SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ชิ้นงานที่ 21 เรื่องหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
องค์ประกอบสนับสนุนการสร้างสันติสุข
องค์ประกอบสนับสนุนการสร้างสันติสุข และสันติสุขในสังคมที่สาคัญมีอยู่ 5 ประการคือ การศึกษา ศาสนา การเมือง กระบวนการยุติธรรม และเรื่องของสื่อทางสังคม ทั้งหมด
ถือว่าเป็นองค์ประกอบสนับสนุนที่รัฐจะต้องเข้าไปควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อให้สามารถดาเนินงานไปสู่เป้าหมายในเรื่องเดียวกัน คือสร้างสันติสุข และสันติภาพในสังคมได้
อย่างแท้จริง สามารถสรุปรายละเอียดความสาคัญแต่ละเรื่องได้ดังนี้
1. การศึกษา
การศึกษาที่แท้จริงมีจุดเริ่มต้นที่ครอบครัว เมื่อครอบครัวมีความอบอุ่นจะสร้างฐานการเรียนรู้ที่ถูกต้องให้กับเยาวชน คือมีความรู้ มีความคิด และมีความรัก ส่วนการศึกษาในระบบ
ของรัฐจะต้องกาหนดเป้าหมายเพื่อสร้างสันติสุข และสันติภาพอย่างชัดเจน โดยที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้สิ่งแวดล้อมของตน มีความรักต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม มีจิตใจกว้างและเต็ม
ไปด้วยความเมตตา มีจิตใจที่เป็นอิสระจากอานาจของวัตถุ จากอานาจของกิเลสและทิฏฐิ และมีความสามารถทางด้านการใช้ความคิด หรือใช้ปัญญาได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้ง
รวมทั้งมีศักยภาพในการพัฒนายกระดับปัญญาของตนให้สูงขึ้นได้เรื่อย ๆ ดังนั้นโรงเรียนหรือระบบการศึกษาควรจะสอนกระบวนการคิดต่อไปนี้ให้กับผู้เรียน (สานัก
นายกรัฐมนตรี 2540:55-59) คิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดละเอียด คิดชัดเจน คิดอย่างมีเหตุผล คิดถูกทาง คิดกว้าง คิดลึกซึ้ง คิดไกล กระบวนการคิดต่าง ๆ เหล่านี้ จะช่วยเสริมสร้าง
ปัญญาให้กับมนุษย์และเป็นพื้นฐานสาคัญ สาหรับการสร้างสันติสุขและสันติภาพในสังคม
2. ศาสนา
ศาสนาเป็นสถาบันหลักทางสังคมมาตั้งแต่อดีต ในสภาวะสังคมปัจจุบัน ซึ่งสังคมไทยกาลังเผชิญปัญหาที่สาคัญอยู่หลายเรื่อง จาเป็นต้องพัฒนาคนให้มีปัญญาหลาย ๆ
ด้าน เพื่อช่วยกันแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมในทางสร้างสรรค์ และเพื่อมุ่งหวังให้สันติสุขอย่างแท้จริงเกิดขึ้นในสังคม บทบาทที่สาคัญขอศาสนาในส่วนนี้จึงควรเป็นการ
เสริมสร้างปัญญาให้กับประชาชน เป็นการช่วยเสริมบทบาทหน้าที่ของระบบการศึกษาให้มีความสมบูรณยิ่งขึ้น
หลักพุทธธรรมที่สามารถนามาเสริมระบบการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนสติปัญญาหลักใหญ่ ๆ ก็คือ หลักไตรสิกขา หรือศีล สมาธิ ปัญญา ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา
ที่มีความสาคัญมากและหลักการคิดแบบโยนิโสมนสิการ ซึ่งจะช่วยเสริมและพัฒนาปัญญาของมนุษย์ให้กว้างขวางและถูกต้องยิ่งขึ้น
3. การเมือง
ระบบการเมืองจะช่วยสร้างสันติสุขให้กับสังคมอีกทางหนึ่ง การเมืองจะต้องสร้างระบบการปกครองบ้านเมือง ระบบการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ส่วนรวม
ทีเรียกว่าธรรมาภิบาล หรือธรรมรัฐ (Good Governance) ขึ้นมาให้ได้
ธรรมรัฐ หมายถึงผลลัพธ์ของการจัดกิจกรรม ซึ่งบุคคลและสถาบันทั่วไป ภาครัฐ และเอกชนมีผลประโยชน์ร่วมกัน ได้กระทาลงไปในหลายทาง มีลักษณะเป็น
กระบวนการที่เกิดขึ้นต่อเนื่อง ซึ่งอาจนาไปสู่การผสมผสานประโยชน์ที่หลากหลายและขัดแย้งกันได้(อานันท์ปัญญารชุน 2541:26)
