SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 40
Baixar para ler offline
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
2 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบ ก ข ค ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 
(คะแนนเต็ม 10 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ฟีโรโมน หมายถึงข้อใด 
ก. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุก ๆตัวที่อยู่ข้างเคียง 
ข. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นที่อยู่ข้างเคียง 
ค. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นชนิดเดียวกัน 
ง. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุกตัวรวมทั้งสัตว์ที่ปล่อยสารด้วย 
2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง 
ก. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ชนิดอื่น คือ ฟีโรโมน 
ข. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ชนิดเดียวกัน คือ ฟีโรโมน 
ค. ฟีโรโมนสร้างมาจากต่อมมีท่อ ส่วนฮอร์โมนสร้างมาจากต่อมไร้ท่อ 
ง. ฮอร์โมนเมื่อสร้างขึ้นมาแล้วจะหมุนเวียนอยู่ภายในร่างกาย 
ส่วนฟีโรโมนปล่อยออกนอกร่างกาย 
3. ฮอร์โมนที่ทาให้แมลงมีการลอกคราบ และ metamorphosis คือข้อใด 
ก. brain hormone 
ข. molting hormone 
ค. Juvenile hormone 
ง. Metamorphosis hormone 
4. ข้อใดต่อไปนี้รับฟีโรโมนโดยการดูดซึม 
ก. แมงมุม ปลวก 
ข. ปลวก ผีเสื้อไหม 
ค. แมลงสาบ ผีเสื้อไหม 
ง. แมลงสาบ แมงมุม 
5. ปัจจัยที่สาคัญส่วนหนึ่งของแมลงที่ทาให้สามารถรับฟีโรโมนได้คือข้อใด 
ก. ที่อยู่ ทิศทางลม 
ข. ที่อยู่ อวัยวะรับสัมผัส 
ค. อวัยวะรับสัมผัส ทิศทางลม 
ง. ถูกทุกข้อ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
3 
6. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เกิดจากการปล่อยฟีโรโมนของผึ้ง 
ก. จะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ใกล้ 
ข. บินเป็นวงกลมเพื่อบอกให้รู้ว่ามีแหล่งอาหารอยู่ไกล 
ค. จะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ไกล 
ง. บินเป็นวงกลมเพื่อบอกให้รู้ว่าไม่มีแหล่งอาหารอยู่ 
7. ความแตกต่างระหว่างฟีโรโมนกับฮอร์โมน คือ 
ก. ฮอร์โมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น 
ข. ฟีโรโมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น 
ค. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเองและตัวอื่น 
ง. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเอง แต่มีผลกับตัวอื่น 
8. ข้อใดต่อไปนี้รับฟีโรโมนทางกลิ่น 
ก. ผึ้งงาน ชะมด ปลวก 
ข. ชะมด ผีเสื้อไหม ปลวก 
ค. ชะมด ผึ้งงาน ผีเสื้อไหม 
ง. ชะมด ผีเสื้อไหม แมงมุม 
9. ส่วนมากแล้วฟีโรโมนมีผลกับสัตว์ตัวอื่นในเรื่องใด 
ก. ไล่ศัตรู 
ข. การสืบพันธุ์ 
ค. การหาทิศทาง 
ง. การหาอาหาร 
10. ผีเสื้อราตรีตัวผู้สามารถเข้าผสมพันธุ์กับตัวเมียได้โดยอาศัยสิ่งใด 
ก. ฟีโรโมน 
ข. ไทรอกซิน 
ค. เอคไดโซน 
ง. ฮอร์โมนจากสมอง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
4 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 
เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
9vตอ 
1. ค 6. ค 
2. ก 7. ง 
3. ข 8. ข 
4. ง 9. ข 
5. ค 10. ก 
ไม่ถูกไม่เป็นไรครับ เข้าไปศึกษาเนื้อใน ชุดการสอนกันดูก่อนนะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
5 
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
เพื่อให้นักเรียนสามารถ 
1. อธิบายความหมายของฟีโรโมนได้ 
2. เปรียบเทียบความคล้ายคลึงและแตกต่างของฮอร์โมน 
และฟีโรโมนได้ 
3. นาฟีโรโมนจากสัตว์ไปประยุกต์ใช้ในการเกษตรได้
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
6 
บัตรคาสั่งที่ 8.1 
การศึกษาเกี่ยวกับฟีโรโมน 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 8.2 ใช้เวลา 10 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 8.2 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 8.2 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
7 
บัตรเนื้อหาที่ 8.1 
การศึกษาเกี่ยวกับฟีโรโมน 
การปล่อยฟีโรโมนของผีเสื้อไหม 
ที่มา:http://www. myfirstbrain.com 400 × 329 (18 เมษายน 2555) 
ฟีโรโมน เหมือนหรือแตกต่างจากฮอร์โมนอย่างไร 
อยากรู้ตามมาทางนี้นะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
8 
บัตรเนื้อหาที่ 8.2 
การศึกษาเกี่ยวกับฟีโรโมน 
ฟีโรโมน (Pheromone)" ถูกตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1959 โดยนักชีวเคมีชาวเยอรมันชื่อปี เตอร์ คาร์ลสัน (Peter Karlson) และ นักกีฏวิทยาชาวสวิสเซอร์แลนด์ชื่อ มาร์ติน ลุสเชอร์ (Martin Luscher) บนพื้นฐานของภาษากรีก 2 คา คือ Pherin แปลว่าการขนส่งและคาว่า Hormone ที่มีความหมายว่าการกระตุ้น ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วคาว่า ฟีโรโมน หมายถึง สารเคมี ที่สิ่งมีชีวิตสร้างและปล่อยออกนอกร่างกาย ซึ่งจะไปมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และขบวนการทางสรีรวิทยาของสมาชิกอื่น ๆ ที่อยู่ในสปีชีส์ (species) เดียวกัน โดยฟีโรโมน ชนิดแรกที่ถูกค้นพบได้แก่ฟีโรโมนของผีเสื้อหนอนไหม (Silkmoth, Bombyx mori) ซึ่งถูกพบ โดยนักชีวเคมีชาวเยอรมันชื่อ อดอล์ฟ บูทีนานด์ (Adolph Butenandt) โดยได้ทาการ ทดลองนาสารเคมีที่สกัดได้จากผีเสื้อหนอนไหมตัวเมียมาทดลองกับผีเสื้อหนอนไหมตัวผู้ โดย ทาให้ผีเสื้อหนอนไหมตัวผู้ไม่สามารถบินได้ หลังจากนั้นจึงนาสารที่พบไปวางล่อไว้ ผลที่ได้คือ ผีเสื้อหนอนไหมตัวผู้พยายามกระพือปีกเพื่อเคลื่อนย้ายตัวเองให้เข้ามาใกล้กับสารเคมีนั้นมาก ที่สุด และได้ตั้งชื่อสารนั้นว่า "บอมไบคอล" (Bombykol) 
การศึกษาฟีโรโมนในผีเสื้อไหม 
การทดลองที่ 1 
การทดลองในผีเสื้อไหม โดยการนากลุ่มผีเสื้อไหมตัวเมีย เอาไว้ในครอบแก้ว แล้วนาไปวางไว้กลางกลุ่มผีเสื้อไหมตัวผู้ แต่ผีเสื้อไหมตัวผู้ไม่แสดงอาการสนใจในกลุ่มตัวเมีย เลยทั้งๆ ที่มองเห็นกันอยู่ แต่เมื่อเปิดครอบแก้วออกผีเสื้อไหมตัวผู้จึงหันมาสนใจตัวเมีย 
ผีเสื้อไหมตัวผู้บินหนีผีเสื้อไหมตัวเมีย 
ที่มา:http:// www.vcharkarn.com560 × 165 (18 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
9 
ผีเสื้อไหมตัวผู้บินเข้าหาตัวเมียในครอบแก้ว 
ที่มา:http:// www.vcharkarn.com560 × 165 (18 เมษายน 2555) 
การทดลองที่ 2 
นาผีเสื้อไหมตัวผู้อยู่เหนือทิศทางลม ที่ให้ลมพัดผ่านตลอดเวลา ปรากฏว่า ผีเสื้อไหมตัวผู้ไม่มีปฏิกิริยาใดๆ แต่กลับกันเมื่อเอา ผีเสื้อไหมตัวเมีย ไว้เหนือลมบ้าง ปรากฏว่า ตัวผู้บินเข้าหาตัวเมีย ข้อมูลที่ได้จากการทดลองนี้ แสดงว่าผีเสื้อไหมตัวผู้ เคลื่อนที่เข้าหาตัว เมีย เนื่องจากกลิ่นของตัวเมียที่อยู่เหนือลมนั้นเอง หากไม่ได้กลิ่นของตัวเมีย ตัวผู้ก็จะไม่เข้าหา ตัวเมีย 
ทิศทางลมมีผลต่อการปล่อยฟีโรโมนของผีเสื้อไหม 
ที่มา:http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
10 
การทดลองที่ 3 
จากการศึกษาต่อมาพบว่าสารเคมีที่ผีเสื้อไหมตัวเมียสร้างขึ้นมาเพื่อดึงดูดให้ตัว ผู้สนใจนั้น สร้างที่ปล้องสุดท้ายของส่วนท้อง จึงมีการทดลองนากระดาษกรองไปซับบริเวณ ปล้องสุดท้ายของท้องตัวเมียแล้วนาไปวางใกล้ๆ กลุ่มตัวผู้ ปรากฏว่าตัวผู้เข้าหากระดาษซับนั้น 
ผีเสื้อไหมตัวผู้บินเข้าหาสารเคมีที่ผีเสื้อไหมตัวเมียสร้างขึ้น 
ที่มา:http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2555) 
การทดลองที่ 4 
นาผีเสื้อไหมตัวเมียไปวางท่ามกลางตัวผู้ปกติและตัวผู้ที่ตัดหนวดออกปรากฏว่า ตัวผู้ปกติเท่านั้นที่เข้าหาตัวเมียเพราะสามารถรับการสื่อสารด้วยฟีโรโมนจาก ตัวเมียได้ 
ผีเสื้อไหมตัวผู้ที่มีหนวดบินเข้าหาผีเสื้อไหมตัวเมีย 
ที่มา:http:// www.thaigoodview.com600 × 300 (18 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
11 
สรุปผลการทดลอง 
สารเคมีที่แมลงสร้างขึ้นมา เพื่อดึงดูดแมลงชนิดเดียวกันแต่เป็นเพศตรงข้ามกันได้ เรียกว่า “ฟีโรโมน” ซึ่งสารเคมีที่สัตว์สร้างขึ้นมานั้นจะมีผลต่อสัตว์ตัวอื่นที่เป็นสัตว์ชนิด เดียวกัน ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระและพฤติกรรมบางประการได้ 
ความแตกต่างระหว่างฟีโรโมนกับฮอร์โมน 
ฟีโรโมน ฮอร์โมน 1. เป็นสารเคมีพวกไขมันโมเลกุลสั้น ๆ 1. เป็นสารพวก โปรตีน เอมีน ฯลฯ 2. สร้างจากต่อมมีท่อ 2. สร้างจากต่อมไร้ท่อ 3. หลั่งออกมาภายนอก 3. เก็บหมุนเวียนอยู่ในร่างกาย 4. ไม่มีผลต่อตัวเอง 4. มีผลต่อตัวเองและตัวอื่น ๆ 5. มีผลต่อสัตว์สปีชีส์เดียวกัน 5. มีผลต่อสัตว์ต่างสปีชีส์ และสัตว์สปีชีส์เดียวกัน
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
12 
บัตรคาถามที่ 8.1 
การศึกษาเกี่ยวกับฟีโรโมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกอักษร ด้านล่างใส่ลงในช่อง ที่มีข้อความสัมพันธ์ 
กับข้อความทางด้านบน เพียงคาตอบเดียว 
(คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ฟีโรโมนถูกสร้างมาจากส่วนใด 
2. ฮอร์โมนถูกสร้างมาจากส่วนใด 
3. การทางานของฟีโรโมนขึ้นอยู่กับสิ่งใด 
4. เป็นสารพวก โปรตีน เอมีน 
5. สารเคมีที่แมลงสร้างขึ้นมา เพื่อดึงดูดแมลงชนิดเดียวกันแต่เป็นเพศตรงข้าม 
ก. ฟีโรโมน 
ข. ฮอร์โมน 
ค. ต่อมมีท่อ 
ง. ต่อมไร้ท่อ 
จ. ทิศทางลม
