SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
ระบบสารสนเทศ (Information system)
        ระบบสารสนเทศ (Information system) หมายถึง ระบบที่ประกอบดวยสวนตางๆ ไดแก ระบบ
คอมพิวเตอรทั้งฮารดแวร ซอฟทแวร ระบบเครือขาย ฐานขอมูล ผูพัฒนาระบบ ผูใชระบบ พนักงานที่
เกี่ยวของ และ ผูเชี่ยวชาญในสาขา ทุกองคประกอบนี้ทํางานรวมกันเพื่อกําหนด รวบรวม จัดเก็บ
ขอมูล ประมวลผลขอมูลเพื่อสรางสารสนเทศ และสงผลลัพธหรือสารสนเทศที่ไดใหผูใชเพื่อชวยสนับสนุน
การทํางาน การตัดสินใจ การวางแผน การบริหาร การควบคุม การวิเคราะหและติดตามผลการดําเนินงาน
ขององคกร


องคประกอบระบบสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอร
        ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ใชคอมพิวเตอร (Computer-based information systems CBIS) มี
องคประกอบที่สําคัญ 5 สวนคือ
        1. ฮารดแวร (Hardware) ไดแก อุปกรณที่ชวยในการปอนขอมูล ประมวลจัดเก็บ และผลิตเอาทพุท
ออกมาในระบบสารสนเทศ
        2. ซอฟตแวร (Software) ไดแก โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ชวยใหฮารดแวรทํางาน ฐานขอมูล
(Database) คือ การจัดระบบของแฟมขอมูล ซึ่งเก็บขอมูลที่เกี่ยวของกัน
        3. เครือขาย (Network) คือ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเขาดวยกันเพือชวยใหมีการใชทรัพยากร
                                                                        ่
รวมกัน และชวยการติดตอสื่อสาร
        4. กระบวนการ (Procedure) ไดแก นโยบาย กลยุทธ วิธีการ และกฎระเบียบตางๆ ในการใชระบบ
สารสนเทศ
        5. คน (People) เปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดในระบบสารสนเทศ ซึ่งไดแก บุคคลที่เกี่ยวของใน
ระบบสารสนเทศ เชน ผูออกแบบ ผูพัฒนาระบบ ผูดูแลระบบ และผูใชระบบ