องค์ประกอบของธรรมรัฐมีดังนี้คือ
1) มีความรับผิดชอบและมีเหตุผลที่อธิบายได้รวมทั้งสมารถตรวจสอบได้
2) ประชาชนมีส่วนร่วม
3) ต้องมีการคาดการณ์ได้
4) จะต้องมีความโปร่งใส
5) จะต้องมีความเชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบทั้ง 4 องค์ประกอบนี้
4. กระบวนการยุติธรรม
กระบวนการยุติธรรมเป็นองค์ประกอบที่มีความเกี่ยวข้องกับธรรมรัฐ จะเป็นส่วนที่ทาให้กระบวนการบริหาร การดาเนินชีวิต การควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ สามารถ
กระทาได้ด้วยความถูกต้อง เสมอภาค ยุติธรรม เริ่มต้นจากการมีระบบกฎหมายที่มีความยุติธรรมต่อสังคม และปัจเจกบุคคล และจะต้องมีผู้ใช้กฎหมายไม่ว่าจะเป็นตุลาการ
อัยการ ตารวจ ผู้ใช้กฎหมายเหล่านี้จะต้องเป็นผู้มีคุณธรรมและมีความเที่ยงธรรมอย่างแท้จริง สังคมที่ทุกคนอยากจะสร้างก็คือ สังคมที่ต้องมีกฎหมายที่ดีรองรับ นอกจากนี้สิ่ง
ที่สาคัญที่สุดอีกอย่างหนึ่งก็คือ จะต้องมีตุลาการที่เป็นอิสระไม่ติดยึดอยู่ในผลประโยชน์หรืออานาจ โดยเฉพาะอานาจทางการเงินของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง (อานันท์ ปัญญาร
ชุน 2541:30)
5. สื่อทางสังคม
ยุคปัจจุบันเป็นยุคสังคมข้อมูลข่าสาร สิ่งที่มีบทบาทสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างใหญ่ยิ่งก็คือ สื่อทางสังคม ซึ่งเป็นสิ่งที่ให้ข้อมูลข่างสารแก่ประชาชน สื่อทาง
สังคมได้แก่ หนังสือพิมพ์วิทยุ โทรทัศน์
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสื่อบันเทิง โฆษณา การศึกษา วัฒนธรรมและในด้านอื่น ๆ ในปัจจุบันมีลักษณะการใช้สื่อในระบบใหม่คือ มัลติมีเดีย ซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยีอย่าง
หลากหลายผสมผสานกันเพื่อเสริมความต้องการของคนให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงที่สามารถสัมผัสกันได้มากขึ้น ระบบมัลติมีเดีย จึงเป็นระบบที่อยู่ในความสนใจของ
มนุษย์เป็นอย่างมากในสังคมปัจจุบัน
ภาพรวมของสื่อทางสังคมในปัจจุบันที่เห็นได้อย่างชัดเจนก็คือ ในหนังสื่อพิมพ์เต็มไปด้วยเรื่องละครประเภทด้อยคุณภาพ เรื่องของดารา วงการกีฬา การโฆษณา และพาดหัว
ข่าวด้วยการเมือง และอาชญากรรม สื่อวิทยุส่วนมากใช้เวลาในการกระจายเสียงเพลง โฆษณาสินค้า โดยที่สัดส่วนของข่างสารมีน้อย และมีประเภทสนทนาบ้าง สาหรับ
โทรทัศน์ส่วนใหญ่ใช้เป็นสื่อสาหรับการบันเทิงและการโฆษณาสิ่งต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา มีข่าวสารหรือรายการที่มีสาระอยู่บ้าง แต่เป็นสัดส่วนที่น้อยเช่นเดียวกัน (อานันท์
ปัญญารชุน 2541:176-177)
การสร้างสันติสุข สันติภาพในสังคมยุคข้อมูลข่าวสาร จึงเป็นสิ่งที่เริ่มต้นจากฐานที่สาคัญคือ ความศรัทธาในศาสนา การมีความคิดอิสระ การมีความรัก ความเมตตาต่อเพื่อน
มนุษย์ และสรรพสิ่งทั้งหลาย ซึ่งเป็นฐานที่สาคัญที่ทุกคนจะต้องมีเป็นเบื้องต้น หลังจากนั้นทุกคนจึงต้องช่วยกันสร้างเศรษฐกิจพอเพียง ครอบครัวอบอุ่น สุขภาพที่สมบูรณ์
ชุมชนที่เข็มแข็ง สังคมสันติสุข และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ในส่วนของรัฐจะต้องเข้ามาเสริมในองค์ประกอบทุก ๆ ส่วน เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์โดยครบถ้วนทุก ๆ
องค์ประกอบ ในลักษณะของการเกิดดุลยภาพ คือคนเป็นผู้สร้างสังคม สังคมเป็นผู้สร้างรัฐ และรัฐกลับมาสร้างคนและสังคม ต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ ในลักษณะของการ