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
13 
บัตรเฉลยคาถามที่ 8.1 
การศึกษาเกี่ยวกับฟีโรโมน 
9vตอ 
1. ค 
2. ง 
3. จ 
4. ข 
5. ก 
ปรบมือให้คนเก่งกันหน่อยครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
14 
บัตรคาสั่งที่ 8.2 
ฟีโรโมนคืออะไร 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 8.1 ใช้เวลา 10 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 8.1 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 8.1 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
15 
บัตรเนื้อหาที่ 8.2 
ฟีโรโมนคืออะไร 
การปล่อยฟีโรโมนของแมลง 
ที่มา:http://www. myfirstbrain.com 400 × 329 (18 เมษายน 2555) 
ฟีโรโมน คืออะไร และสัตว์มีการรับฟีโรโมน 
ทางใดบ้าง อยากรู้ตามมาทางนี้นะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
16 
Brain 
Neurosecretory cell 
Corpus cardiacum 
Corpus allatum 
Brain hormone 
Low JH 
Ecdysone 
Juvonalo 
homone 
Early 
Larva 
Later 
Larva 
Pupa 
ADULT 
บัตรเนื้อหาที่ 8.2 
ฟีโรโมนคืออะไร 
ฟีโรโมน (Pheromone) 
ฟีโรโมน (Pheromone) คือ สารเคมีที่แมลงสร้างขึ้นมาดึงดูดเพศตรงข้าม โดยต่อมมีท่อ (exocrine gland) สารเคมีเมื่อสร้างออกมาภายนอกร่างกายแล้ว 
ซึ่งไม่มีผลต่อตัวเอง แต่จะไปมีผลต่อสัตว์ตัวอื่นที่เป็นชนิดหรือสปีชีส์เดียวกัน ให้เกิด 
การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม และสรีรวิทยาเฉพาะอย่างได้ 
ฟีโรโมน จัดเป็นสารเคมีที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสารสัญญาณดังนี้ 
1. สารดึงดูดเพศตรงข้าม (Sex Attractant) 
2. สารเตือนภัย (Alarm Pheromone) 
3. สารส่งเสริมการรวมกลุ่ม (Aggregation – Promoting Substances) 
ยกเว้นสารที่มีกลิ่นเหม็นๆของแมลงที่ผลิตออกมาเพื่อป้องกันศัตรู เรียกว่า Allomones 
ฮอร์โมนจากแมลง มี 3 กลุ่ม คือ 
1. ฮอร์โมนจากสมอง (brain hormone หรือ BH) เป็นกลุ่มฮอร์โมนซึ่งสร้าง จาก neurosecretory cell ในสมอง กระตุ้นต่อมไร้ท่อบริเวณทรวงอก ทาให้สร้างฮอร์โมน molting hormone (MH) ไปเก็บไว้ใน corpus cardiacum ต่อไป 
การปล่อยฮอร์โมนจากสมองของแมลง 
ที่มา:http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
17 
2. ฮอร์โมนเกี่ยวกับการลอกคราบ (molting hormone หรือ MH) 
สร้างบริเวณทรวงอกมีผลทาให้แมลงลอกคราบ และ metamorphosis เป็นตัวโตเต็มวัย 
การปล่อยฮอร์โมนเกี่ยวกับการลอกคราบของแมลงทาให้เกิดตัวเต็มวัย 
ที่มา:http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2554) 
3. ฮอร์โมนยูวีไนล์(Juvenile hormone หรือ JH) สร้างจากต่อมทางสมอง 
มาทางซ้ายเรียก corpus allatum ทาหน้าที่ห้ามระยะตัวหนอนและดักแด้ไม่ให้เป็นตัวเต็มวัย แต่ถ้ามี JH ลดลง จะกระตุ้นให้ลอกคราบแล้วกลายเป็นตัวเต็มวัยได้ 
การปล่อยฮอร์โมนยูวีไนส์ของแมลงกระตุ้นการลอกคราบ 
ที่มา:http://www. st-biology.blogspot.com 351 × 300 (18 เมษายน 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
18 
การรับฟีโรโมนของสัตว์ 
เมื่อสัตว์ตัวหนึ่งปล่อย Pheromone ออกมานอกร่างกายแล้ว สัตว์ตัวอื่นจะได้รับ 
Pheromone 3 ทาง ได้แก่ 
1. ทางกลิ่น (Olfaction ) พบในแมลงหลายชนิด ซึ่งส่วนมากก็เพื่อประโยชน์ 
ในการดึงดูดเพศตรงข้าม หรือไม่ก็เป็นการบอกให้รู้ว่าอยู่ที่ไหน หรือเป็นสัญญาณอันตราย 
เตือนภัยให้รู้ Pheromone ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ได้แก่ กลิ่นตัวแรงของชะมด ซึ่งสร้าง 
Pheromone มาจากต่อมใกล้ๆอวัยวะสืบพันธุ์ แล้วปล่อยออกมานอกร่างกายทั้งในตัวผู้ 
และตัวเมีย Pheromone ของชะมดนี้เองที่คนเราไปสกัด Pheromone แบบนี้มาจาก 
ธรรมชาติหลายชนิดแล้ว อีกทั้งยังสามารถสังเคราะห์ขึ้นเองเช่นกัน 
2. การกิน ( Ingestion ) เช่น ผึ้ง เป็นแมลงที่อยู่กันเป็นสังคม แบ่งเป็น 3 วรรณะ 
คือนางพญา ( Queen ) ตัวผู้ drone และผึ้งงาน worker นางพญาจะสร้างสารจากต่อม 
บริเวณระยางค์ของปากส่วน mandible เรียกสารนั้นว่า Queen substance เอาไว้ล่อ 
ผึ้งงาน โดยไปยับยั้งรังไข่ของผึ้งงาน ( ผึ้งงานมีเฉพาะตัวเมีย ) ไม่ให้มีการเจริญเติบโตและ 
สร้างรังไข่ จึงไม่มีโอกาสสืบพันธุ์ 
3. การดูดซึม ( absorption ) พบเฉพาะในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเท่านั้น 
เช่นแมงมุมบางชนิด และแมลงสาบ ตัวเมียจะปล่อย Pheromone ทิ้งเอาไว้จนกระทั่ง 
ตัวผู้มาสัมผัส ก็จะซึมเข้าไปกระตุ้นให้เกิดความต้องการทางเพศ ติดตามหาตัวเมียจนพบ 
และผสมพันธุ์ แต่ในตั๊กแตนตัวผู้จะปล่อยฟีโรโมนทิ้งเอาไว้หลังผสมพันธุ์ เมื่อตัวอ่อน 
มาสัมผัสฟีโรโมนนั้นก็จะดูดซึมเข้าไปกระตุ้นให้เติบโตเป็นตัวเต็มวัยและสืบพันธุ์ได้ 
ภาพแสดงผึ้งราชินีปล่อยฟีโรโมนให้ผึ้งงานกิน ที่มา : http://www. verginina.com 667 × 500 (18 เมษายน 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
19 
บัตรคาถามที่ 8.2 
ฟีโรโมนคืออะไร 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ฟีโรโมน หมายถึงข้อใด 
ก. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุก ๆตัวที่อยู่ข้างเคียง 
ข. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นที่อยู่ข้างเคียง 
ค. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นชนิดเดียวกัน 
ง. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุกตัวรวมทั้งสัตว์ที่ปล่อยสารด้วย 
2. ความแตกต่างระหว่างฟีโรโมนกับฮอร์โมน คือ 
ก. ฮอร์โมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น 
ข. ฟีโรโมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น 
ค. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเองและตัวอื่น 
ง. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเอง แต่มีผลกับตัวอื่น 
3. ข้อใดต่อไปนี้รับฟีโรโมนทางกลิ่น 
ก. ผึ้งงาน ชะมด ปลวก 
ข. ชะมด ผีเสื้อไหม ปลวก 
ค. ชะมด ผึ้งงาน ผีเสื้อไหม 
ง. ชะมด ผีเสื้อไหม แมงมุม 
4. ส่วนมากแล้วฟีโรโมนมีผลกับสัตว์ตัวอื่นในเรื่องใด 
ก. ไล่ศัตรู 
ข. การสืบพันธุ์ 
ค. การหาทิศทาง 
ง. การหาอาหาร 
5. ผีเสื้อราตรีตัวผู้สามารถเข้าผสมพันธุ์กับตัวเมียได้โดยอาศัยสิ่งใด 
ก. ฟีโรโมน 
ข. ไทรอกซิน 
ค. เอคไดโซน 
ง. ฮอร์โมนจากสมอง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
20 
บัตรเฉลยคาถามที่ 8.2 
ฟีโรโมนคืออะไร 
9vตอ 
1. ค 
2. ง 
3. ข 
4. ข 
5. ก 
ปรบมือให้คนเก่งกันหน่อยครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
21 
บัตรคาสั่งที่ 8.3 
ชนิดของฟีโรโมน 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 8.3 ใช้เวลา 10 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 8.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 8.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
22 
บัตรเนื้อหาที่ 8.3 
ชนิดของฟีโรโมน 
ชนิดของฟีโรโมน 
ฟีโรโมน (Pheromone) จาแนกตามปฏิกิริยาหรืออิทธิพลของฟีโรโมน 
จาแนกได้ 3 ชนิด ดังนี้ 
1. Releaser pheromone เป็น Pheromone ที่มีผลโดยตรงต่อระบบ 
ประสาทกลางของสัตว์ที่ได้รับ ทาให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองขึ้นในทันทีทันใด Releaser 
pheromone บางชนิดทาหน้าที่ดึงดูดเพศตรงข้ามให้มีการผสมพันธุ์ ชนิดนี้มีพบในสัตว์ทั่วไป 
ซึ่งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตัวผู้จะไปทาหน้าที่กระตุ้นให้ตัวเมียมีความต้องการทางเพศมากขึ้น 
ส่วนฟีโรโมนของตัวเมียทาหน้าที่บอกให้ตัวผู้ทราบถึงระยะเวลาที่จะผสมพันธุ์ 
Releaser pheromone บางชนิดทาหน้าที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการต่อสู้ 
เช่น หนูตัวผู้ 2 ตัวที่เคยอยู่ร่วมกันจะกัดกัน หากได้กลิ่น Pheromone ชนิดหนึ่งของหนูตัวผู้ 
จากที่อื่น นอกจากนั้น Releaser pheromone ใช้บอกความเป็นพวกเดียวกันในกลุ่มเดียวกัน 
บางชนิดก็บอกตาแหน่งที่อยู่อาศัย ดังเช่น Releaser pheromone ของมด ที่ใช้บอกทางเดิน 
นอกจากจะเป็นทางพาไปสู่แหล่งอาหาร และที่สร้างรังใหม่ ยังทาหน้าที่ช่วยกระตุ้นให้เกิด 
ความว่องไวด้วย Pheromone จะขับสารออกมาจากต่อมบริเวณอวัยวะที่มดใช้ต่อย 
โดยใช้อวัยวะดังกล่าวแตะกับพื้นเป็นระยะๆเมื่อมดงานมาพบทางนี้เข้ามันก็จะเดินตามทาง 
โดยอัตโนมัติ และมันจะเดินชิดกันด้วยเพื่อไม่ให้หลงทาง สารที่ใช้เป็นทางเดินนี้ระเหยได้ 
เมื่อระเหยไปจนต่ากว่า 
ฟีโรโมนมีกี่ชนิด และแต่ละชนิดมีผล 
ต่อการดารงชีวิตอย่างไรบ้าง 
อยากรู้เชิญทางนี้นะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
23 
ระดับ ความต้องการของมดแล้วก็ไม่สามารถที่จะกระตุ้นมดได้อีก 
ใช้เวลาทั้งสิ้น 2 นาทีและมดจะเดินทางได้ 40 เซนติเมตร การระเหยไปเช่นนี้ 
กลับมีประโยชน์เพราะมดจะเดินไม่หลงทางเดิมที่เลิกใช้ไปแล้ว ความเข้มข้น 
Pheromone ยังเป็นเครื่องบอกปริมาณอาหารด้วย 
2. Primer pheromone เป็น Pheromone ที่ไปมีผลต่อต่อมใต้สมอง 
ส่วนหน้าทาให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองที่ช้ามาก ต้องกระตุ้นเป็นเวลานานจึงจะ 
เกิดปฏิกิริยาทางสรีรวิทยาต่อเนื่องกันเป็นทอดๆ เช่น ปลวกซึ่งอยู่กันเป็นสังคม 
แบบเดียวกับผึ้งแต่มีเพิ่มอีก 2 วรรณะคือ submentary reproductive from 