ประเภทของระบบสารสนเทศ
        ระบบสารสนเทศแบงประเภทแตกตางกันออกไป ไดเปน 4 ประเภท ดังนี้
        1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เปนระบบที่ทําหนาที่ใน
การปฏิบัติงานประจํา ทําการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้นในแตละวัน โดยใชระบบ
คอมพิวเตอรทํางานแทนการทํางานดวยมือ ทั้งนี้เพื่อที่จะทําการสรุปขอมูลเพื่อสรางเปนสารสนเทศ ระบบ
ประมวลผลรายการนี้ สวนใหญจะเปนระบบที่เชื่อมโยงกิจการกับลูกคา ตัวอยาง เชน ระบบการจองบัตร
โดยสารเครื่องบิน ระบบการฝากถอนเงินอัตโนมัติ เปนตน ในระบบตองสรางฐานขอมูลที่จําเปน ระบบนี้
มักจัดทําเพื่อสนองความตองการของผูบริหารระดับตนเปนสวนใหญเพื่อใหสามารถปฏิบัติงานประจํา
ได ผลลัพธของระบบนี้ มักจะอยูในรูปของ รายงานที่มีรายละเอียด รายงานผลเบื้องตน
       2. ระบบสํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS) เปนระบบที่สนับสนุนงานใน
สํานักงาน หรืองานธุรการของหนวยงาน ระบบจะประสานการทํางานของบุคลากรรวมทั้งกับ
บุคคลภายนอก หรือหนวยงานอื่น ระบบนี้จะเกี่ยวของกับการจัดการเอกสาร โดยการใชซอฟทแวรดานการ
พิมพ การติดตอผานระบบไปรษณียอิเล็กทรอนิกส เปนตนผลลัพธของระบบนี้ มักอยูในรูปของ
เอกสาร กําหนดการ สิ่งพิมพ
       3. ระบบงานสรางความรู (Knowledge Work Systems - KWS) เปนระบบที่ชวยสนับสนุน
บุคลากรที่ทํางานดานการสรางความรูเพื่อพัฒนาการคิดคน สรางผลิตภัณฑใหมๆ บริการใหม ความรูใหม
เพื่อนําไปใชประโยชนในหนวยงาน หนวยงานตองนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาสนับสนุนใหการพัฒนา
เกิดขึ้นไดโดยสะดวก สามารถแขงขันไดทั้งในดานเวลา คุณภาพ และราคา ระบบตองอาศัยแบบจําลองที่
สรางขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดําเนินการ กอนที่จะนําเขามาดําเนินการจริงในธุรกิจ ผลลัพธ
ของระบบนี้ มักอยูในรูปของ สิ่งประดิษฐ ตัวแบบ รูปแบบ เปนตน
       4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เปนระบบ
สารสนเทศสําหรับผูปฏิบัติงานระดับกลาง ใชในการวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม ระบบจะ
เชื่อมโยงขอมูลที่มีอยูในระบบประมวลผลรายการเขาดวยกัน เพื่อประมวลและสรางสารสนเทศที่เหมาะสม
และจําเปนตอการบริหารงาน ตัวอยาง เชน ระบบบริหารงานบุคลากร ผลลัพธของระบบนี้ มักอยูในรูปของ
รายงานสรุป รายงานของสิ่งผิดปกติ
       5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems – DSS) เปนระบบที่ชวยผูบริหาร
ในการตัดสินใจสําหรับปญหา หรือที่มีโครงสรางหรือขั้นตอนในการหาคําตอบที่แนนอนเพียง
บางสวน ขอมูลที่ใชตองอาศัยทั้งขอมูลภายในกิจการและภายนอกกิจการประกอบกัน ระบบยังตองสามารถ
เสนอทางเลือกใหผูบริหารพิจารณา เพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดสําหรับสถานการณนั้น หลัก การ
ของระบบ สรางขึ้นจากแนวคิดของการใชคอมพิวเตอรชวยการตัดสินใจ โดยใหผูใชโตตอบโดยตรงกับ
ระบบ ทําใหสามารถวิเคราะห ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขและกระบวนการพิจารณาได โดยอาศัยประสบการณ และ
ความสามารถของผูบริหารเอง ผูบริหารอาจกําหนด เงื่อนไขและทําการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขตางๆ ไป
จนกระทั่งพบสถานการณที่เหมาะสมที่สุด แลวใชเปนสารสนเทศที่ชวยตัดสินใจ รูปแบบของผลลัพธ
อาจจะอยูในรูปของ รายงานเฉพาะกิจ รายงานการวิเคราะหเพื่อตัดสินใจ การทํานาย หรือ พยากรณ
เหตุการณ
         6. ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง (Executive Information System - EIS) เปนระบบ
ที่สรางสารสนเทศเชิงกลยุทธสําหรับผูบริหารระดับสูง ซึ่งทําหนาที่กําหนดแผนระยะยาวและเปาหมายของ
กิจการ สารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงนี้จําเปนตองอาศัยขอมูลภายนอกกิจกรรมเปนอยางมาก ยิ่งใน
ยุคปจจุบันที่เปนยุค Globalization ขอมูลระดับโลก แนวโนมระดับสากลเปนขอมูลที่จําเปนสําหรับการ
แขงขันของธุรกิจ ผลลัพธของระบบนี้ มักอยูในรูปของการพยากรณ/การคาดการณ


กระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศ
         1. การรวบรวมขอมูลหมายถึง วิธีการดําเนินการ เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลและบันทึกขอมูลใหอยูใน
รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อการประมวลผล เชน
บันทึกในแฟมเอกสาร บันทึกไวในคอมพิวเตอร จดบันทึกไวในสมุด เปนตน
         2. การตรวจสอบขอมูล หมายถึงขั้นตอนการตรวจสอบขอมูลในลักษณะตางๆ เชนการตรวจสอบ
พื่อหาขอผิดพลาด ความนาเชื่อถือ ความสมเหตุสมผล เพื่อใหมีความมั่นใจไดวาขอมูลที่ไดรับการรวบรวม
และบันทึกไวอยางถูก ตอง
         3. การประมวลผลขอมูล หมายถึง วิธีการดําเนินการกระทําขอมูลใหเปนสารสนเทศ
         4. การจัดเก็บขอมูล หมายถึง การเก็บรักษาขอมูลเพื่อการบริหาร โดยเก็บไวในรูปแบบตางๆ
         5. การวิเคราะหขอมูล หมายถึงขั้นตอนการดําเนินการเพื่อสรุปความสําคัญของขอมูล
สารสนเทศ ใหตรงสภาพที่เปนจริง ตรงตามวัตถุประสงค กอนที่จะนําขอมูลมาใช
         6. การนําขอมูลไปใช หมายถึง การนําขอมูลไปใชในลักษณะตางๆ