เคลื่อนไหวอย่างไม่หยุดยั้ง เป็นการสร้างสันติสุข และสันติภาพในลักษณะของการเคลื่อนไหว และการเลื่อซึ่งจะก่อให้เกิดเป็นความสมดุลของทุก ๆ ส่วน เป็นสันติสุขที่มี
ความสอดคล้องและผสมผสานกลมกลืนกับธรรมชาติอย่างแท้จริง
ชีวิตที่สันติสุขและสันติภาพ
จุดมุ่งหมายของการให้ธรรมะคือการให้นาไปใช้ เหมือนกับการที่เราเดินบนทางที่ขรุขระ ร้อนระอุ
และกระหายน้าสักแก้ว หากมีน้าเพียงน้อยเราก็คงดื่มกิน แต่หากมีปริมาณมากเราก็คงทั้งดื่มและอาบ ซึ่งแนวความคิดทางจริยธรรมก็เหมือนน้าที่บริสุทธิ์รดราดลงบนเรา
เพื่อให้ทางทุกข์ โดเฉพาะในเส้นทางที่ขรุขระอับจน เคยมีนักคิดกล่าวว่า”ชีวิตเหมือนการเดินทาง เรือนร่างเหมือนที่อาศัย บาปเหมือนโจรร้าย บุญทั้งหลายเหมือนที่พึ่ง
ทางใจ”
สรุปย้าการบรรยายครั้งแรกหัวข้อ”เกิดมาทาไม”
มีผู้ให้ข้อสังเกตว่าไม่รู้ว่าเราเกิดมาทาไมแต่ควรต้องรู้ว่า เกิดมาแล้วควรทาอย่างไร การค้นหาคาตอบขึ้นกับความพอใจเนื่องจากสถานะของผู้ค้นหาคาตอบย่อม
แตกต่างกัน ไปตามพื้นฐานของแนวคิด,ค่านิยม,วัฒนธรรม,ประเพณีวิถีประชาและศาสนาที่เขา นับถือ
ถ้าไปถามเด็กน้อยที่เพิ่งหัดเดินก็คงจะได้คาตอบว่าเกิดมา เพื่อกินขนมอร่อยๆและเล่นของเล่นสวยๆแต่ถ้าไปถามพวกที่ไปเที่ยว RCA ก็คงจะได้คาตอบว่าเกิดมา
เพื่อดิ้นและดื่มให้เมาให้มันส์ ถ้าจะถามขอทานริมฟุตบาธ ก็อาจตอบว่า ไม่อยากเกิด เกิกมาแล้วก็ไม่ได้กินอิ่มท้อง ไม่มีเสื้อผ้าดีๆใส่ หรือ เกิดมาเพื่อหาอาหารใส่ท้องให้อิ่ม
สักมื้อ และหาวิธีตายให้ทรมานน้อยที่สุด จะเห็นว่าคาตอบที่ได้นั้นแล้วแต่ค่านิยมที่เขาถือในขณะนั้น แล้วตัวเราเองที่เป็นนักศึกษาเล่า? จะต้องเกิดมาทาไม คนที่จะให้
คาตอบเราได้ดีที่สุดก็คือตัวของเราเอง
การเรียนคือกระบวนการในการพัฒนาชีวิต มนุษย์เป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่งที่มีสัญชาตญาณการเอาตัวรอดเปราะบางกว่าสัตว์ อื่น แต่ที่เราดารงเผ่าพันธุ์ได้นานนั้น
เพราะว่ามนุษย์รู้จักศึกษา การศึกษาของมนุษย์ได้ทิ้งร่องรอยวัฒนธรรม,วิถีประชา,ค่านิยม,ศาสนาให้คนรุ่น หลังสืบต่อไป เราซึ่งเป็นคนรุ่นหลังผู้รับช่วงแนวความคิด
เหล่านั้น จึงเรียกได้ว่ากาลังกินของเก่าอยู่ โดยคิดไม่เป็นเช่นนั้นหรือ? หากผู้ฉลาดก็คงตอบว่าไม่ แต่นักบริโภคนิยมคงตอบว่าใช่ หากเราตอบว่าใช่ด้วยเราก็จะพัฒนาได้น้อย
เห็นได้จากแนวความคิด ของชาลล์ ดาวิน ที่ว่าอวัยวะส่วนใดที่ไม่ค่อยได้ใช้ก็จะเล็กลีบลงเรื่อยๆ ก็เหมือนกับคนที่ไม่รู้จักคิดคอยกินแต่ของเก่า มันสมองก็คงลีบเล็กลงเรื่อยๆ
และในที่สุดก็ไม่สามารถสร้างสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคมได้เลย
เราจึงควรให้คาตอบกับตัวเองอย่างยิ่งว่าตัวเราอยู่ในสถานะใด ยืนที่ตรงไหน และเกิดมาทาไม
แน่นอนว่าชีวิตไม่สามารถปฏิเสธการมีสังคมได้ อย่างก็สังคมครอบครัว พ่อแม่ ซึ่งวิถีชีวิตนี้กาหนดสถานะให้เราเป็นลูก ลูกในภาษาบาลีนั้นใช้คาว่า ปุตต อ่าน
ว่า ปุด-ตะ ส่วนสันสฤต ลูกก็คือ บุตร อ่านว่า บุด ซึ่งทั้ง 2 ภาษานั้นลูกก็คือ “ผู้ที่ทาความสมบูรณ์ให้เกิดในครอบครัว”
พ่อแม่คือเสรีชน ลูกเป็นอิสรชน,ศรีเสรีชน คือผู้ที่สบายไม่ต้องมีภาระ แม้พ่อแม่จะเหนื่อยแต่ท่านก็พอใจทาให้บุตร ดังนั้นคาตอบที่ใกล้ตัวเราที่สุดว่าเกิดมาทาไมก็คือหน้าที่ 5 ประการ
ต่อไปนี้ที่เราต้องทาให้บกพร่องน้อยที่สุด
1. หน้าที่ความเป็นลูก
2. หน้าที่ความเป็นพี่เป็นน้อง
3. หน้าที่ความเป็นเพื่อน
