสโลกาภิวัตน์ -  ประสิทธิภาพและ  ประสิทธิผลในการ บริหารงานภาครัฐ -  การบริหารกิจการ  บ้านเมืองที่ดี -  การปฏิรูประบบราชการ และแผนยุทธศาสตร์ระยะ ปานกลาง -  การกระจายอำนาจ ทางการบริหาร -   การบริหารราชการ ส่วนภูมิภาคที่ทันสมัย การบริหารงานบนฐาน ของกลุ่มภารกิจ การจัดสรรงบประมาณเพื่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ในระดับภาคและจังหวัด การแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ ของหน่วยงานรัฐบาล
ความสัมพันธ์ระหว่าง การบริหารราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภูมิภาค รูปแบบใหม่ที่พึงประสงค์
นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและ สำนักประสานราชการส่วนภูมิภาค กลุ่มจังหวัด  /  ภาค กระทรวง กลุ่มภารกิจ  /  กรม จังหวัด -  แปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ -  การริเริ่มในระดับพื้นที่ -  การแก้ปัญหาในระดับพื้นที่ -  งานบริการสาธารณะที่ท้องถิ่นทำไม่ได้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด จังหวัด เครือข่ายพันธมิตร
รูปแบบและลักษณะของกรมตามโครงสร้าง   ,[object Object],[object Object],[object Object],หมายเหตุ  :  ปัจจุบันการจัดแบ่งพื้นที่ของหน่วยราชการมี  58  ลักษณะ
ข้อเสนอการจัดบริหารพื้นที่ของหน่วยงานราชการบริหารส่วนกลาง ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ของจังหวัด   โครงสร้างหน่วยงานราชการบริหารส่วนภูมิภาค 75  จังหวัด การบริหารพื้นที่ ตามปัจจัยองค์ความรู้ทางวิชาการระดับสูง การบริหารพื้นที่ ตามปัจจัยทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ การบริหารพื้นที่ ตามโครงสร้าง ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด 19  เขต โครงสร้างหน่วยงานราชการส่วนกลางในพื้นที่ของจังหวัด  3  ลักษณะ
แนวคิดรัฐเชิงยุทธศาสตร์กับยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศไทย ,[object Object],[object Object],[object Object]
ภารกิจหน้าที่ของรัฐบาลและราชการส่วนกลางในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป บุคลากรเป็นของรัฐ บุคลากรเป็นของกระทรวงและของรัฐ บุคคลากรเป็นของกรมและกระทรวง บุคลากรเป็นของกรม งบประมาณตามภารกิจหน้าที่ งบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ งบประมาณฐานกรมและกระทรวง งบประมาณฐานกรม มีภารกิจหน้าที่ตามการจัดกลุ่มภารกิจงานภาครัฐที่มีความทันสมัย มีภารกิจหน้าที่ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ มีหน้าที่ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การเกษตรและการศึกษาเพิ่มขึ้น หน้าที่สำคัญคือ การรักษากฎหมายและความสงบเรียบร้อย รัฐบาลบริหารประเทศผ่านกลไกของกลุ่มภารกิจ และกระทรวง รัฐบาลบริหารประเทศผ่านกลไกการทำงานของกระทรวง และกลุ่มภารกิจ รัฐบาล ร่วมกับกรม และกระทรวงทำหน้าที่ร่วมกันในการบริหารประเทศ กรมและกระทรวงเป็นกลไกสำคัญของปกครองประเทศ บริหารประเทศโดยรัฐบาล ซึ่งมีการจัดแบ่งหน้าที่เป็นกลุ่มภารกิจ และกระทรวง บริหารประเทศโดยรัฐบาล ซึ่งมีการจัดแบ่งหน้าที่เป็นกระทรวงและกลุ่มภารกิจ บริหารประเทศโดยรัฐบาล ตามข้อกำหนดของกรม และกระทรวง บริหารประเทศโดยข้าราชการ / ทหาร และจัดแบ่งหน้าที่โดยกรม และกระทรวง การจัดภารกิจหน้าที่ของรัฐสมัยใหม่ ที่พัฒนาแล้ว   (Developed state) การจัดภารกิจหน้าที่ของ รัฐสมัยใหม่เชิงยุทธศาสตร์  (Strategic state) การจัดภารกิจหน้าที่ของ รัฐสมัยใหม่เพื่อการพัฒนาประเทศ   (Developing state) การจัดภารกิจหน้าที่ของรัฐแบบเดิม (Bureaucratic and Traditional state)
การบริหารราชการส่วนกลางในฐานะที่เป็นกลไกในการบริหารประเทศ ซึ่งควรมีการพัฒนาให้มีความทันสมัยและก้าวหน้ายิ่งไปกว่าเดิม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ข้อพิจารณาเรื่องการมอบหมายหรือถ่ายโอนให้ องค์กรสาธารณะอื่นๆ ดำเนินการแทน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ภารกิจหน้าที่ของหน่วยราชการส่วนกลาง ในพื้นที่จังหวัด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กรอบการพิจารณาการใช้อำนาจของรัฐและรัฐบาล   อำนาจรัฐ แต่ไม่ใช่อำนาจบริหาร อำนาจบริหาร  กิจกรรมเชิงพาณิชย์ และเป็นนิติบุคคล อำนาจบริหารโดยรัฐบาลผ่านคณะรัฐมนตรี และกระทรวง อำนาจรัฐสภา สำนักงานรัฐสภา อำนาจตุลาการ ศาล กิจกรรม  เชิงพาณิชย์ รัฐวิสาหกิจ กิจกรรมเพื่อ ประโยชน์สาธารณะ องค์การมหาชน รวมศูนย์และควบคุมอย่างเข้มงวด  โดยส่วนกลาง ราชการบริหาร ส่วนกลาง แบ่งอำนาจ  และมอบอำนาจให้ทำการแทนราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหาร  ส่วนภูมิภาค ท้องถิ่น