และปลวกทหาร soldier พวกปลวกทหารและพวกที่สืบพันธุ์ได้จะขับสารออกมา 
และเมื่อตัวอ่อนกินเข้าไปสารนั้นจะไปบังคับ corpusallatum ไม่ให้ทางานตามปกติ 
ปลวกตัวอ่อนนี้จึงไม่เจริญเติบโตเป็นปลวกทหารและปลวกสืบพันธุ์ แต่จะเจริญไปเป็น 
ปลวกงาน ในตั๊กแตนบางชนิดตัวผู้จะขับสารระเหยออกมาจากผิว แล้วมีส่วนไปเร่ง 
การเติบโตของตัวอ่อน ทาให้ตั๊กแตนเพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว 
สาหรับ primer pheromone ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมส่วนมาก 
สร้างมาจากตัวผู้ ทาหน้าที่เกี่ยวกับเพศ คือ กระตุ้นหรือเร่งการเกิด estrus 
(เป็นช่วงเวลาหนึ่งที่ร่างกายสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตัวเมีย ยกเว้นคนอยู่ในสภาพ 
ที่พร้อมจะผสมพันธุ์ ) เช่น ในแพะแกะซึ่งมีการผสมพันธุ์เป็นฤดู ถ้านาตัวผู้มาอยู่กับ 
ตัวเมียก่อนฤดูผสมพันธุ์เล็กน้อย ตัวผู้จะสร้าง Pheromone มาเร่งการเกิด estrus 
ของตัวเมียเร่งการตกไข่เร็วกว่ากาหนด แต่ถ้าอยู่ด้วยกันมาตลอด จะไม่มีการเร่ง 
การตกไข่ให้เร็วขึ้น นอกจากนั้นแล้ว primer pheromone ยังทาหน้าที่ห้าม 
การตั้งท้องของหนูด้วย ขณะที่หนูตัวเมียตั้งเริ่มตั้งท้อง (ระยะก่อนที่ตัวอ่อนจะฝังตัว 
กับผนังมดลูก ) แล้วมีหนูตัวผู้จากที่อื่นไปยู่ด้วย กลิ่นของ Pheromone จากตัวผู้ 
ตัวอื่นจะไปมีผลยับยั้งการฝังตัว ของตัวอ่อนแต่กลับไปกระตุ้นให้มีการตกไข่ตามปกติ 
เพราะ Pheromone ของหนูตัวผู้นั้นไปสร้างสารกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้ 
หลั่งฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการตกไข่และการเกิด estrus ขณะเดียวกันก็ไปยับยั้ง 
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ไม่ให้หลั่งฮอร์โมนที่กระตุ้นรังไข่ไม่ให้สร้าง progesterone 
ที่จาเป็นต่อการฝังตัวของตัวอ่อน 
3. Imprinting pheromone การมีหรือไม่มี Pheromone 
บางอย่างในช่วงวิกฤติของการเจริญเติบโต จะไปทาให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองขึ้น 
ในตอนที่โตเต็มวัยขณะที่เป็นตัวอ่อนจะไม่แสดงอาการเรียก Pheromone 
ที่เกี่ยวกับปฏิกิริยาดังกล่าวว่า Imprinting pheromone พฤติกรรมของสัตว์โตเต็มวัย 
ที่ขาดหายไปก็เพราะเกี่ยวกับ Imprinting pheromone ในขณะที่กาลังเจริญเติบโต
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
24 
ฟีโรโมน จาแนกตามพฤติกรรม 
จาแนกได้ดังนี้ 
1. สารดึงดูดเพศตรงข้าม (Sex pheromone) พบในผีเสื้อไหมตัวเมีย 
ปล่อยสารออกมาดึงดูดผีเสื้อไหมตัวผู้ 
ภาพแสดงผีเสื้อไหมปล่อยฟีโรโมนดึงดูดเพศตรงข้าม ที่มา : http://www. charkarn.com 570 × 197 (18 เมษายน 2554) 
2. สารเตือนภัย (Alarm pheromone) เช่น มดตายจะมีฟีโรโมน 
ออกมา จากซากมดตัวนั้น ทาให้มีการขนซากมดไปทิ้งนอกรัง หรือเมื่อมีอันตรายจาก 
ธรรมชาติ เช่น น้าท่วม มดจะปล่อยฟีโรโมนออกมาทาให้มดขนไข่หนีออกจากรัง 
ภาพแสดงมดขนไข่ออกจากรังเมื่อมีภัย ที่มา : http://www. phitsanulokhotnews.com 1380 × 1005 (18 เมษายน 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
25 
3. สารนาทาง (Trial pheromone) ได้แก่ กรดบางชนิดที่มดงาน 
ปล่อยออกมาตามทางเดิน ทาให้มดตัวอื่นสามารถเดินไปยังอาหารได้ถูกต้อง 
ภาพแสดงมดเดินตามกันไปยังแหล่งอาหาร ที่มา : http://www. tobtan.com 255 × 177 (18 เมษายน 2554) 
4. สารจากนางพญา (Queen substance) เช่น สารที่นางพญา 
ให้ผึ้งงานกิน ทาให้ผึ้งงาน เป็นหมัน 
ภาพแสดงผึ้งราชินีปล่อยฟีโรโมนให้ผึ้งงานกินทาให้ผึ้งงานเป็นหมัน ที่มา : http://www. writer.dek-d.com 499 × 442 (18 เมษายน 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
26 
5. สารทาให้รวมกลุ่ม (Aggregation pheromone) เช่น 
นางพญาปลวกปล่อยสารออกมา ทาให้ปลวกงานมารวมกลุ่มกัน 
ภาพแสดงนางพญาปลวกปล่อยฟีโรโมนทาให้ปลวกงานรวมกลุ่มกัน ที่มา : http:// www.bloggang.com 324 × 250 (18 เมษายน 2554) 
6. สารแสดงอาณาเขต (Territory pheromone) เช่น สุนัขปัสสาวะ 
รดสิ่งต่างๆที่มันเดินผ่าน 
ภาพแสดงสุนัขปัสสาวะรดต้นไม้แสดงอาณาเขต ที่มา : http://www. dokterseo.com 400 × 300 (18 เมษายน 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
27 
ฟีโรโมนของมด 
มดเป็นแมลงที่พบในประเทศเขตร้อนต่างๆ เป็นสัตว์ในระบบนิเวศบก 
ที่มีการคาดคะเนว่าในโลกนี้มีมดอยู่ประมาณ 10,000 ชนิด แต่ที่พบมีประมาณ 8,800 ชนิด 
สาหรับในประเทศไทยคาดว่ามีมดประมาณ 800 – 1,000 ชนิด ซึ่งรู้จักกันมีไม่กี่ชนิด เช่น 
มดคันไฟ มดแดง มดดา มดตะนอย ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมดที่พบในบ้าน ที่เหลือเป็นมด 
อยู่ในป่าต่างๆ 
มดเป็นสัตว์สังคมที่อยู่ร่วมกันโดยแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบอย่างเป็นระบบ 
บางชนิดมีรังที่ใหญ่มาก ซึ่งมีมดอยู่ร่วมกันถึง 22 ล้านตัว อยู่กันอย่างเป็นระเบียบ 
ไม่มีการทะเลาะเบาะแว้ง หรือ เกี่ยงงานกัน จึงเป็นสิ่งมหัศจรรย์อย่างมากว่ามดจัดระบบ 
ประชากรให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติได้อย่างไร ซึ่งจากการศึกษาพบว่ามดสื่อสารกันโดยใช้ 
อวัยวะที่เรียกว่า หนวด สัมผัสกันและใช้สารเคมีที่ปล่อยออกมา มดบางชนิดเมื่อไปพบ 
แหล่งอาหารก็จะปล่อยสารเคมีชนิดหนึ่งออกมาจากต่อมภายนอก (Exocrine gland) 
ที่เรียกว่า ต่อมดูเฟอร์ (Dufoue’s gland) โดยสารเคมีชนิดนี้เรียกว่า ฟีโรโมน 
ซึ่งมดจะปล่อย ฟีโรโมน ขณะเดินไปพบอาหาร ฟีโรโมนนี้ จะระเหยได้ทาให้ปริมาณของ 
ฟีโรโมนจะจางลงไปเรื่อยๆ ในเวลาไม่เกิน 100 วินาที ซึ่งการระเหยของสารเคมีนี้มี 
ประโยชน์ต่อการสื่อสารของมด กล่าวคือถ้าแหล่งอาหารเก่าหมดเจอแหล่งอาหารใหม่ 
มดจะสามารถติดตามกลิ่นใหม่ไปยังแหล่งอาหารได้ถูกต้อง ไม่สับสนกับกลิ่นเดิม 
ฟีโรโมนที่มดปล่อยออกมาเรียกว่า กรดฟอร์มิก 
ภาพแสดงการสื่อสารของมด 
ที่มา : http://www. bknowledge.org 283 × 222 (25 เมษายน 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
28 
บัตรคาถามที่ 8.3 
ชนิดของฟีโรโมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกอักษร ด้านล่างใส่ลงในช่อง ที่มีข้อความสัมพันธ์ 
กับข้อความทางด้านบน เพียงคาตอบเดียว 
(คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. มด 
2. ทาให้ผึ้งงาน เป็นหมัน 
3. ห้ามการตั้งท้องของหนู 
4. ใช้บอกเส้นทางเดินของมด 
5. สุนัขปัสสาวะรดสิ่งต่าง ๆ ที่เดินผ่าน 
ก. กรดฟอร์มิก 
ข. แสดงอาณาเขต 
ค. สารจากนางพญา 
ง. primer pheromone 
จ. Releaser pheromone
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
29 
บัตรเฉลยคาถามที่ 8.3 
ชนิดของฟีโรโมน 
1. ก 
2. ค 
3. ง 
4. จ 
5. ข 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม 
เก่งมากครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
30 
บัตรคาสั่งที่ 8.4 
ประโยชน์ของฟีโรโมน 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 8.3 ใช้เวลา 10 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 8.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 8.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
31 
บัตรเนื้อหาที่ 8.4 
ประโยชน์ของฟีโรโมน 
ประโยชน์ของฟีโรโมน 
ปัจจุบันมนุษย์ได้พยายามค้นคว้าหาวิธีการต่าง ๆ 
มาใช้ในการลดยาฆ่าแมลง เพราะยาฆ่าแมลงมีพิษตกค้างระยะยาวในพืชและสิ่งแวดล้อม 
เช่น ดีดีที และออร์แกโนฟอสเฟต ที่เป็นอันตรายต่อแมลงที่มีประโยชน์อย่างแมลงตัวห้า 
แมลงตัวเบียน และแมลงที่ช่วยในการผสมเกสรดอกไม้ต่าง ๆ จึงมีนักวิทยาศาสตร์ได้เริ่ม 
นาเอาฟีโรโมนมาใช้ในการป้องกันและกาจัดแมลงซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 
1. การใช้ฟีโรโมนในการดักจับแมลง วิธีการนี้จะทาให้ปราศจากสารตกค้าง 
ที่เป็นอันตรายต่อพืชและสัตว์ชนิดอื่น รวมทั้งคนบริโภค เพราะจะใช้สารดึงดูดทางธรรมชาติ 
หรือฟีโรโมน ในการล่อให้แมลงชนิดนั้นๆ มาผสมพันธุ์ ฟีโรโมนได้จากการสังเคราะห์ 
จากห้องปฏิบัติการแล้วทาการสกัดให้เหมาะสมกับการใช้งานกับแมลงประเภทต่างๆ 
เช่น แบบน้า หรือแบบเม็ด วิธีการใช้งานแค่นาไปวางไว้ตามจุดต่างๆ ที่ต้องการ ดักจับแมลง 
ชนิดนั้นๆ แล้วจึงนาไปกาจัดในภายหลัง ดังนั้นจึงไม่ส่งผลกระทบต่อผลิตผลทางการเกษตร 
ของเกษตรกร นับเป็นวิธีการคุมกาเนิดกึ่งธรรมชาติที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม เพราะฟีโรโมน 
สังเคราะห์นั้นมีคุณสมบัติคล้ายๆ กับน้ามันมะกอกจึงไม่มีพิษต่อสิ่งแวดล้อมและผู้คน วิธีการนี้ 
แพร่หลายในหมู่เกษตรกรในอเมริกา โดยทาให้การใช้สารเคมีลดลงถึงปีละ 50 ตัน 
ฟีโรโมน มีประโยชน์อย่างไรบ้าง มนุษย์ 
สามารถนาฟีโรโมนมาใช้ประโยชน์ได้อย่างไร 
อยากรู้เชิญทางนี้ครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
32 
2. การใช้ฟีโรโมนเป็นเหยื่อล่อในกับดัก แต่วิธีนี้ไม่สามารถควบคุมปริมาณ 
ประชากรศัตรูพืชได้ เนื่องจากแมลงที่เข้ามาติดกับมีเพียงแมลงตัวผู้เท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม 
กับดักฟีโรโมนก็ยังมีประโยชน์ ในการใช้ตรวจสอบประชากรศัตรูพืช ถ้าจับแมลงตัวผู้ได้มาก 
แสดงว่า ประชากรศัตรูพืชในแปลงกาลังเพิ่มปริมาณมากขึ้นและ แสดงว่า ผีเสื้อกลางคืน 
เพศเมียพร้อมจะวางไข่แล้ว 
3. ใช้ฟีโรโมน เพื่อขัดขวางการจับคู่ของแมลงคือ การปล่อยฟีโรโมน 