ลักษณะสารสนเทศที่ดี
         เนื้อหา (Content)
• ความสมบรูณครอบคลุม (completen ess)
• ความสัมพันธกับเรื่อง (relevance)
• ความถูกตอง (accuracy)
• ความเชื่อถือได (reliability)
• การตรวจสอบได (verifiability)
รูปแบบ (Format)
• ชัดเจน (clarity)
• ระดับรายละเอียด (level of detail)
• รูปแบบการนําเสนอ (presentation)
• สื่อการนําเสนอ (media)
• ความยืดหยุน (flexibility)
• ประหยัด (economy)


         เวลา (Time)
• ความรวดเร็วและทันใช (timely)
• การปรับปรุงใหทันสมัย (up-to-date)
• มีระยะเวลา (time period)


         กระบวนการ (Process)
• ความสามารถในการเขาถึง (accessibility)
• การมีสวนรวม (participation)
• การเชื่อมโยง (connectivity)


         ประโยชนของระบบสารสนเทศ
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
         1) ระบบสารสนเทศทําใหการปฏิบัติงานมีความรวดเร็วมากขึ้น โดยใชกระบวนการประมวลผล
ขอมูลซึ่งจะทําใหสามารถเก็บรวบรวม ประมวลผลและปรับปรุงอมูลใหทันสมัยไดอยางรวดเร็ว เชน
คอมพิวเตอรที่ใชประจําบานมีขีดความสามารถในการทํางานถึง 450 ลานคําตอนาที (million instructions
per second) (Haag et al.,2000:19)
         2) ระบบสารสนเทศชวยในการจัดเก็บขอมูลที่มีขนาดใหญ หรือมีปริมาณมากและชวยทําใหการ
เขาถึงขอมูล (access) เหลานั้นมีความรวดเร็วดวย
         3) ชวยทําใหการติดตอสื่อสารเปนไปอยางรวดเร็ว การใชเครือขายทางคอมพิวเตอรทําใหมีการ
ติดตอไดทั่วโลกภายในเวลาที่รวด เร็ว ไมวาจะเปนการติดตอระหวางเครื่องคอมพิวเตอรกับเครื่อง
คอมพิวเตอรดวย กัน (machine to machine) หรือคนกับคน (human to human) หรือคนกับเครื่อง
คอมพิวเตอร (human to machine) และการติดตอสื่อสารดังกลาวจะทําใหขอมูลที่เปนทั้งขอความ เสียง
ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวสามารถสงไดทันที
        4) ชวยลดตนทุน การที่ระบบสารสนเทศชวยทําใหการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับขอมูลซึ่งมี ปริมาณ
มากมีความสลับซับซอนใหดําเนินการไดโดยเร็ว หรือการชวยใหเกิดการติดตอสื่อสารไดอยางรวดเร็ว ทําให
เกิดการประหยัดตนทุนการดําเนินการอยางมาก
        5) ระบบสารสนเทศชวยทําใหการประสานงานระหวางฝายตางๆ เปนไปไดดวยดีโดยเฉพาะหา
ระบบสารสนเทศนั้นออกแบบเพื่อเอื้ออํานวยใหหนวย งานทั้งภายในและภายนอกที่อยูในระบบของซัพ
พลายทั้งหมด จะทําใหผูที่มีสวนเกี่ยวของทั้งหมดสามารถใชขอมูลรวมกันได และทําใหการประสานงาน
หรือการทําความเขาใจเปนไปไดดวยดียิ่งขึ้น (Turban et al.,2001)