4. หน้าที่ความเป็นมนุษย์
5. หน้าที่ความเป็นศาสนิกชนในศาสนานั้นๆ
ซึ่งเหล่านี้เป็นลักษณะเชิงพุทธ ก็คือให้นาไปคิดวิเคราะห์เอาเอง
1. หน้าที่ความเป็นลูก
ขั้นแรกสุดเราควรเริ่มเป็นลูกที่ดีก่อน เพราะนรกหรือสวรรค์ของพ่อแม่นั้นอยู่ในกามือของลูก หากลูกดีพ่อแม่ก็เหมือนได้ขึ้นสวรรค์ ทั้งเป็น แต่หากลูกชั่วก็เหมือนพ่อแม่ตกนรกทั้งเป็น
ดังนั้น หากจะให้คาตอบว่าเกิดมาทาไม ที่สาคัญที่สุดก็คงจะเป็น การเกิดมาเป็นลูกที่ทาให้พ่อแม่ชื่นใจ นั่นเอง
2. หน้าที่ความเป็นพี่เป็นน้อง
กรณีที่เรามีพี่น้องก็มักจะเกิดปัญหากลัวมีคนแย่งความรัก เป็นธรรมดาทางที่จะช่วยได้คือรู้จักละความริษยา
ถ้าเราเป็นลูกโทนก็ยิ่งต้องตั้งใจใฝ่รู้ และเป็นคนดี
3. หน้าที่ความเป็นมนุษย์
สวรรค์บนพื้นพิภพของมนุษย์ก็อยู่ที่การทาอะไรแล้วไม่เดือดร้อนตนเองและผู้อื่นซึ่งเราทาแล้วเราก็
สบายใจ ส่วนนรกก็คือการทาอะไรให้ผู้อื่นหรือแม้แต่ตนเองต้องเดือดร้อน
4. หน้าที่ความเป็นศาสนิกชนในศาสนานั้นๆ
ในแง่ของความเป็นจริงเมื่อเราได้หายใจเข้า-ออก เราก็หายใจอย่างเต็มที่ เพราะฉะนั้นในการปฏิบัติสิ่งใด
ก็ควรทาให้เต็มที่ด้วยเช่นกัน แต่เพราะมนุษย์ชอบผัดวันประกันพรุ่ง จะเข้าวัดก็ต่อเมื่อเป็นศพแล้ว เช่นนี้จะได้ประโยชน์อะไร หากเราเป็นชาวพุทธเพียงแค่ ชื่อแต่“วัดไม่
เข้า เหล้าไม่ขาด บาตรไม่ใส่ ไพ่ไม่ละ เอาหัวพระเป็นปฏิทินอย่างเดียว” เช่นนี้แล้วก็คงไม่รู้ว่าเกิดมาทาไมเป็นชาวพุทธทาไม
5. หน้าที่ความเป็นเพื่อน
เป็นสัจจธรรมที่ว่ามนุษย์อยู่ตัวคนเดียวในโลกไม่ได้โลกนี้ต้องมีเพื่อน ซึ่งในภาษาพระเพื่อนก็คือ
มิตต อ่านว่า มิด-ตะ มีรากศัพท์มาจาก เมตัตตา เม = เรา ตัตตา=ความเป็น รวมแล้วหมายถึง ความเป็นเรานั่นเอง หากเรามองเพื่อนให้เหมือนหัวอกเราการยกพวกไปตี
กัน,การเอาเปรียบกันจะไม่มี
ตามกฎวิทยาศาสตร์ มนุษย์โดดเดี่ยวและโตช้า เปรียนบกับนกไม่มีขนก็บินยากฉันใดมนุษย์ไม่มีเพื่อนก็ขึ้นที่สูงไม่ได้ฉัน นั้น ในชนบทการเอาต้นไม้ไปวางไว้
กลางทุ่งที่มีวัว ควายเหยียบย่า และมีลมพัดทุกทิศทาง จะโตช้า แต่ถ้ามีต้นไม้หลายๆต้น อิงอาศัยกันก็จะโตได้เร็วต่างกับไม้ต้นเดียว คนเราก็เช่นกัน หากเอาแต่ใจและเห็น
แก่ตัว ก็ยากที่จะทาอะไรให้สาเร็จ ยิ่งในสังคมปัจจุบันเรายิ่งต้องจาเป็นมีเพื่อนที่ดี แต่เพื่อนกินนั้นหาง่ายเพื่อนตายนั้นหายากตามคากล่าวที่ว่า “มั่งมีมากมายมิตรหมาย
มอง เมื่อมัวหมองมิตรมองเหมือนหมูหมา เมื่อไม่มีหมดมิตรไม่มองมา เมื่อมอดม้วยแม้นหมูหมาไม่มามอง” ฉะนัน้ความคิดที่จะแสวงหาเพื่อนที่ดี 100%นั้นย่อมยาก
แต่เราคิดเสียว่าเราไม่มีสติปัญญาหรืออานาจมากพอที่จะไปบังคับให้คนอื่นมา เป็นคนดีได้แต่เรามีอานาจพอที่จะบังคับให้ตัวเองเป็นคนดีได้ หากเราเป็นคนดีแล้วเมื่อมี
เพื่อน เขาก็จะเป็นคนดีเหมือนเรา นอกจากนี้เรายังเป็นลูกที่ดี เป็นพี่เป็นน้องที่ดีและเป็นมนุษย์ที่มีความสานึกในการเป็นมนุษย์ อย่าเกิดมาเพียงแค่เพื่อกินเพื่อกามเพื่อ
เกียรติ แต่ให้เกิดมาเพื่อพัฒนาชีวิตให้มีความสะอาดด้วยศีล มีความสงบ มีสมาธิ มีความสว่างและมีปัญญา
การศึกษาเล่าเรียนก็เพื่อให้มีปัญญาไม่ใช่เรียนให้ผ่านๆไปวันๆแต่จะต้องมีการคิดค้นพัฒนาและปรับปรุงอยู่เสมอ การเป็นศาสนิกชนของศาสนาใดๆก็หันหน้า
เข้าหาศาสนานั้นๆบ้างไม่ใช่รอให้แก่ให้เกษียณอายุแล้วค่อยสนใจ อาหารมีประโยชน์กับเราเมื่อร่างกายเจริญเติบโตพัฒนาฉันใด ธรรมะก็เป็นประโยชน์ต่อเมื่อ