จานวนมากในฟาร์มจะทาให้อากาศในฟาร์มเต็มไปด้วยกลิ่นฟีโรโมน แมลงตัวผู้จะไม่สามารถ หาที่อยู่ของแมลงตัวเมียได้ และการจับคู่ก็จะถูกขัดขวาง อย่างไรก็ตาม เทคนิคนี้ยังคงมีการ พัฒนาต่อไป และในขณะนี้วิธีการนี้ก็มีราคาที่แพงมาก 
ประโยชน์ในการสื่อสารของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 
การสื่อสารฟีโรโมนในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น 
1. แมลงสาบ และแมงมุมบางชนิด ตัวเมียของสัตว์ทั้งสองชนิด จะปล่อย 
ฟีโรโมน ทิ้งไว้จนตัวผู้ไปสัมผัส ทาให้ฟีโรโมนซึมผ่านผิวเข้าไปกระตุ้นตัวผู้ ทาให้ตามตัวเมีย 
จนพบ และทาการผสมพันธุ์ 
ภาพแสดงแมงมุมตัวผู้เดินตามหาแมงมุมตัวเมียเพื่อทาการผสมพันธุ์ 
ที่มา : http://www. variety.thaiza.com 500 × 333 (18 เมษายน 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
33 
2. ตั๊กแตน ตัวผู้จะปล่อยฟีโรโมนทิ้งไว้ หลังจากผสมพันธุ์แล้ว เมื่อตัวอ่อน 
ฟักออกมาจากไข่ และเติบโตออกมาสัมผัสกับสาร ทาให้ซึมผ่านเข้าร่างกายตัวอ่อน 
กระตุ้นตัวอ่อนให้เติบโตเป็นตัวเต็มวัย และสามารถสืบพันธุ์ได้ 
ภาพแสดงตั๊กแตนตัวเต็มวัยที่สามารถสืบพันธุ์ได้ ที่มา : http://www. webboard.edtguide.com 700 × 467 (18 เมษายน 2554) 
3. ปลวก นางพญาจะปล่อยฟีโรโมนดึงดูดให้ปลวกงานมาล้อมรอบ 
ภาพแสดงปลวกล้อมรอบนางพญาปลวก 
ที่มา : http://www. biogang.net 800 × 600 (18 เมษายน 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
34 
4. มด จะเดินตามกันเป็นทาง โดยปล่อยฟีโรโมน ที่เรียกว่า กรดฟอร์มิก 
ไว้ตามทางที่เดินผ่านไป ทาให้มดสามารถเดินกลับรังได้ 
ลักษณะการเดินของมด 
ที่มา : http://www. tobtan.com 255 × 177 (18 เมษายน 2554) 
5. ผึ้ง ปล่อยฟีโรโมนและจะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ไกล หรือบินเป็นวงกลมเพื่อบอกให้รู้ว่ามีแหล่งอาหารอยู่ใกล้ 
ภาพแสดงการบินของผึ้ง 
ที่มา : http://www. myfirstbrain.com 500 × 292 (18 เมษายน 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
35 
บัตรคาถามที่ 8.4 
ประโยชน์ของฟีโรโมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย ใน หน้าข้อความที่ถูกต้อง 
และทาเครื่องหมาย  ใน หน้าข้อความที่ผิด 
(คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ผึ้ง จะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ไกล 
2. กรดฟอร์มิก คือ ฟีโรโมนที่ผึ้งนางพญาปล่อยให้ผึ้งงานกิน 
3. ฟีโรโมนของตั้กแตนตัวผู้ทาให้ตัวอ่อนหยุดการเจริญเติบโต 
4. การใช้ฟีโรโมนในการดักจับแมลง วิธีการนี้จะทาให้ปราศจากสารตกค้าง 
ที่เป็นอันตรายต่อพืชและสัตว์ 
5. การปล่อยฟีโรโมนจานวนมากในฟาร์มเป็นการกาจัดศรัทตรู พืชที่ดีที่สุด
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
36 
บัตรเฉลยคาถามที่ 8.4 
ประโยชน์ของฟีโรโมน 
ปรบมือให้คนเก่งหน่อยครับ 
1.  
2.  
3.  
4.  
5. 
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
37 
แบบทดสอบหลังเรียน 
เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบ ก ข ค ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 
(คะแนนเต็ม 10 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ฟีโรโมน หมายถึงข้อใด 
ก. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุก ๆตัวที่อยู่ข้างเคียง 
ข. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นที่อยู่ข้างเคียง 
ค. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นชนิดเดียวกัน 
ง. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุกตัวรวมทั้งสัตว์ที่ปล่อยสารด้วย 
2. ความแตกต่างระหว่างฟีโรโมนกับฮอร์โมน คือ 
ก. ฮอร์โมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น 
ข. ฟีโรโมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น 
ค. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเองและตัวอื่น 
ง. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเอง แต่มีผลกับตัวอื่น 
3. ข้อใดต่อไปนี้รับฟีโรโมนทางกลิ่น 
ก. ผึ้งงาน ชะมด ปลวก 
ข. ชะมด ผีเสื้อไหม ปลวก 
ค. ชะมด ผึ้งงาน ผีเสื้อไหม 
ง. ชะมด ผีเสื้อไหม แมงมุม 
4. ส่วนมากแล้วฟีโรโมนมีผลกับสัตว์ตัวอื่นในเรื่องใด 
ก. ไล่ศัตรู 
ข. การสืบพันธุ์ 
ค. การหาทิศทาง 
ง. การหาอาหาร 
5. ผีเสื้อราตรีตัวผู้สามารถเข้าผสมพันธุ์กับตัวเมียได้โดยอาศัยสิ่งใด 
ก. ฟีโรโมน 
ข. ไทรอกซิน 
ค. เอคไดโซน 
ง. ฮอร์โมนจากสมอง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
38 
6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง 
ก. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ชนิดอื่น คือ ฟีโรโมน 
ข. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ชนิดเดียวกัน คือ ฟีโรโมน 
ค. ฟีโรโมนสร้างมาจากต่อมมีท่อ ส่วนฮอร์โมนสร้างมาจากต่อมไร้ท่อ 
ง. ฮอร์โมนเมื่อสร้างขึ้นมาแล้วจะหมุนเวียนอยู่ภายในร่างกาย 
ส่วนฟีโรโมนปล่อยออกนอกร่างกาย 
7. ฮอร์โมนที่ทาให้แมลงมีการลอกคราบ และ metamorphosis คือข้อใด 
ก. brain hormone 
ข. molting hormone 
ค. Juvenile hormone 
ง. Metamorphosis hormone 
8. ข้อใดต่อไปนี้รับฟีโรโมนโดยการดูดซึม 
ก. แมงมุม ปลวก 
ข. ปลวก ผีเสื้อไหม 
ค. แมลงสาบ ผีเสื้อไหม 
ง. แมลงสาบ แมงมุม 
9. ปัจจัยที่สาคัญส่วนหนึ่งของแมลงที่ทาให้สามารถรับฟีโรโมนได้คือข้อใด 
ก. ที่อยู่ ทิศทางลม 
ข. ที่อยู่ อวัยวะรับสัมผัส 
ค. อวัยวะรับสัมผัส ทิศทางลม 
ง. ถูกทุกข้อ 
10. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เกิดจากการปล่อยฟีโรโมนของผึ้ง 
ก. จะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ใกล้ 
ข. บินเป็นวงกลมเพื่อบอกให้รู้ว่ามีแหล่งอาหารอยู่ไกล 
ค. จะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ไกล 
ง. บินเป็นวงกลมเพื่อบอกให้รู้ว่าไม่มีแหล่งอาหารอยู่
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
39 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 
เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
9vตอ 
1. ค 6. ก 
2. ง 7. ข 
3. ข 8. ง 
4. ข 9. ค 
5. ก 10. ค 
เก่งมากครับ ถูกหมดเลย 
ไปศึกษาชุดการสอนต่อไปได้เลย 
ครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
40 
บรรณานุกรม 
เกษม ศรีพงษ์ และคณะ. ชีววิทยา. กรุงเทพฯ : ชมรมบัณฑิตแนะแนว, 2540. 
____________. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4- ม.6). กรุงเทพฯ : 
ภูมิบัณฑิตการพิมพ์, 2537. 
ธนะชัย ทองศรีนุช และคณะ. คู่มือชีววิทยา 6 ว 044. กรุงเทพ ฯ : ประสานมิตร, 2533. 
นันทิยา บุญเคลือบ และคณะ. พจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับภาพประกอบ. กรุงเทพ ฯ : 
โปรดัคทีฟ บุ๊ค , 2541. 
ประพันธ์ พนธารา. สรุปเข้มชีววิทยาพื้นฐานและเพิ่มเติมใหม่ . กรุงเทพ ฯ : 
ซีแอนด์เอ็นบุ๊ค. แม็ค, 2552. 
ปรีชา สุวรรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพฯ: 
เจริญดีการพิมพ์, 2536. 
สมาน แก้วไวยุทธ. คู่มือเตรียมสอบชีววิทยา ม.4 – 5 – 6 . กรุงเทพฯ : ไทเนรมิต 
อินเตอร์โปรเกรสซีฟ. 2537. 
สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, โครงการ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 10. 
กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531. 
สมใจ รักษาศรี. ชีววิทยา Essential Atlas of Biology. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2547. 
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . 
หนังสือเรียนชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548 
____________. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548. 
____________. หนังสือเรียนวิชาชีววิทยา ว044 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 . กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2536. 
http://www. myfirstbrain.com 500 × 292 (18 เมษายน 2555) 
http://www. tobtan.com 255 × 177 (18 เมษายน 2555) 
http://www. biogang.net 800 × 600 (18 เมษายน 2555) 
http://www. webboard.edtguide.com 700 × 467 (18 เมษายน 2555) 
http://www. variety.thaiza.com 500 × 333 (18 เมษายน 2555) 
http://www. bknowledge.org 283 × 222 (25 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 
41 
http://www. dokterseo.com 400 × 300 (18 เมษายน 2555) 
http:// www.bloggang.com 324 × 250 (18 เมษายน 2555) 
http://www. writer.dek-d.com 499 × 442 (18 เมษายน 2555) 
http://www. tobtan.com 255 × 177 (18 เมษายน 2555) 
http://www. phitsanulokhotnews.com 1380 × 1005 (18 เมษายน 2555) 
http://www. charkarn.com 570 × 197 (18 เมษายน 2555) 
http://www. verginina.com 667 × 500 (18 เมษายน 2555) 
http://www. st-biology.blogspot.com 351 × 300 (18 เมษายน 2555) 
http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2555) 
http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2555)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4พัน พัน
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกายสำเร็จ นางสีคุณ
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 