ประสิทธิผล (Effectiveness)
        1) ระบบสารสนเทศชวยในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศที่ออกแบบสําหรับผูบริหาร เชน ระบบ
สารสนเทศที่ชวยในการสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision support systems) หรือระบบสารสนเทศสําหรับ
ผูบริหาร (Executive support systems) จะเอื้ออํานวยใหผูบริหารมีขอมูลในการประกอบการตัดสินใจไดดี
ขึ้น อันจะสงผลใหการดําเนินงานสามารถบรรลุวัตถุประสงคไวได
        2) ระบบสารสนเทศชวยในการเลือกผลิตสินคา/บริการที่เหมาะสมระบบสารสนเทศจะชวย ทําให
องคการทราบถึงขอมูลที่เกี่ยวของกับตนทุน ราคมในตลาดรูปแบบของสินคา/บริการที่มีอยู หรือชวยทําให
หนวยงานสามารถเลือกผลิตสินคา/บริการที่มีความเหมาะสมกับความ เชี่ยวชาญ หรือทรัพยากรที่มีอยู
        3) ระบบสารสนเทศชวยปรับปรุงคุณภาพของสินคา / บริการใหดีขึ้นระบบสารสนเทศทําใหการ
ติดตอระหวางหนวยงานและลูกคา สามารถทําไดโดยถูกตองและรวดเร็วขึ้น ดังนั้นจึงชวยใหหนวยงาน
สามารถปรับปรุงคุณภาพของสินคา/บริการใหตรงกับ ความตองการของลูกคาไดดีขึ้นและรวดเร็วขึ้นดวย
        4) ความไดเปรียบในการแขงขัน (Competitive Advantage)ปจจุบัน ระบบสารสนเทศไดมีการนํามา
ใหตลอดทั้งระบบซัพพลายเชน (Supply Chain) เพื่อสรางความไดเปรียบในการแขงขัน
        5 ) คุณภาพชีวิตการทํางาน (Quality of Working Life) ระบบสารสนเทศจะตองไดรับการออกแบบ
ออกมาเพื่อใหเกิดความสมดุลระหวางความ ตองการของมนุษยและประสิทธิภาพของเทคโนโลยีดวย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnprave
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศyanika12
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1paween
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศPatipan Infinity
 

Mais procurados (10)

ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 

Destaque

ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศ10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศteaw-sirinapa
 

Destaque (6)

ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
Adobe dreamweave1
Adobe dreamweave1Adobe dreamweave1
Adobe dreamweave1
 
10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศ10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศ
 

Semelhante a ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22

ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpchutikan
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศTay Chaloeykrai
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1sawitri555
 