ภารกิจหน้าที่และการแบ่งความรับผิดชอบของ หน่วยงานรัฐบาล   ประชาชนรับบริการแบบ  Counter service, In-house  และ   Off-house service ผสมผสาน ในกรณีที่ประชาชนจำเป็นต้องรับบริการ จะมีลักษณะเป็น  In-house and mobile services 5. วิธีให้บริการ พื้นที่การให้บริการ มีลักษณะเฉพาะและจำกัด ไม่ครอบคลุมทั้งประเทศ  และกว้างขวางมากกว่าเขตจังหวัด พื้นที่การให้บริการครอบคลุม ทั้งประเทศ 4. พื้นที่ การกระจายงบประมาณออก ไปในเขตพื้นที่ต่างๆ จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกิจกรรม ผสมผสาน การรวมศูนย์งบประมาณจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการทำกิจกรรม 3. งบประมาณ ลักษณะของงาน แบ่งออกเป็นส่วนๆ ได้ ลักษณะของงานมีลักษณะเป็น งานสนับสนุน และอาจจะมีงานบริการได้ในบางลักษณะ ลักษณะของงานไม่สามารถ แบ่งออกเป็นส่วนๆ ได้ 3. ลักษณะงาน เน้นการให้บริการประชาชนมากกว่าหน่วยงานราชการ เน้นการให้บริการแก่หน่วยงานมากกว่าประชาชน เน้นการให้บริการแก่หน่วยงานมากกว่าประชาชน 2. ผู้รับบริการ ให้บริการประชาชนเป็นการเฉพาะกลุ่ม และเป็นการบริการทางตรง ผสมผสาน ให้บริการประชาชนเป็นการทั่วไป  และเป็นการบริการทางอ้อม 1. ความสัมพันธ์กับประชาชน ภารกิจของ ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ทำงานร่วมกันระหว่างราชการบริหารส่วนกลางกับราชการบริหารส่วนภูมิภาค ภารกิจหน้าที่ของ ราชการบริหารส่วนกลาง เกณฑ์การแบ่งภารกิจ
กฎหมายที่หน่วยงานรัฐบาลถือครอง ตัวอย่าง เช่น  กรมศุลกากร ,  กรมธนารักษ์ ,  กรมปศุสัตว์ ,  กรมโรงงานอุตสาหกรรม ,  สำนักงานนโยบายและแผนพลังงานแห่งชาติ ,  กรมการค้าต่างประเทศ ,  กรมที่ดิน ,  กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  , กรมโยธาธิการและผังเมือง , กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย , สำนักงานกิจการยุติธรรม , กรมการประกันภัย ฯลฯ ตัวอย่าง เช่น  กรมทางหลวง ,  กรมราชทัณฑ์ , กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ,   สำนักงานข่าวกรองแห่งชาติ ,  สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ,   กรมอนามัย ,  กรมควบคุมโรค ,  กรมการแพทย์  ฯลฯ ตัวอย่างเช่น  กรมประชาสัมพันธ์ ,   กรมทางหลวงชนบท ,   กรมสอบสวนคดีพิเศษ ,   สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,  สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาล , สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ,  สำนักงบประมาณ ฯลฯ ตัวอย่างเช่น สำนักนายกรัฐมนตรี ,   สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ,   กรมอุตุนิยมวิทยา สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ฯลฯ จำนวน  57  หน่วยงาน จำนวน  13  หน่วยงาน จำนวน  19  หน่วยงาน จำนวน  36  หน่วยงาน กรมที่ถือครองกฎหมายจำนวน  5  ฉบับขึ้นไป กรมที่ถือครองกฎหมายจำนวน 2-4  ฉบับ กรมที่ถือครองกฎหมายจำนวน  1  ฉบับ กรมที่ไม่มีกฎหมายหลัก
การเปรียบเทียบงบประมาณแบบแผนงานและมุ่งเน้นผลงาน รายการ งบประมาณแสดงรายการและแผนงาน งบประมาณมุ่งเน้นผลงาน ระยะเวลาของงบประมาณ -  การจัดสรรงบประมาณปีต่อปี -  จัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีและงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้า   3  ปี ประเภทรายจ่าย -  รายจ่ายจำแนกเป็น   7  ประเภท -  รายจ่ายจำแนกเป็น   5 ประเภท เกณฑ์การบันทึกบัญชี -  เกณฑ์เงินสด   (Cash Basis) -  เกณฑ์เงินค้าง   (Accrual Basis) การคิดต้นทุน -  มีต้นทุนมาตรฐานของกิจกรรมบางประเภท   -  มีการคำนวณต้นทุนของผลผลิตหลักขององค์กร   รายงานผลทางการเงิน -  รูปแบบงบการเงินโดยกรมบัญชีกลาง -  งบดุล   งบกำไรขาดทุน   งบกระแสเงินสด   และหมายเหตุประกอบ หน้าที่ของสำนักงบประมาณ -  ควบคุมการจัดสรรงบประมาณ -  ดูแลให้มีความโปร่งใส   การติดตาม ระบบสารสนเทศ -  บันทึกรายละเอียดการใช้จ่าย -  บันทึกรายการโอนเงินอัตโนมัติ   และคำนวณต้นทุนต่อกิจกรรม การตรวจสอบจากหน่วยงานภายนอก -  สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน   -  ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา -  สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน -  ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา -  คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
 