Mais procurados (20)

แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 

Semelhante a ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน

สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50chugafull
 
....
........
....MM AK
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50yyyim
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50Weerachat Martluplao
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯnampeungnsc
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีSuwicha Tapiaseub
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50wayosaru01
 

Semelhante a ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน (20)

ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียลชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไตชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
 
2 hormone p_lan
2 hormone p_lan2 hormone p_lan
2 hormone p_lan
 
5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน
 
06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
....
........
....
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การงานน
การงานนการงานน
การงานน
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 

Mais de วิเชียร กีรติศักดิ์กุล

ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 

Mais de วิเชียร กีรติศักดิ์กุล (9)

แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โทแบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
 
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายในชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายในชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
 

ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน

  • 1. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 2 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบ ก ข ค ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ฟีโรโมน หมายถึงข้อใด ก. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุก ๆตัวที่อยู่ข้างเคียง ข. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นที่อยู่ข้างเคียง ค. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นชนิดเดียวกัน ง. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุกตัวรวมทั้งสัตว์ที่ปล่อยสารด้วย 2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ชนิดอื่น คือ ฟีโรโมน ข. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ชนิดเดียวกัน คือ ฟีโรโมน ค. ฟีโรโมนสร้างมาจากต่อมมีท่อ ส่วนฮอร์โมนสร้างมาจากต่อมไร้ท่อ ง. ฮอร์โมนเมื่อสร้างขึ้นมาแล้วจะหมุนเวียนอยู่ภายในร่างกาย ส่วนฟีโรโมนปล่อยออกนอกร่างกาย 3. ฮอร์โมนที่ทาให้แมลงมีการลอกคราบ และ metamorphosis คือข้อใด ก. brain hormone ข. molting hormone ค. Juvenile hormone ง. Metamorphosis hormone 4. ข้อใดต่อไปนี้รับฟีโรโมนโดยการดูดซึม ก. แมงมุม ปลวก ข. ปลวก ผีเสื้อไหม ค. แมลงสาบ ผีเสื้อไหม ง. แมลงสาบ แมงมุม 5. ปัจจัยที่สาคัญส่วนหนึ่งของแมลงที่ทาให้สามารถรับฟีโรโมนได้คือข้อใด ก. ที่อยู่ ทิศทางลม ข. ที่อยู่ อวัยวะรับสัมผัส ค. อวัยวะรับสัมผัส ทิศทางลม ง. ถูกทุกข้อ
  • 2. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 3 6. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เกิดจากการปล่อยฟีโรโมนของผึ้ง ก. จะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ใกล้ ข. บินเป็นวงกลมเพื่อบอกให้รู้ว่ามีแหล่งอาหารอยู่ไกล ค. จะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ไกล ง. บินเป็นวงกลมเพื่อบอกให้รู้ว่าไม่มีแหล่งอาหารอยู่ 7. ความแตกต่างระหว่างฟีโรโมนกับฮอร์โมน คือ ก. ฮอร์โมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น ข. ฟีโรโมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น ค. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเองและตัวอื่น ง. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเอง แต่มีผลกับตัวอื่น 8. ข้อใดต่อไปนี้รับฟีโรโมนทางกลิ่น ก. ผึ้งงาน ชะมด ปลวก ข. ชะมด ผีเสื้อไหม ปลวก ค. ชะมด ผึ้งงาน ผีเสื้อไหม ง. ชะมด ผีเสื้อไหม แมงมุม 9. ส่วนมากแล้วฟีโรโมนมีผลกับสัตว์ตัวอื่นในเรื่องใด ก. ไล่ศัตรู ข. การสืบพันธุ์ ค. การหาทิศทาง ง. การหาอาหาร 10. ผีเสื้อราตรีตัวผู้สามารถเข้าผสมพันธุ์กับตัวเมียได้โดยอาศัยสิ่งใด ก. ฟีโรโมน ข. ไทรอกซิน ค. เอคไดโซน ง. ฮอร์โมนจากสมอง
  • 3. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 4 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 9vตอ 1. ค 6. ค 2. ก 7. ง 3. ข 8. ข 4. ง 9. ข 5. ค 10. ก ไม่ถูกไม่เป็นไรครับ เข้าไปศึกษาเนื้อใน ชุดการสอนกันดูก่อนนะครับ
  • 4. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 5 จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถ 1. อธิบายความหมายของฟีโรโมนได้ 2. เปรียบเทียบความคล้ายคลึงและแตกต่างของฮอร์โมน และฟีโรโมนได้ 3. นาฟีโรโมนจากสัตว์ไปประยุกต์ใช้ในการเกษตรได้
  • 5. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 6 บัตรคาสั่งที่ 8.1 การศึกษาเกี่ยวกับฟีโรโมน โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 8.2 ใช้เวลา 10 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 8.2 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 8.2 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 6. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 7 บัตรเนื้อหาที่ 8.1 การศึกษาเกี่ยวกับฟีโรโมน การปล่อยฟีโรโมนของผีเสื้อไหม ที่มา:http://www. myfirstbrain.com 400 × 329 (18 เมษายน 2555) ฟีโรโมน เหมือนหรือแตกต่างจากฮอร์โมนอย่างไร อยากรู้ตามมาทางนี้นะครับ
  • 7. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 8 บัตรเนื้อหาที่ 8.2 การศึกษาเกี่ยวกับฟีโรโมน ฟีโรโมน (Pheromone)" ถูกตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1959 โดยนักชีวเคมีชาวเยอรมันชื่อปี เตอร์ คาร์ลสัน (Peter Karlson) และ นักกีฏวิทยาชาวสวิสเซอร์แลนด์ชื่อ มาร์ติน ลุสเชอร์ (Martin Luscher) บนพื้นฐานของภาษากรีก 2 คา คือ Pherin แปลว่าการขนส่งและคาว่า Hormone ที่มีความหมายว่าการกระตุ้น ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วคาว่า ฟีโรโมน หมายถึง สารเคมี ที่สิ่งมีชีวิตสร้างและปล่อยออกนอกร่างกาย ซึ่งจะไปมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และขบวนการทางสรีรวิทยาของสมาชิกอื่น ๆ ที่อยู่ในสปีชีส์ (species) เดียวกัน โดยฟีโรโมน ชนิดแรกที่ถูกค้นพบได้แก่ฟีโรโมนของผีเสื้อหนอนไหม (Silkmoth, Bombyx mori) ซึ่งถูกพบ โดยนักชีวเคมีชาวเยอรมันชื่อ อดอล์ฟ บูทีนานด์ (Adolph Butenandt) โดยได้ทาการ ทดลองนาสารเคมีที่สกัดได้จากผีเสื้อหนอนไหมตัวเมียมาทดลองกับผีเสื้อหนอนไหมตัวผู้ โดย ทาให้ผีเสื้อหนอนไหมตัวผู้ไม่สามารถบินได้ หลังจากนั้นจึงนาสารที่พบไปวางล่อไว้ ผลที่ได้คือ ผีเสื้อหนอนไหมตัวผู้พยายามกระพือปีกเพื่อเคลื่อนย้ายตัวเองให้เข้ามาใกล้กับสารเคมีนั้นมาก ที่สุด และได้ตั้งชื่อสารนั้นว่า "บอมไบคอล" (Bombykol) การศึกษาฟีโรโมนในผีเสื้อไหม การทดลองที่ 1 การทดลองในผีเสื้อไหม โดยการนากลุ่มผีเสื้อไหมตัวเมีย เอาไว้ในครอบแก้ว แล้วนาไปวางไว้กลางกลุ่มผีเสื้อไหมตัวผู้ แต่ผีเสื้อไหมตัวผู้ไม่แสดงอาการสนใจในกลุ่มตัวเมีย เลยทั้งๆ ที่มองเห็นกันอยู่ แต่เมื่อเปิดครอบแก้วออกผีเสื้อไหมตัวผู้จึงหันมาสนใจตัวเมีย ผีเสื้อไหมตัวผู้บินหนีผีเสื้อไหมตัวเมีย ที่มา:http:// www.vcharkarn.com560 × 165 (18 เมษายน 2555)
  • 8. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 9 ผีเสื้อไหมตัวผู้บินเข้าหาตัวเมียในครอบแก้ว ที่มา:http:// www.vcharkarn.com560 × 165 (18 เมษายน 2555) การทดลองที่ 2 นาผีเสื้อไหมตัวผู้อยู่เหนือทิศทางลม ที่ให้ลมพัดผ่านตลอดเวลา ปรากฏว่า ผีเสื้อไหมตัวผู้ไม่มีปฏิกิริยาใดๆ แต่กลับกันเมื่อเอา ผีเสื้อไหมตัวเมีย ไว้เหนือลมบ้าง ปรากฏว่า ตัวผู้บินเข้าหาตัวเมีย ข้อมูลที่ได้จากการทดลองนี้ แสดงว่าผีเสื้อไหมตัวผู้ เคลื่อนที่เข้าหาตัว เมีย เนื่องจากกลิ่นของตัวเมียที่อยู่เหนือลมนั้นเอง หากไม่ได้กลิ่นของตัวเมีย ตัวผู้ก็จะไม่เข้าหา ตัวเมีย ทิศทางลมมีผลต่อการปล่อยฟีโรโมนของผีเสื้อไหม ที่มา:http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2555)
  • 9. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 10 การทดลองที่ 3 จากการศึกษาต่อมาพบว่าสารเคมีที่ผีเสื้อไหมตัวเมียสร้างขึ้นมาเพื่อดึงดูดให้ตัว ผู้สนใจนั้น สร้างที่ปล้องสุดท้ายของส่วนท้อง จึงมีการทดลองนากระดาษกรองไปซับบริเวณ ปล้องสุดท้ายของท้องตัวเมียแล้วนาไปวางใกล้ๆ กลุ่มตัวผู้ ปรากฏว่าตัวผู้เข้าหากระดาษซับนั้น ผีเสื้อไหมตัวผู้บินเข้าหาสารเคมีที่ผีเสื้อไหมตัวเมียสร้างขึ้น ที่มา:http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2555) การทดลองที่ 4 นาผีเสื้อไหมตัวเมียไปวางท่ามกลางตัวผู้ปกติและตัวผู้ที่ตัดหนวดออกปรากฏว่า ตัวผู้ปกติเท่านั้นที่เข้าหาตัวเมียเพราะสามารถรับการสื่อสารด้วยฟีโรโมนจาก ตัวเมียได้ ผีเสื้อไหมตัวผู้ที่มีหนวดบินเข้าหาผีเสื้อไหมตัวเมีย ที่มา:http:// www.thaigoodview.com600 × 300 (18 เมษายน 2555)