ชีวิตเริ่มออกเดินฉันนั้น เราเองก็ยังอยู่ในวัยที่กาลังก้าวเดินในเส้นทางชีวิต รู้เพียงแต่วิชาการนั้นยิอมไม่เพียงพอแต่ต้องรู้วิชาประคองจิต คือศีลธรรมเอาไว้บ้าง
ดังที่เห็นกันแล้วว่าผู้นาของโลกแม้จะเก่งเพียงใดแต่เมื่อผิดศีลข้อ 3 แล้วก็โดนผู้คนรุมประณาฌต่อต้าน
ศีลนั้นมีสมบัติดังนี้
1. ไม่เปลืองเนื้อที่
2. ไม่ริดรอนสุขภาพกายและจิต
3. เพิ่มคุณภาพให้กับชีวิต
4. ผลิตคุณธรรมให้ตนไว้ใช้
เกิดเป็นคนแล้วจะดีก็ต่อเมื่อมีภาวิตตญาณ ไม่เหมือนสัตว์ที่มีเพียงแต่สัญชาตญาณ มนุษย์รู้ตัวว่าอะไรที่ยังด้อยและต้องฝึกเรื่องนั้นให้ดีขึ้นทั้งทางกาย
วาจา ใจ ให้สะอาดขึ้นด้วยศีล ฝึกจิตใจให้สงบด้วยสมาธิ ฝึกให้เกิดปัญญาจนรู้แจ้งดับปัญหาที่เกิดในชีวิต นั่นแหละ”ชีวิตที่สมบูรณ์” ซึ่งสิ่งที่ชีวิตเกิดมาเพื่อให้ทา
มีดังนี้
ทางกาย : ได้อาหาร ที่อยู่ ปัจจัย4
ทางศีล : รู้จักปรับปรุงบุคลิกภาพในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ทางจิต : จิตที่เราได้อิทธิความดีจากพ่อ แม่ ได้รับการอบรมให้โอบอ้อมอารี
ทางปัญญา : ทั้งวิชาการ,วิชาชีพ ,การประคองจิต
เราเปรียบเหมือนต้นกล้ารากหญ้าของสังคมที่จะมารับช่วงความเจริญหรือความเสื่อมของสังคมต่อไป ดังนั้นความหวังของสังคมก็คือ เราที่เก่งทั้งวิชาการและ
เพียบพร้อมคุณธรรม
สาหรับประเด็นในคราวนี้ ก็คือเรื่อง”สันติสุขส่วนบุคคลคือปัจจัยให้เกิดสันติภาพของสังคม”
พุทธ = นาม คือ พระพุทธเจ้า ท่านทรงเป็นแบบอย่างคือตื่นตี4 นอนน้อย ฉันน้อย แต่ทาประโยชน์ส่วนรวมได้มาก นี่เป็นลักษณะพิเศษของสุภาพชนทั่วโลก
ดังจะเห็นว่า โลกที่เจริญแล้วมักจะตื่นตัวตลอด ไม่มีการหลับไหล
สันติภาพของโลกนั้นเกิดจากสันติสุขของปัจเจกบุคคลก่อน และอุปสรรคที่ไม่ทาให้สันติสุขบังเกิดก็คือความเห็นแก่ตัวความเห็นแก่ได้ และไม่เอาใจใส่ต่อสิ่ง
ที่ควรรู้ เพราะฉะนั้นปัจจัยที่จะก่อให้เกิดสันติภาพ ก็คือ ปัจเจกบุคคล ควรรู้ว่าสันติสุขจะเกิดได้อย่างไร ซึ่งความสุขนั้นมี 2 ประเภท
1. สุขสนุก เป็นความสุขที่ต้องแสวงหา มีจากัดเฉพาะคนมีทรัพย์มีโอกาส มีอานาจ สุขชนิดนี้เปลืองเงิน,ตัว,เวลา,แรงงาน,สิ่งแวดล้อม
2. สุขสงบ เป็นความสุขที่เรามีอยู่แล้วแต่ต้องรักษาเอาไว้ มีอย่างจากัด เกิดขึ้นได้ทุกหนแห่ง ไม่เปลืองสิ่งใดและทุกคนก็มีได้เท่าๆกัน
จึงสรุปได้ว่า ชีวิตไม่รู้ว่าเกิดมาทาไม แต่ว่าเราเมื่อเกิดมาแล้ว เราต้องถามตัวเองว่าเราจะทาอะไรที่เป็นประโยชน์ ก็ทาให้ดีที่สุดในฐานะที่เราเป็นลูก เป็นพี่เป็น
น้อง เป็นเพื่อน เป็นมนุษย์เป็นศาสนิกชน ทางานทุกชนิดโดยมีความคิดอยู่เสมอว่าอย่าทาให้ตัวเราและผู้อื่นเดือดร้อน ความรู้สานึกเกิดขึ้นอย่างนี้เรียกว่า
คุณธรรม ที่เรามีคุณธรรมเพราะจิตใจเรามีจริยธรรม อันเป็นวงจรกัน เราต้องเข้าใจสัจธรรมก่อน จึงประพฤติจริยธรรม เมื่อประพฤติจริยธรรมแล้วก็จะผลิต
คุณธรรมขึ้นมา
สัจธรรมเป็นรากฐาน จริยธรรมเป็นตัวขับเคลื่อน คุณธรรมเป็นตัวแสดงผล เหมือนดอกไม้ที่เบ่งบาน สัจธรรมเป็นราก จริยธรรมเป็นลา
ต้น คุณธรรมเป็นดอกผล
คุณธรรมเป็นผลรู้สัจธรรมเป็นเหตุ
คนฉลาดจะเห็นว่าสันติสุขมีอยู่แล้วในตัวเรา ต้องรักษา สุขอยู่กับความสุขที่เรียบง่ายแต่ว่ายั่งยืน สุขที่โลดโผนทาลายสุขภาพ ทาลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่คุ้มกัน
เพราะสุขเพียงเดี๋ยวเดียว แล้วก็หายไป
“รู้จักตัวเอง เตือนตัวเอง จะทาให้มีความสุขและสันติภาพ”
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ

More Related Content

Similar to หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ

3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาtassanee chaicharoen
 
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมTaraya Srivilas
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfรายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfFaiSurkumron1
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstya035
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstpattamasatun
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstNew Born
 
09 health promotion
09 health promotion09 health promotion
09 health promotionFreelance
 

Similar to หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ (20)

3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
 
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfรายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
09 health promotion
09 health promotion09 health promotion
09 health promotion
 

More from ศศิพร แซ่เฮ้ง

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ศศิพร แซ่เฮ้ง
 

More from ศศิพร แซ่เฮ้ง (20)

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3
 
ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
ขันธ์52
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 

หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ

  • 2. องค์ประกอบสนับสนุนการสร้างสันติสุข องค์ประกอบสนับสนุนการสร้างสันติสุข และสันติสุขในสังคมที่สาคัญมีอยู่ 5 ประการคือ การศึกษา ศาสนา การเมือง กระบวนการยุติธรรม และเรื่องของสื่อทางสังคม ทั้งหมด ถือว่าเป็นองค์ประกอบสนับสนุนที่รัฐจะต้องเข้าไปควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อให้สามารถดาเนินงานไปสู่เป้าหมายในเรื่องเดียวกัน คือสร้างสันติสุข และสันติภาพในสังคมได้ อย่างแท้จริง สามารถสรุปรายละเอียดความสาคัญแต่ละเรื่องได้ดังนี้ 1. การศึกษา การศึกษาที่แท้จริงมีจุดเริ่มต้นที่ครอบครัว เมื่อครอบครัวมีความอบอุ่นจะสร้างฐานการเรียนรู้ที่ถูกต้องให้กับเยาวชน คือมีความรู้ มีความคิด และมีความรัก ส่วนการศึกษาในระบบ ของรัฐจะต้องกาหนดเป้าหมายเพื่อสร้างสันติสุข และสันติภาพอย่างชัดเจน โดยที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้สิ่งแวดล้อมของตน มีความรักต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม มีจิตใจกว้างและเต็ม ไปด้วยความเมตตา มีจิตใจที่เป็นอิสระจากอานาจของวัตถุ จากอานาจของกิเลสและทิฏฐิ และมีความสามารถทางด้านการใช้ความคิด หรือใช้ปัญญาได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้ง รวมทั้งมีศักยภาพในการพัฒนายกระดับปัญญาของตนให้สูงขึ้นได้เรื่อย ๆ ดังนั้นโรงเรียนหรือระบบการศึกษาควรจะสอนกระบวนการคิดต่อไปนี้ให้กับผู้เรียน (สานัก นายกรัฐมนตรี 2540:55-59) คิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดละเอียด คิดชัดเจน คิดอย่างมีเหตุผล คิดถูกทาง คิดกว้าง คิดลึกซึ้ง คิดไกล กระบวนการคิดต่าง ๆ เหล่านี้ จะช่วยเสริมสร้าง ปัญญาให้กับมนุษย์และเป็นพื้นฐานสาคัญ สาหรับการสร้างสันติสุขและสันติภาพในสังคม
  • 3. 2. ศาสนา ศาสนาเป็นสถาบันหลักทางสังคมมาตั้งแต่อดีต ในสภาวะสังคมปัจจุบัน ซึ่งสังคมไทยกาลังเผชิญปัญหาที่สาคัญอยู่หลายเรื่อง จาเป็นต้องพัฒนาคนให้มีปัญญาหลาย ๆ ด้าน เพื่อช่วยกันแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมในทางสร้างสรรค์ และเพื่อมุ่งหวังให้สันติสุขอย่างแท้จริงเกิดขึ้นในสังคม บทบาทที่สาคัญขอศาสนาในส่วนนี้จึงควรเป็นการ เสริมสร้างปัญญาให้กับประชาชน เป็นการช่วยเสริมบทบาทหน้าที่ของระบบการศึกษาให้มีความสมบูรณยิ่งขึ้น หลักพุทธธรรมที่สามารถนามาเสริมระบบการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนสติปัญญาหลักใหญ่ ๆ ก็คือ หลักไตรสิกขา หรือศีล สมาธิ ปัญญา ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ที่มีความสาคัญมากและหลักการคิดแบบโยนิโสมนสิการ ซึ่งจะช่วยเสริมและพัฒนาปัญญาของมนุษย์ให้กว้างขวางและถูกต้องยิ่งขึ้น 3. การเมือง ระบบการเมืองจะช่วยสร้างสันติสุขให้กับสังคมอีกทางหนึ่ง การเมืองจะต้องสร้างระบบการปกครองบ้านเมือง ระบบการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ส่วนรวม ทีเรียกว่าธรรมาภิบาล หรือธรรมรัฐ (Good Governance) ขึ้นมาให้ได้ ธรรมรัฐ หมายถึงผลลัพธ์ของการจัดกิจกรรม ซึ่งบุคคลและสถาบันทั่วไป ภาครัฐ และเอกชนมีผลประโยชน์ร่วมกัน ได้กระทาลงไปในหลายทาง มีลักษณะเป็น กระบวนการที่เกิดขึ้นต่อเนื่อง ซึ่งอาจนาไปสู่การผสมผสานประโยชน์ที่หลากหลายและขัดแย้งกันได้(อานันท์ปัญญารชุน 2541:26)