 
 
สำนัก / กอง ที่  1 สำนัก / กอง ที่  2 สัดส่วน (%) การปันค่าใช้จ่ายทางอ้อมให้แก่หน่วยต้นทุนหลัก 30% 70% กิจกรรมหลักที่  1 กิจกรรมหลักที่  2 กิจกรรมหลักที่  3 35% 35% 30% 60% 40% สัดส่วนภาระงาน (%) ของหน่วยต้นทุนหลัก หน่วยสนับสนุน ( ต้นทุนทางอ้อม ) หน่วยต้นทุนหลัก ( ต้นทุนทางตรง ) ผลผลิตที่  1 ผลผลิตที่  2 สำนัก / กอง ที่  4
ตัวอย่างการเปรียบเทียบต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงกับงบประมาณแบบเดิม หน่วย  :  บาท U หมายเหตุ  ผลต่างเกิดจากต้นทุนจริงหักงบประมาณ F – Favorable  ( ผลต่างที่น่าพอใจ )  U – Unfavorable ( ผลต่าง ที่ไม่น่าพอใจ )
การเปรียบเทียบต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงกับงบประมาณฐานภารกิจ หน่วย  :  บาท
การบริหารงบประมาณจังหวัด กระทรวง กรม กรม กรม จังหวัด กระทรวงมหาดไทย งบกลาง งบผู้ว่า  CEO กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สำนักงานปลัด
ขั้นตอนการจัดตั้งงบประมาณแบบบูรณาการ จัดตั้งงบประมาณประจำปี กำหนดตัวชี้วัดของภารกิจ ทบทวนงบประมาณ กำหนดภารกิจ ผ่าน ไม่ผ่าน เสนอผู้ว่าราชการจังหวัด ,[object Object],[object Object],[object Object]
3.  การโอนงบประมาณโดยใช้ฐานเดิมแต่โอนเฉพาะบางหน่วยงานราชการ หน่วย  :  บาท จังหวัดนนทบุรี การโอนงบประมาณและทรัพย์สินสู่จังหวัด   68.57 31.43 100 ร้อยละ 1,503,961,707.40 689,470,314.60 2,193,432,022.00 รวม -  993,000 993,000 รัฐวิสาหกิจ 5 -  57,004,440 57,004,440 ส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือกรม 4 1,473,436,707 631,472,875 2,104,909,582 หน่วยงานราชการ  ( ภูมิภาค  70%) 3 10,000,000 -  10,000,000 งบกลาง 2 20,525,000 -  20,525,000 งบบูรณาการหรืองบผู้ว่า  CEO   1. ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนกลาง จำนวนเงิน แหล่งที่มาของงบประมาณ ลำดับ
4.  การจัดทำงบประมาณโดยใช้ฐานภารกิจ จังหวัดนนทบุรี การโอนงบประมาณและทรัพย์สินสู่จังหวัด   77.59 22.41 100 ร้อยละ 1,730,910,000.00 500,000,000.00 2,230,910,000.00 รวม 700,000,000 300,000,000 1,000,000,000 โครงการบริการการศึกษา 5 400,000,000 100,000,000 500,000,000 บริการสาธารณะ 4 100,000,000 -  100,000,000 โครงการจัดทำสวนสาธารณะ 3 500,000,000 100,000,000 600,000,000 โครงการตัดถนน 2 30,910,000 -  30,910,000 โครงการ  30  บาทรักษาทุกโรค 1 ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนกลาง จำนวนเงิน โครงการ ลำดับ
4.1  การจัดทำงบประมาณโดยใช้ฐานภารกิจของโครงการ  30  บาทรักษาทุกโรค กระทรวงสาธารณสุข  จังหวัดนนทบุรี การโอนงบประมาณและทรัพย์สินสู่จังหวัด   30,910,000        รวม   250,000  200,000 100  ครั้ง  /  ปี   ค่าจัดซื้อ / ครั้ง 500 เงินเดือนต่อปี จำนวนครั้งในการจัดซื้อ / ปี 5.  ค่าจัดซื้อและตรวจสอบ     7,000,000  100   100  บาท / คน / ปี     ค่าวัสดุต่อคนต่อปี - ค่าวัสดุต่อคนต่อปี 4.  ค่าวัสดุและเครื่องมือแพทย์   21,000,000  300   300  บาท / คน / ปี     ค่ายาต่อคนต่อปี - ค่ายาต่อคนต่อปี 3.  ค่ายา   1,260,000  - 90,000 5,000 : 1 ผู้ช่วยพยาบาล และเทคนิค )     เงินเดือนต่อคนต่อปี จำนวนประชากรต่อพยาบาล 2.  ค่าพยาบาล  ( ผู้ช่วยแพทย์    1,400,000  -  200,000 10,000 : 1       เงินเดือนต่อคนต่อปี จำนวนประชากรต่อแพทย์ 1.  ค่าแพทย์ คน 70,000 ผันแปร คงที่ งบประมาณตามจำนวนประชากรในพื้นที่  ( บาท ) ต้นทุน  ( บาท )  ตัวผลักดัน / ปี ตัวผลักดันต้นทุน กิจกรรม
ความรับผิดชอบของกลุ่มจังหวัด สำนักประสานการบริหารราชการส่วนภูมิภาค จังหวัด กลุ่มจังหวัด จังหวัด จังหวัด
ความรับผิดชอบของหน่วยวิชาการขั้นสูง   กระทรวงเจ้าสังกัด หน่วยวิชาการขั้นสูง
ความรับผิดชอบของหน่วยงานบริหารทรัพยากรธรรมชาติ และการก่อสร้างขนาดใหญ่ กระทรวงเจ้าสังกัด หน่วยงานบริหารทรัพยากรธรรมชาติ และการก่อสร้างขนาดใหญ่ จังหวัด จังหวัด
ความรับผิดชอบของจังหวัด   สำนักประสานการบริหารราชการ ส่วนภูมิภาค จังหวัด คณะกรรมการที่ปรึกษา ภาคประชาชน
ตารางการแบ่งงานกรมและหน่วยงานราชการในจังหวัด 189  งาน 128  งาน 10  งาน 48  งาน 327  งาน 195  จังหวัด ควรทำ กลุ่มจังหวัดและเขตพื้นที่อีก  2  ลักษณะควรทำ ควรทำร่วมกัน ส่วนกลางควรทำ จำนวนภารกิจหลักที่ดำเนิน การอยู่ในปัจจุบัน จำนวนหน่วยงานที่ศึกษา
ระดับภารกิจหน้าที่ที่มีการเปลี่ยนแปลง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ระดับน้อย 38 ระดับปานกลาง 37 ระดับมาก หน่วยงาน การเปลี่ยนแปลง
ภารกิจหน้าที่ที่ราชการบริหารส่วนกลางควรทำและราชการบริหารส่วนภูมิภาคควรทำ / 8.  ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่จำต้องใช้เงินงบประมาณจำนวนมาก ประกอบกับต้องใช้บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในระดับสูงและเฉพาะทาง / 7.  ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับการวางแผนและการกำหนดนโยบายทุกประเภทในระดับประเทศ  / 6.  ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับการต่างประเทศ / 5.  ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับความมั่นคง ความปลอดภัย และความเรียบร้อยของประเทศ  / 4.  ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพของการพัฒนาพื้นที่ในระดับจังหวัดโดยตรงทั้งในทางเศรษฐกิจ การค้าอุตสาหกรรม การลงทุน และการสร้างความเข้มแข็งให้บังเกิดขึ้นในทางสังคม และชุมชนในระดับภูมิภาค / 3.  ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อการส่งเสริม สนับสนุน แก่ประชาชนทางด้านสุขภาพ และการอนามัย ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ รวมทั้งการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติที่มีรากฐานมาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น / 2.  ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบทางด้านการกำกับดูแลให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด การควบคุม ตรวจสอบ กำกับดูแลการปฏิบัติงานในพื้นที่สนาม ซึ่งมีพื้นที่การให้บริการในลักษณะเฉพาะและสามารถจำกัดจำนวนผู้รับบริการได้ / 1.  ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อการบริการประชาชนโดยตรงและมีลักษณะของงานที่เน้นการทำงานสนาม และเน้นความสะดวกรวดเร็วของประชาชนในการเข้ารับบริการสาธารณะ  ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนกลาง ภารกิจหลักของรัฐและราชการ
แผนที่แนวทางการจัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานรัฐบาลในระยะแรก   ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนกลาง ท้องถิ่น รัฐสภา / ศาล ราชการบริหารส่วนภูมิภาค องค์กรอิสระ กลุ่มจังหวัด รัฐวิสาหกิจ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
แผนที่แนวทางการจัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานรัฐบาล ในระยะปานกลางและในระยะยาว กระทรวง กลุ่มภารกิจ กลุ่มภารกิจ กระทรวง กรม 15  กลุ่ม ภารกิจ ระยะที่  1 ระยะที่  2 ระยะที่  3
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แนวคิดสู่การปฏิบัติที่บรรลุผล   :  ข้อพิจารณาว่าด้วย การบริหารการเปลี่ยนแปลง คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ,  การพัฒนาระบบกฎหมาย การจัดทำระบบงบประมาณแบบตามฐานกิจกรรม การพัฒนาระบบข้อตกลงระหว่างองค์กรภาครัฐ ระบบการตรวจและติดตามประเมินผล และการพัฒนาบุคคลากรภาครัฐ 8.  การทำให้ผลของการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นและคงอยู่กับองค์กรภาครัฐตลอดไป  ผู้บริหารระดับสูงของทุกกระทรวง ผู้บริหารกลุ่มภารกิจ และคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 7.  ความสำเร็จในเบื้องต้นมิใช่ความสำเร็จที่ถาวรและยังไม่ใช่ความสำเร็จในระยะยาว คณะรัฐมนตรี ,  คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ,  สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ และผู้แทนขององค์กรภาครัฐทุกส่วน 6.  การวางแผนและการทำข้อตกลงเพื่อให้เกิดความสำเร็จในระยะสั้น คณะรัฐมนตรี ,  คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ,  คณะกรรมการกฤษฎีกา และรัฐสภา 5.  การกำจัดอุปสรรคที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง องค์กรภาครัฐทุกภาคส่วน ประสานกับสื่อมวลชน และเครือข่ายภาคประชาชน 4.  การสื่อสารและถ่ายทอดวิสัยทัศน์ คณะรัฐมนตรี ,  คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และองค์กรที่รัฐบาลได้มอบหมาย 3. การสร้างวิสัยทัศน์ที่รัฐและองค์กรภาครัฐต้องการจะเปลี่ยนแปลงไป คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน , คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลภาครัฐ และคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 2.  การสร้างทีมงานและบุคลากรที่ดี นโยบายของรัฐบาล ,  การรณรงค์ขององค์กรที่มีหน้าที่ปฏิรูประบบราชการ ,  การทำงานของเครือข่าย สื่อมวลชน และภาคประชาชนที่จะกระตุ้นให้เกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลง 1.  การสร้างความรู้สึกถึงความจำเป็นที่จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กรภาครัฐ กลไกและการทำงานขององค์กรที่จะก่อให้เกิดความสำเร็จ ขั้นตอนของการบริหารการเปลี่ยนแปลง
รูปแสดงความสัมพันธ์ของกลยุทธ์กับเครื่องมือในการประเมินผลขององค์กร ตามแนวคิด  The  Balanced  Scorecard  ปรับใช้กับส่วนราชการในประเทศไทย Vision And Mission มุมมองด้านลูกค้าหรือประชาชนผู้รับบริการ มุมมองด้านกระบวนการภายในหรือการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน   มุมมองด้านการเรียนรู้และการพัฒนา มุมมองด้านการเงินหรืองบประมาณ การเมืองและกฎหมาย มุมมองด้านสังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
ปัญหาอุปสรรคและช่องว่าง  (Gap)  บางประการที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ,[object Object],[object Object],[object Object]