  • 10. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 11 สรุปผลการทดลอง สารเคมีที่แมลงสร้างขึ้นมา เพื่อดึงดูดแมลงชนิดเดียวกันแต่เป็นเพศตรงข้ามกันได้ เรียกว่า “ฟีโรโมน” ซึ่งสารเคมีที่สัตว์สร้างขึ้นมานั้นจะมีผลต่อสัตว์ตัวอื่นที่เป็นสัตว์ชนิด เดียวกัน ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระและพฤติกรรมบางประการได้ ความแตกต่างระหว่างฟีโรโมนกับฮอร์โมน ฟีโรโมน ฮอร์โมน 1. เป็นสารเคมีพวกไขมันโมเลกุลสั้น ๆ 1. เป็นสารพวก โปรตีน เอมีน ฯลฯ 2. สร้างจากต่อมมีท่อ 2. สร้างจากต่อมไร้ท่อ 3. หลั่งออกมาภายนอก 3. เก็บหมุนเวียนอยู่ในร่างกาย 4. ไม่มีผลต่อตัวเอง 4. มีผลต่อตัวเองและตัวอื่น ๆ 5. มีผลต่อสัตว์สปีชีส์เดียวกัน 5. มีผลต่อสัตว์ต่างสปีชีส์ และสัตว์สปีชีส์เดียวกัน
  • 11. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 12 บัตรคาถามที่ 8.1 การศึกษาเกี่ยวกับฟีโรโมน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกอักษร ด้านล่างใส่ลงในช่อง ที่มีข้อความสัมพันธ์ กับข้อความทางด้านบน เพียงคาตอบเดียว (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ฟีโรโมนถูกสร้างมาจากส่วนใด 2. ฮอร์โมนถูกสร้างมาจากส่วนใด 3. การทางานของฟีโรโมนขึ้นอยู่กับสิ่งใด 4. เป็นสารพวก โปรตีน เอมีน 5. สารเคมีที่แมลงสร้างขึ้นมา เพื่อดึงดูดแมลงชนิดเดียวกันแต่เป็นเพศตรงข้าม ก. ฟีโรโมน ข. ฮอร์โมน ค. ต่อมมีท่อ ง. ต่อมไร้ท่อ จ. ทิศทางลม
  • 12. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 13 บัตรเฉลยคาถามที่ 8.1 การศึกษาเกี่ยวกับฟีโรโมน 9vตอ 1. ค 2. ง 3. จ 4. ข 5. ก ปรบมือให้คนเก่งกันหน่อยครับ
  • 13. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 14 บัตรคาสั่งที่ 8.2 ฟีโรโมนคืออะไร โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 8.1 ใช้เวลา 10 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 8.1 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 8.1 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 14. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 15 บัตรเนื้อหาที่ 8.2 ฟีโรโมนคืออะไร การปล่อยฟีโรโมนของแมลง ที่มา:http://www. myfirstbrain.com 400 × 329 (18 เมษายน 2555) ฟีโรโมน คืออะไร และสัตว์มีการรับฟีโรโมน ทางใดบ้าง อยากรู้ตามมาทางนี้นะครับ
  • 15. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 16 Brain Neurosecretory cell Corpus cardiacum Corpus allatum Brain hormone Low JH Ecdysone Juvonalo homone Early Larva Later Larva Pupa ADULT บัตรเนื้อหาที่ 8.2 ฟีโรโมนคืออะไร ฟีโรโมน (Pheromone) ฟีโรโมน (Pheromone) คือ สารเคมีที่แมลงสร้างขึ้นมาดึงดูดเพศตรงข้าม โดยต่อมมีท่อ (exocrine gland) สารเคมีเมื่อสร้างออกมาภายนอกร่างกายแล้ว ซึ่งไม่มีผลต่อตัวเอง แต่จะไปมีผลต่อสัตว์ตัวอื่นที่เป็นชนิดหรือสปีชีส์เดียวกัน ให้เกิด การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม และสรีรวิทยาเฉพาะอย่างได้ ฟีโรโมน จัดเป็นสารเคมีที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสารสัญญาณดังนี้ 1. สารดึงดูดเพศตรงข้าม (Sex Attractant) 2. สารเตือนภัย (Alarm Pheromone) 3. สารส่งเสริมการรวมกลุ่ม (Aggregation – Promoting Substances) ยกเว้นสารที่มีกลิ่นเหม็นๆของแมลงที่ผลิตออกมาเพื่อป้องกันศัตรู เรียกว่า Allomones ฮอร์โมนจากแมลง มี 3 กลุ่ม คือ 1. ฮอร์โมนจากสมอง (brain hormone หรือ BH) เป็นกลุ่มฮอร์โมนซึ่งสร้าง จาก neurosecretory cell ในสมอง กระตุ้นต่อมไร้ท่อบริเวณทรวงอก ทาให้สร้างฮอร์โมน molting hormone (MH) ไปเก็บไว้ใน corpus cardiacum ต่อไป การปล่อยฮอร์โมนจากสมองของแมลง ที่มา:http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2554)
  • 16. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 17 2. ฮอร์โมนเกี่ยวกับการลอกคราบ (molting hormone หรือ MH) สร้างบริเวณทรวงอกมีผลทาให้แมลงลอกคราบ และ metamorphosis เป็นตัวโตเต็มวัย การปล่อยฮอร์โมนเกี่ยวกับการลอกคราบของแมลงทาให้เกิดตัวเต็มวัย ที่มา:http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2554) 3. ฮอร์โมนยูวีไนล์(Juvenile hormone หรือ JH) สร้างจากต่อมทางสมอง มาทางซ้ายเรียก corpus allatum ทาหน้าที่ห้ามระยะตัวหนอนและดักแด้ไม่ให้เป็นตัวเต็มวัย แต่ถ้ามี JH ลดลง จะกระตุ้นให้ลอกคราบแล้วกลายเป็นตัวเต็มวัยได้ การปล่อยฮอร์โมนยูวีไนส์ของแมลงกระตุ้นการลอกคราบ ที่มา:http://www. st-biology.blogspot.com 351 × 300 (18 เมษายน 2554)
  • 17. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 18 การรับฟีโรโมนของสัตว์ เมื่อสัตว์ตัวหนึ่งปล่อย Pheromone ออกมานอกร่างกายแล้ว สัตว์ตัวอื่นจะได้รับ Pheromone 3 ทาง ได้แก่ 1. ทางกลิ่น (Olfaction ) พบในแมลงหลายชนิด ซึ่งส่วนมากก็เพื่อประโยชน์ ในการดึงดูดเพศตรงข้าม หรือไม่ก็เป็นการบอกให้รู้ว่าอยู่ที่ไหน หรือเป็นสัญญาณอันตราย เตือนภัยให้รู้ Pheromone ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ได้แก่ กลิ่นตัวแรงของชะมด ซึ่งสร้าง Pheromone มาจากต่อมใกล้ๆอวัยวะสืบพันธุ์ แล้วปล่อยออกมานอกร่างกายทั้งในตัวผู้ และตัวเมีย Pheromone ของชะมดนี้เองที่คนเราไปสกัด Pheromone แบบนี้มาจาก ธรรมชาติหลายชนิดแล้ว อีกทั้งยังสามารถสังเคราะห์ขึ้นเองเช่นกัน 2. การกิน ( Ingestion ) เช่น ผึ้ง เป็นแมลงที่อยู่กันเป็นสังคม แบ่งเป็น 3 วรรณะ คือนางพญา ( Queen ) ตัวผู้ drone และผึ้งงาน worker นางพญาจะสร้างสารจากต่อม บริเวณระยางค์ของปากส่วน mandible เรียกสารนั้นว่า Queen substance เอาไว้ล่อ ผึ้งงาน โดยไปยับยั้งรังไข่ของผึ้งงาน ( ผึ้งงานมีเฉพาะตัวเมีย ) ไม่ให้มีการเจริญเติบโตและ สร้างรังไข่ จึงไม่มีโอกาสสืบพันธุ์ 3. การดูดซึม ( absorption ) พบเฉพาะในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเท่านั้น เช่นแมงมุมบางชนิด และแมลงสาบ ตัวเมียจะปล่อย Pheromone ทิ้งเอาไว้จนกระทั่ง ตัวผู้มาสัมผัส ก็จะซึมเข้าไปกระตุ้นให้เกิดความต้องการทางเพศ ติดตามหาตัวเมียจนพบ และผสมพันธุ์ แต่ในตั๊กแตนตัวผู้จะปล่อยฟีโรโมนทิ้งเอาไว้หลังผสมพันธุ์ เมื่อตัวอ่อน มาสัมผัสฟีโรโมนนั้นก็จะดูดซึมเข้าไปกระตุ้นให้เติบโตเป็นตัวเต็มวัยและสืบพันธุ์ได้ ภาพแสดงผึ้งราชินีปล่อยฟีโรโมนให้ผึ้งงานกิน ที่มา : http://www. verginina.com 667 × 500 (18 เมษายน 2554)
  • 18. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 19 บัตรคาถามที่ 8.2 ฟีโรโมนคืออะไร คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ฟีโรโมน หมายถึงข้อใด ก. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุก ๆตัวที่อยู่ข้างเคียง ข. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นที่อยู่ข้างเคียง ค. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นชนิดเดียวกัน ง. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุกตัวรวมทั้งสัตว์ที่ปล่อยสารด้วย 2. ความแตกต่างระหว่างฟีโรโมนกับฮอร์โมน คือ ก. ฮอร์โมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น ข. ฟีโรโมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น ค. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเองและตัวอื่น ง. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเอง แต่มีผลกับตัวอื่น 3. ข้อใดต่อไปนี้รับฟีโรโมนทางกลิ่น ก. ผึ้งงาน ชะมด ปลวก ข. ชะมด ผีเสื้อไหม ปลวก ค. ชะมด ผึ้งงาน ผีเสื้อไหม ง. ชะมด ผีเสื้อไหม แมงมุม 4. ส่วนมากแล้วฟีโรโมนมีผลกับสัตว์ตัวอื่นในเรื่องใด ก. ไล่ศัตรู ข. การสืบพันธุ์ ค. การหาทิศทาง ง. การหาอาหาร 5. ผีเสื้อราตรีตัวผู้สามารถเข้าผสมพันธุ์กับตัวเมียได้โดยอาศัยสิ่งใด ก. ฟีโรโมน ข. ไทรอกซิน ค. เอคไดโซน ง. ฮอร์โมนจากสมอง
  • 19. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 20 บัตรเฉลยคาถามที่ 8.2 ฟีโรโมนคืออะไร 9vตอ 1. ค 2. ง 3. ข 4. ข 5. ก ปรบมือให้คนเก่งกันหน่อยครับ
  • 20. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 21 บัตรคาสั่งที่ 8.3 ชนิดของฟีโรโมน โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 8.3 ใช้เวลา 10 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 8.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 8.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 21. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 22 บัตรเนื้อหาที่ 8.3 ชนิดของฟีโรโมน ชนิดของฟีโรโมน ฟีโรโมน (Pheromone) จาแนกตามปฏิกิริยาหรืออิทธิพลของฟีโรโมน จาแนกได้ 3 ชนิด ดังนี้ 1. Releaser pheromone เป็น Pheromone ที่มีผลโดยตรงต่อระบบ ประสาทกลางของสัตว์ที่ได้รับ ทาให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองขึ้นในทันทีทันใด Releaser pheromone บางชนิดทาหน้าที่ดึงดูดเพศตรงข้ามให้มีการผสมพันธุ์ ชนิดนี้มีพบในสัตว์ทั่วไป ซึ่งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตัวผู้จะไปทาหน้าที่กระตุ้นให้ตัวเมียมีความต้องการทางเพศมากขึ้น ส่วนฟีโรโมนของตัวเมียทาหน้าที่บอกให้ตัวผู้ทราบถึงระยะเวลาที่จะผสมพันธุ์ Releaser pheromone บางชนิดทาหน้าที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการต่อสู้ เช่น หนูตัวผู้ 2 ตัวที่เคยอยู่ร่วมกันจะกัดกัน หากได้กลิ่น Pheromone ชนิดหนึ่งของหนูตัวผู้ จากที่อื่น นอกจากนั้น Releaser pheromone ใช้บอกความเป็นพวกเดียวกันในกลุ่มเดียวกัน บางชนิดก็บอกตาแหน่งที่อยู่อาศัย ดังเช่น Releaser pheromone ของมด ที่ใช้บอกทางเดิน นอกจากจะเป็นทางพาไปสู่แหล่งอาหาร และที่สร้างรังใหม่ ยังทาหน้าที่ช่วยกระตุ้นให้เกิด ความว่องไวด้วย Pheromone จะขับสารออกมาจากต่อมบริเวณอวัยวะที่มดใช้ต่อย โดยใช้อวัยวะดังกล่าวแตะกับพื้นเป็นระยะๆเมื่อมดงานมาพบทางนี้เข้ามันก็จะเดินตามทาง โดยอัตโนมัติ และมันจะเดินชิดกันด้วยเพื่อไม่ให้หลงทาง สารที่ใช้เป็นทางเดินนี้ระเหยได้ เมื่อระเหยไปจนต่ากว่า ฟีโรโมนมีกี่ชนิด และแต่ละชนิดมีผล ต่อการดารงชีวิตอย่างไรบ้าง อยากรู้เชิญทางนี้นะครับ