  • 4. องค์ประกอบของธรรมรัฐมีดังนี้คือ 1) มีความรับผิดชอบและมีเหตุผลที่อธิบายได้รวมทั้งสมารถตรวจสอบได้ 2) ประชาชนมีส่วนร่วม 3) ต้องมีการคาดการณ์ได้ 4) จะต้องมีความโปร่งใส 5) จะต้องมีความเชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบทั้ง 4 องค์ประกอบนี้ 4. กระบวนการยุติธรรม กระบวนการยุติธรรมเป็นองค์ประกอบที่มีความเกี่ยวข้องกับธรรมรัฐ จะเป็นส่วนที่ทาให้กระบวนการบริหาร การดาเนินชีวิต การควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ สามารถ กระทาได้ด้วยความถูกต้อง เสมอภาค ยุติธรรม เริ่มต้นจากการมีระบบกฎหมายที่มีความยุติธรรมต่อสังคม และปัจเจกบุคคล และจะต้องมีผู้ใช้กฎหมายไม่ว่าจะเป็นตุลาการ อัยการ ตารวจ ผู้ใช้กฎหมายเหล่านี้จะต้องเป็นผู้มีคุณธรรมและมีความเที่ยงธรรมอย่างแท้จริง สังคมที่ทุกคนอยากจะสร้างก็คือ สังคมที่ต้องมีกฎหมายที่ดีรองรับ นอกจากนี้สิ่ง ที่สาคัญที่สุดอีกอย่างหนึ่งก็คือ จะต้องมีตุลาการที่เป็นอิสระไม่ติดยึดอยู่ในผลประโยชน์หรืออานาจ โดยเฉพาะอานาจทางการเงินของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง (อานันท์ ปัญญาร ชุน 2541:30) 5. สื่อทางสังคม ยุคปัจจุบันเป็นยุคสังคมข้อมูลข่าสาร สิ่งที่มีบทบาทสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างใหญ่ยิ่งก็คือ สื่อทางสังคม ซึ่งเป็นสิ่งที่ให้ข้อมูลข่างสารแก่ประชาชน สื่อทาง สังคมได้แก่ หนังสือพิมพ์วิทยุ โทรทัศน์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสื่อบันเทิง โฆษณา การศึกษา วัฒนธรรมและในด้านอื่น ๆ ในปัจจุบันมีลักษณะการใช้สื่อในระบบใหม่คือ มัลติมีเดีย ซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยีอย่าง หลากหลายผสมผสานกันเพื่อเสริมความต้องการของคนให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงที่สามารถสัมผัสกันได้มากขึ้น ระบบมัลติมีเดีย จึงเป็นระบบที่อยู่ในความสนใจของ มนุษย์เป็นอย่างมากในสังคมปัจจุบัน
  • 5. ภาพรวมของสื่อทางสังคมในปัจจุบันที่เห็นได้อย่างชัดเจนก็คือ ในหนังสื่อพิมพ์เต็มไปด้วยเรื่องละครประเภทด้อยคุณภาพ เรื่องของดารา วงการกีฬา การโฆษณา และพาดหัว ข่าวด้วยการเมือง และอาชญากรรม สื่อวิทยุส่วนมากใช้เวลาในการกระจายเสียงเพลง โฆษณาสินค้า โดยที่สัดส่วนของข่างสารมีน้อย และมีประเภทสนทนาบ้าง สาหรับ โทรทัศน์ส่วนใหญ่ใช้เป็นสื่อสาหรับการบันเทิงและการโฆษณาสิ่งต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา มีข่าวสารหรือรายการที่มีสาระอยู่บ้าง แต่เป็นสัดส่วนที่น้อยเช่นเดียวกัน (อานันท์ ปัญญารชุน 2541:176-177) การสร้างสันติสุข สันติภาพในสังคมยุคข้อมูลข่าวสาร จึงเป็นสิ่งที่เริ่มต้นจากฐานที่สาคัญคือ ความศรัทธาในศาสนา การมีความคิดอิสระ การมีความรัก ความเมตตาต่อเพื่อน มนุษย์ และสรรพสิ่งทั้งหลาย ซึ่งเป็นฐานที่สาคัญที่ทุกคนจะต้องมีเป็นเบื้องต้น หลังจากนั้นทุกคนจึงต้องช่วยกันสร้างเศรษฐกิจพอเพียง ครอบครัวอบอุ่น สุขภาพที่สมบูรณ์ ชุมชนที่เข็มแข็ง สังคมสันติสุข และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ในส่วนของรัฐจะต้องเข้ามาเสริมในองค์ประกอบทุก ๆ ส่วน เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์โดยครบถ้วนทุก ๆ องค์ประกอบ ในลักษณะของการเกิดดุลยภาพ คือคนเป็นผู้สร้างสังคม สังคมเป็นผู้สร้างรัฐ และรัฐกลับมาสร้างคนและสังคม ต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ ในลักษณะของการ เคลื่อนไหวอย่างไม่หยุดยั้ง เป็นการสร้างสันติสุข และสันติภาพในลักษณะของการเคลื่อนไหว และการเลื่อซึ่งจะก่อให้เกิดเป็นความสมดุลของทุก ๆ ส่วน เป็นสันติสุขที่มี ความสอดคล้องและผสมผสานกลมกลืนกับธรรมชาติอย่างแท้จริง