More Related Content

What's hot

แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์0884045430
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณAreeluk Ngankoh
 
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556Nus Venus
 
2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-mostps-most
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-landps-most
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Saiiew
 

What's hot (16)

แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 
รายงาน หนุ่ม 702
รายงาน หนุ่ม 702รายงาน หนุ่ม 702
รายงาน หนุ่ม 702
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปีบทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
 
บัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการบัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการ
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
Unit 2
Unit 2Unit 2
Unit 2
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณ
 
แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59
 
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
 
2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

Mak an Introductionz
Mak  an IntroductionzMak  an Introductionz
Mak an Introductionz
 
春休み企画
春休み企画春休み企画
春休み企画
 
ASP.NET MVC
ASP.NET MVCASP.NET MVC
ASP.NET MVC
 
iOS勉強会
iOS勉強会iOS勉強会
iOS勉強会
 
Mak - an introduction
Mak - an introductionMak - an introduction
Mak - an introduction
 
Hieu Xamarin iOS9, Android M 3-11-2015
Hieu Xamarin iOS9, Android M  3-11-2015Hieu Xamarin iOS9, Android M  3-11-2015
Hieu Xamarin iOS9, Android M 3-11-2015
 
ADO.NET Entity Framework 4
ADO.NET Entity Framework 4ADO.NET Entity Framework 4
ADO.NET Entity Framework 4
 

Similar to 1148636319 1

แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐSureeraya Limpaibul
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราguest4439f1
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園honan4108
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณWeIvy View
 

Similar to 1148636319 1 (20)

Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園
 
Plan101
Plan101Plan101
Plan101
 
Eis
EisEis
Eis
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562 แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
 