Semelhante a ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 

ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22

  • 1. ระบบสารสนเทศ (Information system) ระบบสารสนเทศ (Information system) หมายถึง ระบบที่ประกอบดวยสวนตางๆ ไดแก ระบบ คอมพิวเตอรทั้งฮารดแวร ซอฟทแวร ระบบเครือขาย ฐานขอมูล ผูพัฒนาระบบ ผูใชระบบ พนักงานที่ เกี่ยวของ และ ผูเชี่ยวชาญในสาขา ทุกองคประกอบนี้ทํางานรวมกันเพื่อกําหนด รวบรวม จัดเก็บ ขอมูล ประมวลผลขอมูลเพื่อสรางสารสนเทศ และสงผลลัพธหรือสารสนเทศที่ไดใหผูใชเพื่อชวยสนับสนุน การทํางาน การตัดสินใจ การวางแผน การบริหาร การควบคุม การวิเคราะหและติดตามผลการดําเนินงาน ขององคกร องคประกอบระบบสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอร ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ใชคอมพิวเตอร (Computer-based information systems CBIS) มี องคประกอบที่สําคัญ 5 สวนคือ 1. ฮารดแวร (Hardware) ไดแก อุปกรณที่ชวยในการปอนขอมูล ประมวลจัดเก็บ และผลิตเอาทพุท ออกมาในระบบสารสนเทศ 2. ซอฟตแวร (Software) ไดแก โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ชวยใหฮารดแวรทํางาน ฐานขอมูล (Database) คือ การจัดระบบของแฟมขอมูล ซึ่งเก็บขอมูลที่เกี่ยวของกัน 3. เครือขาย (Network) คือ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเขาดวยกันเพือชวยใหมีการใชทรัพยากร ่ รวมกัน และชวยการติดตอสื่อสาร 4. กระบวนการ (Procedure) ไดแก นโยบาย กลยุทธ วิธีการ และกฎระเบียบตางๆ ในการใชระบบ สารสนเทศ 5. คน (People) เปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดในระบบสารสนเทศ ซึ่งไดแก บุคคลที่เกี่ยวของใน ระบบสารสนเทศ เชน ผูออกแบบ ผูพัฒนาระบบ ผูดูแลระบบ และผูใชระบบ ประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศแบงประเภทแตกตางกันออกไป ไดเปน 4 ประเภท ดังนี้ 1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เปนระบบที่ทําหนาที่ใน การปฏิบัติงานประจํา ทําการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้นในแตละวัน โดยใชระบบ คอมพิวเตอรทํางานแทนการทํางานดวยมือ ทั้งนี้เพื่อที่จะทําการสรุปขอมูลเพื่อสรางเปนสารสนเทศ ระบบ
  • 2. ประมวลผลรายการนี้ สวนใหญจะเปนระบบที่เชื่อมโยงกิจการกับลูกคา ตัวอยาง เชน ระบบการจองบัตร โดยสารเครื่องบิน ระบบการฝากถอนเงินอัตโนมัติ เปนตน ในระบบตองสรางฐานขอมูลที่จําเปน ระบบนี้ มักจัดทําเพื่อสนองความตองการของผูบริหารระดับตนเปนสวนใหญเพื่อใหสามารถปฏิบัติงานประจํา ได ผลลัพธของระบบนี้ มักจะอยูในรูปของ รายงานที่มีรายละเอียด รายงานผลเบื้องตน 2. ระบบสํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS) เปนระบบที่สนับสนุนงานใน สํานักงาน หรืองานธุรการของหนวยงาน ระบบจะประสานการทํางานของบุคลากรรวมทั้งกับ บุคคลภายนอก หรือหนวยงานอื่น ระบบนี้จะเกี่ยวของกับการจัดการเอกสาร โดยการใชซอฟทแวรดานการ พิมพ การติดตอผานระบบไปรษณียอิเล็กทรอนิกส เปนตนผลลัพธของระบบนี้ มักอยูในรูปของ เอกสาร กําหนดการ สิ่งพิมพ 3. ระบบงานสรางความรู (Knowledge Work Systems - KWS) เปนระบบที่ชวยสนับสนุน บุคลากรที่ทํางานดานการสรางความรูเพื่อพัฒนาการคิดคน สรางผลิตภัณฑใหมๆ บริการใหม ความรูใหม เพื่อนําไปใชประโยชนในหนวยงาน หนวยงานตองนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาสนับสนุนใหการพัฒนา เกิดขึ้นไดโดยสะดวก สามารถแขงขันไดทั้งในดานเวลา คุณภาพ และราคา ระบบตองอาศัยแบบจําลองที่ สรางขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดําเนินการ กอนที่จะนําเขามาดําเนินการจริงในธุรกิจ ผลลัพธ ของระบบนี้ มักอยูในรูปของ สิ่งประดิษฐ ตัวแบบ รูปแบบ เปนตน 4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เปนระบบ สารสนเทศสําหรับผูปฏิบัติงานระดับกลาง ใชในการวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม ระบบจะ เชื่อมโยงขอมูลที่มีอยูในระบบประมวลผลรายการเขาดวยกัน เพื่อประมวลและสรางสารสนเทศที่เหมาะสม และจําเปนตอการบริหารงาน ตัวอยาง เชน ระบบบริหารงานบุคลากร ผลลัพธของระบบนี้ มักอยูในรูปของ รายงานสรุป รายงานของสิ่งผิดปกติ 5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems – DSS) เปนระบบที่ชวยผูบริหาร ในการตัดสินใจสําหรับปญหา หรือที่มีโครงสรางหรือขั้นตอนในการหาคําตอบที่แนนอนเพียง บางสวน ขอมูลที่ใชตองอาศัยทั้งขอมูลภายในกิจการและภายนอกกิจการประกอบกัน ระบบยังตองสามารถ เสนอทางเลือกใหผูบริหารพิจารณา เพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดสําหรับสถานการณนั้น หลัก การ ของระบบ สรางขึ้นจากแนวคิดของการใชคอมพิวเตอรชวยการตัดสินใจ โดยใหผูใชโตตอบโดยตรงกับ ระบบ ทําใหสามารถวิเคราะห ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขและกระบวนการพิจารณาได โดยอาศัยประสบการณ และ ความสามารถของผูบริหารเอง ผูบริหารอาจกําหนด เงื่อนไขและทําการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขตางๆ ไป จนกระทั่งพบสถานการณที่เหมาะสมที่สุด แลวใชเปนสารสนเทศที่ชวยตัดสินใจ รูปแบบของผลลัพธ
  • 3. อาจจะอยูในรูปของ รายงานเฉพาะกิจ รายงานการวิเคราะหเพื่อตัดสินใจ การทํานาย หรือ พยากรณ เหตุการณ 6. ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง (Executive Information System - EIS) เปนระบบ ที่สรางสารสนเทศเชิงกลยุทธสําหรับผูบริหารระดับสูง ซึ่งทําหนาที่กําหนดแผนระยะยาวและเปาหมายของ กิจการ สารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงนี้จําเปนตองอาศัยขอมูลภายนอกกิจกรรมเปนอยางมาก ยิ่งใน ยุคปจจุบันที่เปนยุค Globalization ขอมูลระดับโลก แนวโนมระดับสากลเปนขอมูลที่จําเปนสําหรับการ แขงขันของธุรกิจ ผลลัพธของระบบนี้ มักอยูในรูปของการพยากรณ/การคาดการณ กระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศ 1. การรวบรวมขอมูลหมายถึง วิธีการดําเนินการ เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลและบันทึกขอมูลใหอยูใน รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อการประมวลผล เชน บันทึกในแฟมเอกสาร บันทึกไวในคอมพิวเตอร จดบันทึกไวในสมุด เปนตน 2. การตรวจสอบขอมูล หมายถึงขั้นตอนการตรวจสอบขอมูลในลักษณะตางๆ เชนการตรวจสอบ พื่อหาขอผิดพลาด ความนาเชื่อถือ ความสมเหตุสมผล เพื่อใหมีความมั่นใจไดวาขอมูลที่ไดรับการรวบรวม และบันทึกไวอยางถูก ตอง 3. การประมวลผลขอมูล หมายถึง วิธีการดําเนินการกระทําขอมูลใหเปนสารสนเทศ 4. การจัดเก็บขอมูล หมายถึง การเก็บรักษาขอมูลเพื่อการบริหาร โดยเก็บไวในรูปแบบตางๆ 5. การวิเคราะหขอมูล หมายถึงขั้นตอนการดําเนินการเพื่อสรุปความสําคัญของขอมูล สารสนเทศ ใหตรงสภาพที่เปนจริง ตรงตามวัตถุประสงค กอนที่จะนําขอมูลมาใช 6. การนําขอมูลไปใช หมายถึง การนําขอมูลไปใชในลักษณะตางๆ ลักษณะสารสนเทศที่ดี เนื้อหา (Content) • ความสมบรูณครอบคลุม (completen ess) • ความสัมพันธกับเรื่อง (relevance) • ความถูกตอง (accuracy) • ความเชื่อถือได (reliability) • การตรวจสอบได (verifiability)