  • 22. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 23 ระดับ ความต้องการของมดแล้วก็ไม่สามารถที่จะกระตุ้นมดได้อีก ใช้เวลาทั้งสิ้น 2 นาทีและมดจะเดินทางได้ 40 เซนติเมตร การระเหยไปเช่นนี้ กลับมีประโยชน์เพราะมดจะเดินไม่หลงทางเดิมที่เลิกใช้ไปแล้ว ความเข้มข้น Pheromone ยังเป็นเครื่องบอกปริมาณอาหารด้วย 2. Primer pheromone เป็น Pheromone ที่ไปมีผลต่อต่อมใต้สมอง ส่วนหน้าทาให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองที่ช้ามาก ต้องกระตุ้นเป็นเวลานานจึงจะ เกิดปฏิกิริยาทางสรีรวิทยาต่อเนื่องกันเป็นทอดๆ เช่น ปลวกซึ่งอยู่กันเป็นสังคม แบบเดียวกับผึ้งแต่มีเพิ่มอีก 2 วรรณะคือ submentary reproductive from และปลวกทหาร soldier พวกปลวกทหารและพวกที่สืบพันธุ์ได้จะขับสารออกมา และเมื่อตัวอ่อนกินเข้าไปสารนั้นจะไปบังคับ corpusallatum ไม่ให้ทางานตามปกติ ปลวกตัวอ่อนนี้จึงไม่เจริญเติบโตเป็นปลวกทหารและปลวกสืบพันธุ์ แต่จะเจริญไปเป็น ปลวกงาน ในตั๊กแตนบางชนิดตัวผู้จะขับสารระเหยออกมาจากผิว แล้วมีส่วนไปเร่ง การเติบโตของตัวอ่อน ทาให้ตั๊กแตนเพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว สาหรับ primer pheromone ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมส่วนมาก สร้างมาจากตัวผู้ ทาหน้าที่เกี่ยวกับเพศ คือ กระตุ้นหรือเร่งการเกิด estrus (เป็นช่วงเวลาหนึ่งที่ร่างกายสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตัวเมีย ยกเว้นคนอยู่ในสภาพ ที่พร้อมจะผสมพันธุ์ ) เช่น ในแพะแกะซึ่งมีการผสมพันธุ์เป็นฤดู ถ้านาตัวผู้มาอยู่กับ ตัวเมียก่อนฤดูผสมพันธุ์เล็กน้อย ตัวผู้จะสร้าง Pheromone มาเร่งการเกิด estrus ของตัวเมียเร่งการตกไข่เร็วกว่ากาหนด แต่ถ้าอยู่ด้วยกันมาตลอด จะไม่มีการเร่ง การตกไข่ให้เร็วขึ้น นอกจากนั้นแล้ว primer pheromone ยังทาหน้าที่ห้าม การตั้งท้องของหนูด้วย ขณะที่หนูตัวเมียตั้งเริ่มตั้งท้อง (ระยะก่อนที่ตัวอ่อนจะฝังตัว กับผนังมดลูก ) แล้วมีหนูตัวผู้จากที่อื่นไปยู่ด้วย กลิ่นของ Pheromone จากตัวผู้ ตัวอื่นจะไปมีผลยับยั้งการฝังตัว ของตัวอ่อนแต่กลับไปกระตุ้นให้มีการตกไข่ตามปกติ เพราะ Pheromone ของหนูตัวผู้นั้นไปสร้างสารกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้ หลั่งฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการตกไข่และการเกิด estrus ขณะเดียวกันก็ไปยับยั้ง ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ไม่ให้หลั่งฮอร์โมนที่กระตุ้นรังไข่ไม่ให้สร้าง progesterone ที่จาเป็นต่อการฝังตัวของตัวอ่อน 3. Imprinting pheromone การมีหรือไม่มี Pheromone บางอย่างในช่วงวิกฤติของการเจริญเติบโต จะไปทาให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองขึ้น ในตอนที่โตเต็มวัยขณะที่เป็นตัวอ่อนจะไม่แสดงอาการเรียก Pheromone ที่เกี่ยวกับปฏิกิริยาดังกล่าวว่า Imprinting pheromone พฤติกรรมของสัตว์โตเต็มวัย ที่ขาดหายไปก็เพราะเกี่ยวกับ Imprinting pheromone ในขณะที่กาลังเจริญเติบโต
  • 23. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 24 ฟีโรโมน จาแนกตามพฤติกรรม จาแนกได้ดังนี้ 1. สารดึงดูดเพศตรงข้าม (Sex pheromone) พบในผีเสื้อไหมตัวเมีย ปล่อยสารออกมาดึงดูดผีเสื้อไหมตัวผู้ ภาพแสดงผีเสื้อไหมปล่อยฟีโรโมนดึงดูดเพศตรงข้าม ที่มา : http://www. charkarn.com 570 × 197 (18 เมษายน 2554) 2. สารเตือนภัย (Alarm pheromone) เช่น มดตายจะมีฟีโรโมน ออกมา จากซากมดตัวนั้น ทาให้มีการขนซากมดไปทิ้งนอกรัง หรือเมื่อมีอันตรายจาก ธรรมชาติ เช่น น้าท่วม มดจะปล่อยฟีโรโมนออกมาทาให้มดขนไข่หนีออกจากรัง ภาพแสดงมดขนไข่ออกจากรังเมื่อมีภัย ที่มา : http://www. phitsanulokhotnews.com 1380 × 1005 (18 เมษายน 2554)
  • 24. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 25 3. สารนาทาง (Trial pheromone) ได้แก่ กรดบางชนิดที่มดงาน ปล่อยออกมาตามทางเดิน ทาให้มดตัวอื่นสามารถเดินไปยังอาหารได้ถูกต้อง ภาพแสดงมดเดินตามกันไปยังแหล่งอาหาร ที่มา : http://www. tobtan.com 255 × 177 (18 เมษายน 2554) 4. สารจากนางพญา (Queen substance) เช่น สารที่นางพญา ให้ผึ้งงานกิน ทาให้ผึ้งงาน เป็นหมัน ภาพแสดงผึ้งราชินีปล่อยฟีโรโมนให้ผึ้งงานกินทาให้ผึ้งงานเป็นหมัน ที่มา : http://www. writer.dek-d.com 499 × 442 (18 เมษายน 2554)
  • 25. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 26 5. สารทาให้รวมกลุ่ม (Aggregation pheromone) เช่น นางพญาปลวกปล่อยสารออกมา ทาให้ปลวกงานมารวมกลุ่มกัน ภาพแสดงนางพญาปลวกปล่อยฟีโรโมนทาให้ปลวกงานรวมกลุ่มกัน ที่มา : http:// www.bloggang.com 324 × 250 (18 เมษายน 2554) 6. สารแสดงอาณาเขต (Territory pheromone) เช่น สุนัขปัสสาวะ รดสิ่งต่างๆที่มันเดินผ่าน ภาพแสดงสุนัขปัสสาวะรดต้นไม้แสดงอาณาเขต ที่มา : http://www. dokterseo.com 400 × 300 (18 เมษายน 2554)
  • 26. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 27 ฟีโรโมนของมด มดเป็นแมลงที่พบในประเทศเขตร้อนต่างๆ เป็นสัตว์ในระบบนิเวศบก ที่มีการคาดคะเนว่าในโลกนี้มีมดอยู่ประมาณ 10,000 ชนิด แต่ที่พบมีประมาณ 8,800 ชนิด สาหรับในประเทศไทยคาดว่ามีมดประมาณ 800 – 1,000 ชนิด ซึ่งรู้จักกันมีไม่กี่ชนิด เช่น มดคันไฟ มดแดง มดดา มดตะนอย ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมดที่พบในบ้าน ที่เหลือเป็นมด อยู่ในป่าต่างๆ มดเป็นสัตว์สังคมที่อยู่ร่วมกันโดยแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบอย่างเป็นระบบ บางชนิดมีรังที่ใหญ่มาก ซึ่งมีมดอยู่ร่วมกันถึง 22 ล้านตัว อยู่กันอย่างเป็นระเบียบ ไม่มีการทะเลาะเบาะแว้ง หรือ เกี่ยงงานกัน จึงเป็นสิ่งมหัศจรรย์อย่างมากว่ามดจัดระบบ ประชากรให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติได้อย่างไร ซึ่งจากการศึกษาพบว่ามดสื่อสารกันโดยใช้ อวัยวะที่เรียกว่า หนวด สัมผัสกันและใช้สารเคมีที่ปล่อยออกมา มดบางชนิดเมื่อไปพบ แหล่งอาหารก็จะปล่อยสารเคมีชนิดหนึ่งออกมาจากต่อมภายนอก (Exocrine gland) ที่เรียกว่า ต่อมดูเฟอร์ (Dufoue’s gland) โดยสารเคมีชนิดนี้เรียกว่า ฟีโรโมน ซึ่งมดจะปล่อย ฟีโรโมน ขณะเดินไปพบอาหาร ฟีโรโมนนี้ จะระเหยได้ทาให้ปริมาณของ ฟีโรโมนจะจางลงไปเรื่อยๆ ในเวลาไม่เกิน 100 วินาที ซึ่งการระเหยของสารเคมีนี้มี ประโยชน์ต่อการสื่อสารของมด กล่าวคือถ้าแหล่งอาหารเก่าหมดเจอแหล่งอาหารใหม่ มดจะสามารถติดตามกลิ่นใหม่ไปยังแหล่งอาหารได้ถูกต้อง ไม่สับสนกับกลิ่นเดิม ฟีโรโมนที่มดปล่อยออกมาเรียกว่า กรดฟอร์มิก ภาพแสดงการสื่อสารของมด ที่มา : http://www. bknowledge.org 283 × 222 (25 เมษายน 2554)
  • 27. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 28 บัตรคาถามที่ 8.3 ชนิดของฟีโรโมน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกอักษร ด้านล่างใส่ลงในช่อง ที่มีข้อความสัมพันธ์ กับข้อความทางด้านบน เพียงคาตอบเดียว (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. มด 2. ทาให้ผึ้งงาน เป็นหมัน 3. ห้ามการตั้งท้องของหนู 4. ใช้บอกเส้นทางเดินของมด 5. สุนัขปัสสาวะรดสิ่งต่าง ๆ ที่เดินผ่าน ก. กรดฟอร์มิก ข. แสดงอาณาเขต ค. สารจากนางพญา ง. primer pheromone จ. Releaser pheromone
  • 28. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 29 บัตรเฉลยคาถามที่ 8.3 ชนิดของฟีโรโมน 1. ก 2. ค 3. ง 4. จ 5. ข ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
  • 29. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 30 บัตรคาสั่งที่ 8.4 ประโยชน์ของฟีโรโมน โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 8.3 ใช้เวลา 10 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 8.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 8.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 30. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 31 บัตรเนื้อหาที่ 8.4 ประโยชน์ของฟีโรโมน ประโยชน์ของฟีโรโมน ปัจจุบันมนุษย์ได้พยายามค้นคว้าหาวิธีการต่าง ๆ มาใช้ในการลดยาฆ่าแมลง เพราะยาฆ่าแมลงมีพิษตกค้างระยะยาวในพืชและสิ่งแวดล้อม เช่น ดีดีที และออร์แกโนฟอสเฟต ที่เป็นอันตรายต่อแมลงที่มีประโยชน์อย่างแมลงตัวห้า แมลงตัวเบียน และแมลงที่ช่วยในการผสมเกสรดอกไม้ต่าง ๆ จึงมีนักวิทยาศาสตร์ได้เริ่ม นาเอาฟีโรโมนมาใช้ในการป้องกันและกาจัดแมลงซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1. การใช้ฟีโรโมนในการดักจับแมลง วิธีการนี้จะทาให้ปราศจากสารตกค้าง ที่เป็นอันตรายต่อพืชและสัตว์ชนิดอื่น รวมทั้งคนบริโภค เพราะจะใช้สารดึงดูดทางธรรมชาติ หรือฟีโรโมน ในการล่อให้แมลงชนิดนั้นๆ มาผสมพันธุ์ ฟีโรโมนได้จากการสังเคราะห์ จากห้องปฏิบัติการแล้วทาการสกัดให้เหมาะสมกับการใช้งานกับแมลงประเภทต่างๆ เช่น แบบน้า หรือแบบเม็ด วิธีการใช้งานแค่นาไปวางไว้ตามจุดต่างๆ ที่ต้องการ ดักจับแมลง ชนิดนั้นๆ แล้วจึงนาไปกาจัดในภายหลัง ดังนั้นจึงไม่ส่งผลกระทบต่อผลิตผลทางการเกษตร ของเกษตรกร นับเป็นวิธีการคุมกาเนิดกึ่งธรรมชาติที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม เพราะฟีโรโมน สังเคราะห์นั้นมีคุณสมบัติคล้ายๆ กับน้ามันมะกอกจึงไม่มีพิษต่อสิ่งแวดล้อมและผู้คน วิธีการนี้ แพร่หลายในหมู่เกษตรกรในอเมริกา โดยทาให้การใช้สารเคมีลดลงถึงปีละ 50 ตัน ฟีโรโมน มีประโยชน์อย่างไรบ้าง มนุษย์ สามารถนาฟีโรโมนมาใช้ประโยชน์ได้อย่างไร อยากรู้เชิญทางนี้ครับ