Money
MoneyMoney
Money
 
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 

1148636319 1

  • 1. การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ของหน่วยงานรัฐบาล โครงการวิจัย จัดทำโดย สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สนับสนุนโดย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ( ก . พ . ร .)
  • 2. คณะผู้วิจัย อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจัย บริพัตร 7. อาจารย์ ม . ล . พินิตพันธุ์ อาจารย์ประจำ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจัย อิสระวรวา ณิ ช 6. อาจารย์ ปัญญา อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจัย ชัชวาลย์ 5. อาจารย์ ดร . ศุภสวัสดิ์ อาจารย์ประจำ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจัย พัชราวนิช 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พัชรา ผู้อำนวยการวิทยาลัยพัฒนา การปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า นักวิจัย ( ที่ปรึกษา ) ตันไชย 3. รองศาสตราจารย์ วุฒิสาร รองอธิการบดีฝ่ายบริหารงานบุคคล และกฎหมาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจัย ( ที่ปรึกษา ) เลิศไพฑูรย์ 2. ศาสตราจารย์ ดร . สมคิด คณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าคณะผู้วิจัย เมฆไตรรัตน์ 1. รองศาสตราจารย์ ดร . นครินทร์
  • 3.
  • 4. กรอบแนวความคิดและแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูล การมุ่งเน้นประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการให้บริการภาครัฐที่มี คุณภาพ - กระแสโลกาภิวัตน์ - ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในการ บริหารงานภาครัฐ - การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี - การปฏิรูประบบราชการ และแผนยุทธศาสตร์ระยะ ปานกลาง - การกระจายอำนาจ ทางการบริหาร - การบริหารราชการ ส่วนภูมิภาคที่ทันสมัย การบริหารงานบนฐาน ของกลุ่มภารกิจ การจัดสรรงบประมาณเพื่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ในระดับภาคและจังหวัด การแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ ของหน่วยงานรัฐบาล
  • 6. นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและ สำนักประสานราชการส่วนภูมิภาค กลุ่มจังหวัด / ภาค กระทรวง กลุ่มภารกิจ / กรม จังหวัด - แปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ - การริเริ่มในระดับพื้นที่ - การแก้ปัญหาในระดับพื้นที่ - งานบริการสาธารณะที่ท้องถิ่นทำไม่ได้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด จังหวัด เครือข่ายพันธมิตร
  • 7.
  • 8. ข้อเสนอการจัดบริหารพื้นที่ของหน่วยงานราชการบริหารส่วนกลาง ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ของจังหวัด โครงสร้างหน่วยงานราชการบริหารส่วนภูมิภาค 75 จังหวัด การบริหารพื้นที่ ตามปัจจัยองค์ความรู้ทางวิชาการระดับสูง การบริหารพื้นที่ ตามปัจจัยทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ การบริหารพื้นที่ ตามโครงสร้าง ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด 19 เขต โครงสร้างหน่วยงานราชการส่วนกลางในพื้นที่ของจังหวัด 3 ลักษณะ
  • 9.
  • 10. ภารกิจหน้าที่ของรัฐบาลและราชการส่วนกลางในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป บุคลากรเป็นของรัฐ บุคลากรเป็นของกระทรวงและของรัฐ บุคคลากรเป็นของกรมและกระทรวง บุคลากรเป็นของกรม งบประมาณตามภารกิจหน้าที่ งบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ งบประมาณฐานกรมและกระทรวง งบประมาณฐานกรม มีภารกิจหน้าที่ตามการจัดกลุ่มภารกิจงานภาครัฐที่มีความทันสมัย มีภารกิจหน้าที่ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ มีหน้าที่ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การเกษตรและการศึกษาเพิ่มขึ้น หน้าที่สำคัญคือ การรักษากฎหมายและความสงบเรียบร้อย รัฐบาลบริหารประเทศผ่านกลไกของกลุ่มภารกิจ และกระทรวง รัฐบาลบริหารประเทศผ่านกลไกการทำงานของกระทรวง และกลุ่มภารกิจ รัฐบาล ร่วมกับกรม และกระทรวงทำหน้าที่ร่วมกันในการบริหารประเทศ กรมและกระทรวงเป็นกลไกสำคัญของปกครองประเทศ บริหารประเทศโดยรัฐบาล ซึ่งมีการจัดแบ่งหน้าที่เป็นกลุ่มภารกิจ และกระทรวง บริหารประเทศโดยรัฐบาล ซึ่งมีการจัดแบ่งหน้าที่เป็นกระทรวงและกลุ่มภารกิจ บริหารประเทศโดยรัฐบาล ตามข้อกำหนดของกรม และกระทรวง บริหารประเทศโดยข้าราชการ / ทหาร และจัดแบ่งหน้าที่โดยกรม และกระทรวง การจัดภารกิจหน้าที่ของรัฐสมัยใหม่ ที่พัฒนาแล้ว (Developed state) การจัดภารกิจหน้าที่ของ รัฐสมัยใหม่เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic state) การจัดภารกิจหน้าที่ของ รัฐสมัยใหม่เพื่อการพัฒนาประเทศ (Developing state) การจัดภารกิจหน้าที่ของรัฐแบบเดิม (Bureaucratic and Traditional state)
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. กรอบการพิจารณาการใช้อำนาจของรัฐและรัฐบาล อำนาจรัฐ แต่ไม่ใช่อำนาจบริหาร อำนาจบริหาร กิจกรรมเชิงพาณิชย์ และเป็นนิติบุคคล อำนาจบริหารโดยรัฐบาลผ่านคณะรัฐมนตรี และกระทรวง อำนาจรัฐสภา สำนักงานรัฐสภา อำนาจตุลาการ ศาล กิจกรรม เชิงพาณิชย์ รัฐวิสาหกิจ กิจกรรมเพื่อ ประโยชน์สาธารณะ องค์การมหาชน รวมศูนย์และควบคุมอย่างเข้มงวด โดยส่วนกลาง ราชการบริหาร ส่วนกลาง แบ่งอำนาจ และมอบอำนาจให้ทำการแทนราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหาร ส่วนภูมิภาค ท้องถิ่น
  • 15. ภารกิจหน้าที่และการแบ่งความรับผิดชอบของ หน่วยงานรัฐบาล ประชาชนรับบริการแบบ Counter service, In-house และ Off-house service ผสมผสาน ในกรณีที่ประชาชนจำเป็นต้องรับบริการ จะมีลักษณะเป็น In-house and mobile services 5. วิธีให้บริการ พื้นที่การให้บริการ มีลักษณะเฉพาะและจำกัด ไม่ครอบคลุมทั้งประเทศ และกว้างขวางมากกว่าเขตจังหวัด พื้นที่การให้บริการครอบคลุม ทั้งประเทศ 4. พื้นที่ การกระจายงบประมาณออก ไปในเขตพื้นที่ต่างๆ จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกิจกรรม ผสมผสาน การรวมศูนย์งบประมาณจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการทำกิจกรรม 3. งบประมาณ ลักษณะของงาน แบ่งออกเป็นส่วนๆ ได้ ลักษณะของงานมีลักษณะเป็น งานสนับสนุน และอาจจะมีงานบริการได้ในบางลักษณะ ลักษณะของงานไม่สามารถ แบ่งออกเป็นส่วนๆ ได้ 3. ลักษณะงาน เน้นการให้บริการประชาชนมากกว่าหน่วยงานราชการ เน้นการให้บริการแก่หน่วยงานมากกว่าประชาชน เน้นการให้บริการแก่หน่วยงานมากกว่าประชาชน 2. ผู้รับบริการ ให้บริการประชาชนเป็นการเฉพาะกลุ่ม และเป็นการบริการทางตรง ผสมผสาน ให้บริการประชาชนเป็นการทั่วไป และเป็นการบริการทางอ้อม 1. ความสัมพันธ์กับประชาชน ภารกิจของ ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ทำงานร่วมกันระหว่างราชการบริหารส่วนกลางกับราชการบริหารส่วนภูมิภาค ภารกิจหน้าที่ของ ราชการบริหารส่วนกลาง เกณฑ์การแบ่งภารกิจ