  • 4. รูปแบบ (Format) • ชัดเจน (clarity) • ระดับรายละเอียด (level of detail) • รูปแบบการนําเสนอ (presentation) • สื่อการนําเสนอ (media) • ความยืดหยุน (flexibility) • ประหยัด (economy) เวลา (Time) • ความรวดเร็วและทันใช (timely) • การปรับปรุงใหทันสมัย (up-to-date) • มีระยะเวลา (time period) กระบวนการ (Process) • ความสามารถในการเขาถึง (accessibility) • การมีสวนรวม (participation) • การเชื่อมโยง (connectivity) ประโยชนของระบบสารสนเทศ ประสิทธิภาพ (Efficiency) 1) ระบบสารสนเทศทําใหการปฏิบัติงานมีความรวดเร็วมากขึ้น โดยใชกระบวนการประมวลผล ขอมูลซึ่งจะทําใหสามารถเก็บรวบรวม ประมวลผลและปรับปรุงอมูลใหทันสมัยไดอยางรวดเร็ว เชน คอมพิวเตอรที่ใชประจําบานมีขีดความสามารถในการทํางานถึง 450 ลานคําตอนาที (million instructions per second) (Haag et al.,2000:19) 2) ระบบสารสนเทศชวยในการจัดเก็บขอมูลที่มีขนาดใหญ หรือมีปริมาณมากและชวยทําใหการ เขาถึงขอมูล (access) เหลานั้นมีความรวดเร็วดวย 3) ชวยทําใหการติดตอสื่อสารเปนไปอยางรวดเร็ว การใชเครือขายทางคอมพิวเตอรทําใหมีการ
  • 5. ติดตอไดทั่วโลกภายในเวลาที่รวด เร็ว ไมวาจะเปนการติดตอระหวางเครื่องคอมพิวเตอรกับเครื่อง คอมพิวเตอรดวย กัน (machine to machine) หรือคนกับคน (human to human) หรือคนกับเครื่อง คอมพิวเตอร (human to machine) และการติดตอสื่อสารดังกลาวจะทําใหขอมูลที่เปนทั้งขอความ เสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวสามารถสงไดทันที 4) ชวยลดตนทุน การที่ระบบสารสนเทศชวยทําใหการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับขอมูลซึ่งมี ปริมาณ มากมีความสลับซับซอนใหดําเนินการไดโดยเร็ว หรือการชวยใหเกิดการติดตอสื่อสารไดอยางรวดเร็ว ทําให เกิดการประหยัดตนทุนการดําเนินการอยางมาก 5) ระบบสารสนเทศชวยทําใหการประสานงานระหวางฝายตางๆ เปนไปไดดวยดีโดยเฉพาะหา ระบบสารสนเทศนั้นออกแบบเพื่อเอื้ออํานวยใหหนวย งานทั้งภายในและภายนอกที่อยูในระบบของซัพ พลายทั้งหมด จะทําใหผูที่มีสวนเกี่ยวของทั้งหมดสามารถใชขอมูลรวมกันได และทําใหการประสานงาน หรือการทําความเขาใจเปนไปไดดวยดียิ่งขึ้น (Turban et al.,2001) ประสิทธิผล (Effectiveness) 1) ระบบสารสนเทศชวยในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศที่ออกแบบสําหรับผูบริหาร เชน ระบบ สารสนเทศที่ชวยในการสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision support systems) หรือระบบสารสนเทศสําหรับ ผูบริหาร (Executive support systems) จะเอื้ออํานวยใหผูบริหารมีขอมูลในการประกอบการตัดสินใจไดดี ขึ้น อันจะสงผลใหการดําเนินงานสามารถบรรลุวัตถุประสงคไวได 2) ระบบสารสนเทศชวยในการเลือกผลิตสินคา/บริการที่เหมาะสมระบบสารสนเทศจะชวย ทําให องคการทราบถึงขอมูลที่เกี่ยวของกับตนทุน ราคมในตลาดรูปแบบของสินคา/บริการที่มีอยู หรือชวยทําให หนวยงานสามารถเลือกผลิตสินคา/บริการที่มีความเหมาะสมกับความ เชี่ยวชาญ หรือทรัพยากรที่มีอยู 3) ระบบสารสนเทศชวยปรับปรุงคุณภาพของสินคา / บริการใหดีขึ้นระบบสารสนเทศทําใหการ ติดตอระหวางหนวยงานและลูกคา สามารถทําไดโดยถูกตองและรวดเร็วขึ้น ดังนั้นจึงชวยใหหนวยงาน สามารถปรับปรุงคุณภาพของสินคา/บริการใหตรงกับ ความตองการของลูกคาไดดีขึ้นและรวดเร็วขึ้นดวย 4) ความไดเปรียบในการแขงขัน (Competitive Advantage)ปจจุบัน ระบบสารสนเทศไดมีการนํามา ใหตลอดทั้งระบบซัพพลายเชน (Supply Chain) เพื่อสรางความไดเปรียบในการแขงขัน 5 ) คุณภาพชีวิตการทํางาน (Quality of Working Life) ระบบสารสนเทศจะตองไดรับการออกแบบ ออกมาเพื่อใหเกิดความสมดุลระหวางความ ตองการของมนุษยและประสิทธิภาพของเทคโนโลยีดวย