  • 31. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 32 2. การใช้ฟีโรโมนเป็นเหยื่อล่อในกับดัก แต่วิธีนี้ไม่สามารถควบคุมปริมาณ ประชากรศัตรูพืชได้ เนื่องจากแมลงที่เข้ามาติดกับมีเพียงแมลงตัวผู้เท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม กับดักฟีโรโมนก็ยังมีประโยชน์ ในการใช้ตรวจสอบประชากรศัตรูพืช ถ้าจับแมลงตัวผู้ได้มาก แสดงว่า ประชากรศัตรูพืชในแปลงกาลังเพิ่มปริมาณมากขึ้นและ แสดงว่า ผีเสื้อกลางคืน เพศเมียพร้อมจะวางไข่แล้ว 3. ใช้ฟีโรโมน เพื่อขัดขวางการจับคู่ของแมลงคือ การปล่อยฟีโรโมน จานวนมากในฟาร์มจะทาให้อากาศในฟาร์มเต็มไปด้วยกลิ่นฟีโรโมน แมลงตัวผู้จะไม่สามารถ หาที่อยู่ของแมลงตัวเมียได้ และการจับคู่ก็จะถูกขัดขวาง อย่างไรก็ตาม เทคนิคนี้ยังคงมีการ พัฒนาต่อไป และในขณะนี้วิธีการนี้ก็มีราคาที่แพงมาก ประโยชน์ในการสื่อสารของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง การสื่อสารฟีโรโมนในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น 1. แมลงสาบ และแมงมุมบางชนิด ตัวเมียของสัตว์ทั้งสองชนิด จะปล่อย ฟีโรโมน ทิ้งไว้จนตัวผู้ไปสัมผัส ทาให้ฟีโรโมนซึมผ่านผิวเข้าไปกระตุ้นตัวผู้ ทาให้ตามตัวเมีย จนพบ และทาการผสมพันธุ์ ภาพแสดงแมงมุมตัวผู้เดินตามหาแมงมุมตัวเมียเพื่อทาการผสมพันธุ์ ที่มา : http://www. variety.thaiza.com 500 × 333 (18 เมษายน 2554)
  • 32. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 33 2. ตั๊กแตน ตัวผู้จะปล่อยฟีโรโมนทิ้งไว้ หลังจากผสมพันธุ์แล้ว เมื่อตัวอ่อน ฟักออกมาจากไข่ และเติบโตออกมาสัมผัสกับสาร ทาให้ซึมผ่านเข้าร่างกายตัวอ่อน กระตุ้นตัวอ่อนให้เติบโตเป็นตัวเต็มวัย และสามารถสืบพันธุ์ได้ ภาพแสดงตั๊กแตนตัวเต็มวัยที่สามารถสืบพันธุ์ได้ ที่มา : http://www. webboard.edtguide.com 700 × 467 (18 เมษายน 2554) 3. ปลวก นางพญาจะปล่อยฟีโรโมนดึงดูดให้ปลวกงานมาล้อมรอบ ภาพแสดงปลวกล้อมรอบนางพญาปลวก ที่มา : http://www. biogang.net 800 × 600 (18 เมษายน 2554)
  • 33. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 34 4. มด จะเดินตามกันเป็นทาง โดยปล่อยฟีโรโมน ที่เรียกว่า กรดฟอร์มิก ไว้ตามทางที่เดินผ่านไป ทาให้มดสามารถเดินกลับรังได้ ลักษณะการเดินของมด ที่มา : http://www. tobtan.com 255 × 177 (18 เมษายน 2554) 5. ผึ้ง ปล่อยฟีโรโมนและจะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ไกล หรือบินเป็นวงกลมเพื่อบอกให้รู้ว่ามีแหล่งอาหารอยู่ใกล้ ภาพแสดงการบินของผึ้ง ที่มา : http://www. myfirstbrain.com 500 × 292 (18 เมษายน 2554)
  • 34. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 35 บัตรคาถามที่ 8.4 ประโยชน์ของฟีโรโมน คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย ใน หน้าข้อความที่ถูกต้อง และทาเครื่องหมาย  ใน หน้าข้อความที่ผิด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ผึ้ง จะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ไกล 2. กรดฟอร์มิก คือ ฟีโรโมนที่ผึ้งนางพญาปล่อยให้ผึ้งงานกิน 3. ฟีโรโมนของตั้กแตนตัวผู้ทาให้ตัวอ่อนหยุดการเจริญเติบโต 4. การใช้ฟีโรโมนในการดักจับแมลง วิธีการนี้จะทาให้ปราศจากสารตกค้าง ที่เป็นอันตรายต่อพืชและสัตว์ 5. การปล่อยฟีโรโมนจานวนมากในฟาร์มเป็นการกาจัดศรัทตรู พืชที่ดีที่สุด
  • 35. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 36 บัตรเฉลยคาถามที่ 8.4 ประโยชน์ของฟีโรโมน ปรบมือให้คนเก่งหน่อยครับ 1.  2.  3.  4.  5. 
  • 36. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 37 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบ ก ข ค ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ฟีโรโมน หมายถึงข้อใด ก. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุก ๆตัวที่อยู่ข้างเคียง ข. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นที่อยู่ข้างเคียง ค. สารเคมีที่สัตว์ตัวหนึ่งปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ตัวอื่นชนิดเดียวกัน ง. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ทุกตัวรวมทั้งสัตว์ที่ปล่อยสารด้วย 2. ความแตกต่างระหว่างฟีโรโมนกับฮอร์โมน คือ ก. ฮอร์โมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น ข. ฟีโรโมนมีผลกับตัวเองและตัวอื่น ค. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเองและตัวอื่น ง. ฟีโรโมนไม่มีผลกับตัวเอง แต่มีผลกับตัวอื่น 3. ข้อใดต่อไปนี้รับฟีโรโมนทางกลิ่น ก. ผึ้งงาน ชะมด ปลวก ข. ชะมด ผีเสื้อไหม ปลวก ค. ชะมด ผึ้งงาน ผีเสื้อไหม ง. ชะมด ผีเสื้อไหม แมงมุม 4. ส่วนมากแล้วฟีโรโมนมีผลกับสัตว์ตัวอื่นในเรื่องใด ก. ไล่ศัตรู ข. การสืบพันธุ์ ค. การหาทิศทาง ง. การหาอาหาร 5. ผีเสื้อราตรีตัวผู้สามารถเข้าผสมพันธุ์กับตัวเมียได้โดยอาศัยสิ่งใด ก. ฟีโรโมน ข. ไทรอกซิน ค. เอคไดโซน ง. ฮอร์โมนจากสมอง
  • 37. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 38 6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ชนิดอื่น คือ ฟีโรโมน ข. สารเคมีที่สัตว์ปล่อยออกมา แล้วมีผลกับสัตว์ชนิดเดียวกัน คือ ฟีโรโมน ค. ฟีโรโมนสร้างมาจากต่อมมีท่อ ส่วนฮอร์โมนสร้างมาจากต่อมไร้ท่อ ง. ฮอร์โมนเมื่อสร้างขึ้นมาแล้วจะหมุนเวียนอยู่ภายในร่างกาย ส่วนฟีโรโมนปล่อยออกนอกร่างกาย 7. ฮอร์โมนที่ทาให้แมลงมีการลอกคราบ และ metamorphosis คือข้อใด ก. brain hormone ข. molting hormone ค. Juvenile hormone ง. Metamorphosis hormone 8. ข้อใดต่อไปนี้รับฟีโรโมนโดยการดูดซึม ก. แมงมุม ปลวก ข. ปลวก ผีเสื้อไหม ค. แมลงสาบ ผีเสื้อไหม ง. แมลงสาบ แมงมุม 9. ปัจจัยที่สาคัญส่วนหนึ่งของแมลงที่ทาให้สามารถรับฟีโรโมนได้คือข้อใด ก. ที่อยู่ ทิศทางลม ข. ที่อยู่ อวัยวะรับสัมผัส ค. อวัยวะรับสัมผัส ทิศทางลม ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เกิดจากการปล่อยฟีโรโมนของผึ้ง ก. จะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ใกล้ ข. บินเป็นวงกลมเพื่อบอกให้รู้ว่ามีแหล่งอาหารอยู่ไกล ค. จะบินเป็นเลขแปดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอาหารอยู่ไกล ง. บินเป็นวงกลมเพื่อบอกให้รู้ว่าไม่มีแหล่งอาหารอยู่
  • 38. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 39 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 9vตอ 1. ค 6. ก 2. ง 7. ข 3. ข 8. ง 4. ข 9. ค 5. ก 10. ค เก่งมากครับ ถูกหมดเลย ไปศึกษาชุดการสอนต่อไปได้เลย ครับ
  • 39. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 40 บรรณานุกรม เกษม ศรีพงษ์ และคณะ. ชีววิทยา. กรุงเทพฯ : ชมรมบัณฑิตแนะแนว, 2540. ____________. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4- ม.6). กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิตการพิมพ์, 2537. ธนะชัย ทองศรีนุช และคณะ. คู่มือชีววิทยา 6 ว 044. กรุงเทพ ฯ : ประสานมิตร, 2533. นันทิยา บุญเคลือบ และคณะ. พจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับภาพประกอบ. กรุงเทพ ฯ : โปรดัคทีฟ บุ๊ค , 2541. ประพันธ์ พนธารา. สรุปเข้มชีววิทยาพื้นฐานและเพิ่มเติมใหม่ . กรุงเทพ ฯ : ซีแอนด์เอ็นบุ๊ค. แม็ค, 2552. ปรีชา สุวรรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพฯ: เจริญดีการพิมพ์, 2536. สมาน แก้วไวยุทธ. คู่มือเตรียมสอบชีววิทยา ม.4 – 5 – 6 . กรุงเทพฯ : ไทเนรมิต อินเตอร์โปรเกรสซีฟ. 2537. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, โครงการ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 10. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531. สมใจ รักษาศรี. ชีววิทยา Essential Atlas of Biology. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2547. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . หนังสือเรียนชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548 ____________. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548. ____________. หนังสือเรียนวิชาชีววิทยา ว044 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 . กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2536. http://www. myfirstbrain.com 500 × 292 (18 เมษายน 2555) http://www. tobtan.com 255 × 177 (18 เมษายน 2555) http://www. biogang.net 800 × 600 (18 เมษายน 2555) http://www. webboard.edtguide.com 700 × 467 (18 เมษายน 2555) http://www. variety.thaiza.com 500 × 333 (18 เมษายน 2555) http://www. bknowledge.org 283 × 222 (25 เมษายน 2555)
  • 40. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ฟีโรโมนสาคัญอย่างไร 41 http://www. dokterseo.com 400 × 300 (18 เมษายน 2555) http:// www.bloggang.com 324 × 250 (18 เมษายน 2555) http://www. writer.dek-d.com 499 × 442 (18 เมษายน 2555) http://www. tobtan.com 255 × 177 (18 เมษายน 2555) http://www. phitsanulokhotnews.com 1380 × 1005 (18 เมษายน 2555) http://www. charkarn.com 570 × 197 (18 เมษายน 2555) http://www. verginina.com 667 × 500 (18 เมษายน 2555) http://www. st-biology.blogspot.com 351 × 300 (18 เมษายน 2555) http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2555) http:// www.coleop-terra.com 600 × 300 (18 เมษายน 2555)