  • 16. กฎหมายที่หน่วยงานรัฐบาลถือครอง ตัวอย่าง เช่น กรมศุลกากร , กรมธนารักษ์ , กรมปศุสัตว์ , กรมโรงงานอุตสาหกรรม , สำนักงานนโยบายและแผนพลังงานแห่งชาติ , กรมการค้าต่างประเทศ , กรมที่ดิน , กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น , กรมโยธาธิการและผังเมือง , กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย , สำนักงานกิจการยุติธรรม , กรมการประกันภัย ฯลฯ ตัวอย่าง เช่น กรมทางหลวง , กรมราชทัณฑ์ , กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช , สำนักงานข่าวกรองแห่งชาติ , สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา , กรมอนามัย , กรมควบคุมโรค , กรมการแพทย์ ฯลฯ ตัวอย่างเช่น กรมประชาสัมพันธ์ , กรมทางหลวงชนบท , กรมสอบสวนคดีพิเศษ , สำนักงานสถิติแห่งชาติ , สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาล , สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม , สำนักงบประมาณ ฯลฯ ตัวอย่างเช่น สำนักนายกรัฐมนตรี , สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี , กรมอุตุนิยมวิทยา สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ฯลฯ จำนวน 57 หน่วยงาน จำนวน 13 หน่วยงาน จำนวน 19 หน่วยงาน จำนวน 36 หน่วยงาน กรมที่ถือครองกฎหมายจำนวน 5 ฉบับขึ้นไป กรมที่ถือครองกฎหมายจำนวน 2-4 ฉบับ กรมที่ถือครองกฎหมายจำนวน 1 ฉบับ กรมที่ไม่มีกฎหมายหลัก
  • 17. การเปรียบเทียบงบประมาณแบบแผนงานและมุ่งเน้นผลงาน รายการ งบประมาณแสดงรายการและแผนงาน งบประมาณมุ่งเน้นผลงาน ระยะเวลาของงบประมาณ - การจัดสรรงบประมาณปีต่อปี - จัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีและงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้า 3 ปี ประเภทรายจ่าย - รายจ่ายจำแนกเป็น 7 ประเภท - รายจ่ายจำแนกเป็น 5 ประเภท เกณฑ์การบันทึกบัญชี - เกณฑ์เงินสด (Cash Basis) - เกณฑ์เงินค้าง (Accrual Basis) การคิดต้นทุน - มีต้นทุนมาตรฐานของกิจกรรมบางประเภท - มีการคำนวณต้นทุนของผลผลิตหลักขององค์กร รายงานผลทางการเงิน - รูปแบบงบการเงินโดยกรมบัญชีกลาง - งบดุล งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และหมายเหตุประกอบ หน้าที่ของสำนักงบประมาณ - ควบคุมการจัดสรรงบประมาณ - ดูแลให้มีความโปร่งใส การติดตาม ระบบสารสนเทศ - บันทึกรายละเอียดการใช้จ่าย - บันทึกรายการโอนเงินอัตโนมัติ และคำนวณต้นทุนต่อกิจกรรม การตรวจสอบจากหน่วยงานภายนอก - สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน - ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา - สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน - ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา - คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
  • 18.  
  • 19.  
  • 20.  
  • 21. สำนัก / กอง ที่ 1 สำนัก / กอง ที่ 2 สัดส่วน (%) การปันค่าใช้จ่ายทางอ้อมให้แก่หน่วยต้นทุนหลัก 30% 70% กิจกรรมหลักที่ 1 กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมหลักที่ 3 35% 35% 30% 60% 40% สัดส่วนภาระงาน (%) ของหน่วยต้นทุนหลัก หน่วยสนับสนุน ( ต้นทุนทางอ้อม ) หน่วยต้นทุนหลัก ( ต้นทุนทางตรง ) ผลผลิตที่ 1 ผลผลิตที่ 2 สำนัก / กอง ที่ 4
  • 22. ตัวอย่างการเปรียบเทียบต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงกับงบประมาณแบบเดิม หน่วย : บาท U หมายเหตุ ผลต่างเกิดจากต้นทุนจริงหักงบประมาณ F – Favorable ( ผลต่างที่น่าพอใจ ) U – Unfavorable ( ผลต่าง ที่ไม่น่าพอใจ )
  • 24. การบริหารงบประมาณจังหวัด กระทรวง กรม กรม กรม จังหวัด กระทรวงมหาดไทย งบกลาง งบผู้ว่า CEO กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สำนักงานปลัด
  • 25.
  • 26. 3. การโอนงบประมาณโดยใช้ฐานเดิมแต่โอนเฉพาะบางหน่วยงานราชการ หน่วย : บาท จังหวัดนนทบุรี การโอนงบประมาณและทรัพย์สินสู่จังหวัด 68.57 31.43 100 ร้อยละ 1,503,961,707.40 689,470,314.60 2,193,432,022.00 รวม -  993,000 993,000 รัฐวิสาหกิจ 5 -  57,004,440 57,004,440 ส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือกรม 4 1,473,436,707 631,472,875 2,104,909,582 หน่วยงานราชการ ( ภูมิภาค 70%) 3 10,000,000 -  10,000,000 งบกลาง 2 20,525,000 -  20,525,000 งบบูรณาการหรืองบผู้ว่า CEO   1. ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนกลาง จำนวนเงิน แหล่งที่มาของงบประมาณ ลำดับ
  • 27. 4. การจัดทำงบประมาณโดยใช้ฐานภารกิจ จังหวัดนนทบุรี การโอนงบประมาณและทรัพย์สินสู่จังหวัด 77.59 22.41 100 ร้อยละ 1,730,910,000.00 500,000,000.00 2,230,910,000.00 รวม 700,000,000 300,000,000 1,000,000,000 โครงการบริการการศึกษา 5 400,000,000 100,000,000 500,000,000 บริการสาธารณะ 4 100,000,000 -  100,000,000 โครงการจัดทำสวนสาธารณะ 3 500,000,000 100,000,000 600,000,000 โครงการตัดถนน 2 30,910,000 -  30,910,000 โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค 1 ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนกลาง จำนวนเงิน โครงการ ลำดับ
  • 28. 4.1 การจัดทำงบประมาณโดยใช้ฐานภารกิจของโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี การโอนงบประมาณและทรัพย์สินสู่จังหวัด 30,910,000       รวม   250,000 200,000 100 ครั้ง / ปี   ค่าจัดซื้อ / ครั้ง 500 เงินเดือนต่อปี จำนวนครั้งในการจัดซื้อ / ปี 5. ค่าจัดซื้อและตรวจสอบ     7,000,000 100   100 บาท / คน / ปี     ค่าวัสดุต่อคนต่อปี - ค่าวัสดุต่อคนต่อปี 4. ค่าวัสดุและเครื่องมือแพทย์   21,000,000 300   300 บาท / คน / ปี     ค่ายาต่อคนต่อปี - ค่ายาต่อคนต่อปี 3. ค่ายา   1,260,000 - 90,000 5,000 : 1 ผู้ช่วยพยาบาล และเทคนิค )     เงินเดือนต่อคนต่อปี จำนวนประชากรต่อพยาบาล 2. ค่าพยาบาล ( ผู้ช่วยแพทย์   1,400,000 - 200,000 10,000 : 1       เงินเดือนต่อคนต่อปี จำนวนประชากรต่อแพทย์ 1. ค่าแพทย์ คน 70,000 ผันแปร คงที่ งบประมาณตามจำนวนประชากรในพื้นที่ ( บาท ) ต้นทุน ( บาท ) ตัวผลักดัน / ปี ตัวผลักดันต้นทุน กิจกรรม
  • 30. ความรับผิดชอบของหน่วยวิชาการขั้นสูง กระทรวงเจ้าสังกัด หน่วยวิชาการขั้นสูง
  • 31. ความรับผิดชอบของหน่วยงานบริหารทรัพยากรธรรมชาติ และการก่อสร้างขนาดใหญ่ กระทรวงเจ้าสังกัด หน่วยงานบริหารทรัพยากรธรรมชาติ และการก่อสร้างขนาดใหญ่ จังหวัด จังหวัด
  • 32. ความรับผิดชอบของจังหวัด สำนักประสานการบริหารราชการ ส่วนภูมิภาค จังหวัด คณะกรรมการที่ปรึกษา ภาคประชาชน
  • 33. ตารางการแบ่งงานกรมและหน่วยงานราชการในจังหวัด 189 งาน 128 งาน 10 งาน 48 งาน 327 งาน 195 จังหวัด ควรทำ กลุ่มจังหวัดและเขตพื้นที่อีก 2 ลักษณะควรทำ ควรทำร่วมกัน ส่วนกลางควรทำ จำนวนภารกิจหลักที่ดำเนิน การอยู่ในปัจจุบัน จำนวนหน่วยงานที่ศึกษา
  • 34.
  • 35. ภารกิจหน้าที่ที่ราชการบริหารส่วนกลางควรทำและราชการบริหารส่วนภูมิภาคควรทำ / 8. ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่จำต้องใช้เงินงบประมาณจำนวนมาก ประกอบกับต้องใช้บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในระดับสูงและเฉพาะทาง / 7. ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับการวางแผนและการกำหนดนโยบายทุกประเภทในระดับประเทศ / 6. ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับการต่างประเทศ / 5. ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับความมั่นคง ความปลอดภัย และความเรียบร้อยของประเทศ / 4. ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพของการพัฒนาพื้นที่ในระดับจังหวัดโดยตรงทั้งในทางเศรษฐกิจ การค้าอุตสาหกรรม การลงทุน และการสร้างความเข้มแข็งให้บังเกิดขึ้นในทางสังคม และชุมชนในระดับภูมิภาค / 3. ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อการส่งเสริม สนับสนุน แก่ประชาชนทางด้านสุขภาพ และการอนามัย ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ รวมทั้งการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติที่มีรากฐานมาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น / 2. ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบทางด้านการกำกับดูแลให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด การควบคุม ตรวจสอบ กำกับดูแลการปฏิบัติงานในพื้นที่สนาม ซึ่งมีพื้นที่การให้บริการในลักษณะเฉพาะและสามารถจำกัดจำนวนผู้รับบริการได้ / 1. ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อการบริการประชาชนโดยตรงและมีลักษณะของงานที่เน้นการทำงานสนาม และเน้นความสะดวกรวดเร็วของประชาชนในการเข้ารับบริการสาธารณะ ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนกลาง ภารกิจหลักของรัฐและราชการ
  • 36. แผนที่แนวทางการจัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานรัฐบาลในระยะแรก ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนกลาง ท้องถิ่น รัฐสภา / ศาล ราชการบริหารส่วนภูมิภาค องค์กรอิสระ กลุ่มจังหวัด รัฐวิสาหกิจ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
  • 37. แผนที่แนวทางการจัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานรัฐบาล ในระยะปานกลางและในระยะยาว กระทรวง กลุ่มภารกิจ กลุ่มภารกิจ กระทรวง กรม 15 กลุ่ม ภารกิจ ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3
  • 38.
  • 39.
  • 40. แนวคิดสู่การปฏิบัติที่บรรลุผล : ข้อพิจารณาว่าด้วย การบริหารการเปลี่ยนแปลง คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ , การพัฒนาระบบกฎหมาย การจัดทำระบบงบประมาณแบบตามฐานกิจกรรม การพัฒนาระบบข้อตกลงระหว่างองค์กรภาครัฐ ระบบการตรวจและติดตามประเมินผล และการพัฒนาบุคคลากรภาครัฐ 8. การทำให้ผลของการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นและคงอยู่กับองค์กรภาครัฐตลอดไป ผู้บริหารระดับสูงของทุกกระทรวง ผู้บริหารกลุ่มภารกิจ และคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 7. ความสำเร็จในเบื้องต้นมิใช่ความสำเร็จที่ถาวรและยังไม่ใช่ความสำเร็จในระยะยาว คณะรัฐมนตรี , คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ , สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ และผู้แทนขององค์กรภาครัฐทุกส่วน 6. การวางแผนและการทำข้อตกลงเพื่อให้เกิดความสำเร็จในระยะสั้น คณะรัฐมนตรี , คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ , คณะกรรมการกฤษฎีกา และรัฐสภา 5. การกำจัดอุปสรรคที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง องค์กรภาครัฐทุกภาคส่วน ประสานกับสื่อมวลชน และเครือข่ายภาคประชาชน 4. การสื่อสารและถ่ายทอดวิสัยทัศน์ คณะรัฐมนตรี , คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และองค์กรที่รัฐบาลได้มอบหมาย 3. การสร้างวิสัยทัศน์ที่รัฐและองค์กรภาครัฐต้องการจะเปลี่ยนแปลงไป คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน , คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลภาครัฐ และคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 2. การสร้างทีมงานและบุคลากรที่ดี นโยบายของรัฐบาล , การรณรงค์ขององค์กรที่มีหน้าที่ปฏิรูประบบราชการ , การทำงานของเครือข่าย สื่อมวลชน และภาคประชาชนที่จะกระตุ้นให้เกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลง 1. การสร้างความรู้สึกถึงความจำเป็นที่จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กรภาครัฐ กลไกและการทำงานขององค์กรที่จะก่อให้เกิดความสำเร็จ ขั้นตอนของการบริหารการเปลี่ยนแปลง
  • 41. รูปแสดงความสัมพันธ์ของกลยุทธ์กับเครื่องมือในการประเมินผลขององค์กร ตามแนวคิด The Balanced Scorecard ปรับใช้กับส่วนราชการในประเทศไทย Vision And Mission มุมมองด้านลูกค้าหรือประชาชนผู้รับบริการ มุมมองด้านกระบวนการภายในหรือการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน มุมมองด้านการเรียนรู้และการพัฒนา มุมมองด้านการเงินหรืองบประมาณ การเมืองและกฎหมาย มุมมองด้านสังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
  • 42.