  • 6. ชีวิตที่สันติสุขและสันติภาพ จุดมุ่งหมายของการให้ธรรมะคือการให้นาไปใช้ เหมือนกับการที่เราเดินบนทางที่ขรุขระ ร้อนระอุ และกระหายน้าสักแก้ว หากมีน้าเพียงน้อยเราก็คงดื่มกิน แต่หากมีปริมาณมากเราก็คงทั้งดื่มและอาบ ซึ่งแนวความคิดทางจริยธรรมก็เหมือนน้าที่บริสุทธิ์รดราดลงบนเรา เพื่อให้ทางทุกข์ โดเฉพาะในเส้นทางที่ขรุขระอับจน เคยมีนักคิดกล่าวว่า”ชีวิตเหมือนการเดินทาง เรือนร่างเหมือนที่อาศัย บาปเหมือนโจรร้าย บุญทั้งหลายเหมือนที่พึ่ง ทางใจ” สรุปย้าการบรรยายครั้งแรกหัวข้อ”เกิดมาทาไม” มีผู้ให้ข้อสังเกตว่าไม่รู้ว่าเราเกิดมาทาไมแต่ควรต้องรู้ว่า เกิดมาแล้วควรทาอย่างไร การค้นหาคาตอบขึ้นกับความพอใจเนื่องจากสถานะของผู้ค้นหาคาตอบย่อม แตกต่างกัน ไปตามพื้นฐานของแนวคิด,ค่านิยม,วัฒนธรรม,ประเพณีวิถีประชาและศาสนาที่เขา นับถือ ถ้าไปถามเด็กน้อยที่เพิ่งหัดเดินก็คงจะได้คาตอบว่าเกิดมา เพื่อกินขนมอร่อยๆและเล่นของเล่นสวยๆแต่ถ้าไปถามพวกที่ไปเที่ยว RCA ก็คงจะได้คาตอบว่าเกิดมา เพื่อดิ้นและดื่มให้เมาให้มันส์ ถ้าจะถามขอทานริมฟุตบาธ ก็อาจตอบว่า ไม่อยากเกิด เกิกมาแล้วก็ไม่ได้กินอิ่มท้อง ไม่มีเสื้อผ้าดีๆใส่ หรือ เกิดมาเพื่อหาอาหารใส่ท้องให้อิ่ม สักมื้อ และหาวิธีตายให้ทรมานน้อยที่สุด จะเห็นว่าคาตอบที่ได้นั้นแล้วแต่ค่านิยมที่เขาถือในขณะนั้น แล้วตัวเราเองที่เป็นนักศึกษาเล่า? จะต้องเกิดมาทาไม คนที่จะให้ คาตอบเราได้ดีที่สุดก็คือตัวของเราเอง การเรียนคือกระบวนการในการพัฒนาชีวิต มนุษย์เป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่งที่มีสัญชาตญาณการเอาตัวรอดเปราะบางกว่าสัตว์ อื่น แต่ที่เราดารงเผ่าพันธุ์ได้นานนั้น เพราะว่ามนุษย์รู้จักศึกษา การศึกษาของมนุษย์ได้ทิ้งร่องรอยวัฒนธรรม,วิถีประชา,ค่านิยม,ศาสนาให้คนรุ่น หลังสืบต่อไป เราซึ่งเป็นคนรุ่นหลังผู้รับช่วงแนวความคิด เหล่านั้น จึงเรียกได้ว่ากาลังกินของเก่าอยู่ โดยคิดไม่เป็นเช่นนั้นหรือ? หากผู้ฉลาดก็คงตอบว่าไม่ แต่นักบริโภคนิยมคงตอบว่าใช่ หากเราตอบว่าใช่ด้วยเราก็จะพัฒนาได้น้อย เห็นได้จากแนวความคิด ของชาลล์ ดาวิน ที่ว่าอวัยวะส่วนใดที่ไม่ค่อยได้ใช้ก็จะเล็กลีบลงเรื่อยๆ ก็เหมือนกับคนที่ไม่รู้จักคิดคอยกินแต่ของเก่า มันสมองก็คงลีบเล็กลงเรื่อยๆ และในที่สุดก็ไม่สามารถสร้างสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคมได้เลย เราจึงควรให้คาตอบกับตัวเองอย่างยิ่งว่าตัวเราอยู่ในสถานะใด ยืนที่ตรงไหน และเกิดมาทาไม แน่นอนว่าชีวิตไม่สามารถปฏิเสธการมีสังคมได้ อย่างก็สังคมครอบครัว พ่อแม่ ซึ่งวิถีชีวิตนี้กาหนดสถานะให้เราเป็นลูก ลูกในภาษาบาลีนั้นใช้คาว่า ปุตต อ่าน ว่า ปุด-ตะ ส่วนสันสฤต ลูกก็คือ บุตร อ่านว่า บุด ซึ่งทั้ง 2 ภาษานั้นลูกก็คือ “ผู้ที่ทาความสมบูรณ์ให้เกิดในครอบครัว”
  • 7. พ่อแม่คือเสรีชน ลูกเป็นอิสรชน,ศรีเสรีชน คือผู้ที่สบายไม่ต้องมีภาระ แม้พ่อแม่จะเหนื่อยแต่ท่านก็พอใจทาให้บุตร ดังนั้นคาตอบที่ใกล้ตัวเราที่สุดว่าเกิดมาทาไมก็คือหน้าที่ 5 ประการ ต่อไปนี้ที่เราต้องทาให้บกพร่องน้อยที่สุด 1. หน้าที่ความเป็นลูก 2. หน้าที่ความเป็นพี่เป็นน้อง 3. หน้าที่ความเป็นเพื่อน 4. หน้าที่ความเป็นมนุษย์ 5. หน้าที่ความเป็นศาสนิกชนในศาสนานั้นๆ ซึ่งเหล่านี้เป็นลักษณะเชิงพุทธ ก็คือให้นาไปคิดวิเคราะห์เอาเอง 1. หน้าที่ความเป็นลูก ขั้นแรกสุดเราควรเริ่มเป็นลูกที่ดีก่อน เพราะนรกหรือสวรรค์ของพ่อแม่นั้นอยู่ในกามือของลูก หากลูกดีพ่อแม่ก็เหมือนได้ขึ้นสวรรค์ ทั้งเป็น แต่หากลูกชั่วก็เหมือนพ่อแม่ตกนรกทั้งเป็น ดังนั้น หากจะให้คาตอบว่าเกิดมาทาไม ที่สาคัญที่สุดก็คงจะเป็น การเกิดมาเป็นลูกที่ทาให้พ่อแม่ชื่นใจ นั่นเอง 2. หน้าที่ความเป็นพี่เป็นน้อง กรณีที่เรามีพี่น้องก็มักจะเกิดปัญหากลัวมีคนแย่งความรัก เป็นธรรมดาทางที่จะช่วยได้คือรู้จักละความริษยา ถ้าเราเป็นลูกโทนก็ยิ่งต้องตั้งใจใฝ่รู้ และเป็นคนดี 3. หน้าที่ความเป็นมนุษย์ สวรรค์บนพื้นพิภพของมนุษย์ก็อยู่ที่การทาอะไรแล้วไม่เดือดร้อนตนเองและผู้อื่นซึ่งเราทาแล้วเราก็ สบายใจ ส่วนนรกก็คือการทาอะไรให้ผู้อื่นหรือแม้แต่ตนเองต้องเดือดร้อน 4. หน้าที่ความเป็นศาสนิกชนในศาสนานั้นๆ ในแง่ของความเป็นจริงเมื่อเราได้หายใจเข้า-ออก เราก็หายใจอย่างเต็มที่ เพราะฉะนั้นในการปฏิบัติสิ่งใด
  • 8. ก็ควรทาให้เต็มที่ด้วยเช่นกัน แต่เพราะมนุษย์ชอบผัดวันประกันพรุ่ง จะเข้าวัดก็ต่อเมื่อเป็นศพแล้ว เช่นนี้จะได้ประโยชน์อะไร หากเราเป็นชาวพุทธเพียงแค่ ชื่อแต่“วัดไม่ เข้า เหล้าไม่ขาด บาตรไม่ใส่ ไพ่ไม่ละ เอาหัวพระเป็นปฏิทินอย่างเดียว” เช่นนี้แล้วก็คงไม่รู้ว่าเกิดมาทาไมเป็นชาวพุทธทาไม 5. หน้าที่ความเป็นเพื่อน เป็นสัจจธรรมที่ว่ามนุษย์อยู่ตัวคนเดียวในโลกไม่ได้โลกนี้ต้องมีเพื่อน ซึ่งในภาษาพระเพื่อนก็คือ มิตต อ่านว่า มิด-ตะ มีรากศัพท์มาจาก เมตัตตา เม = เรา ตัตตา=ความเป็น รวมแล้วหมายถึง ความเป็นเรานั่นเอง หากเรามองเพื่อนให้เหมือนหัวอกเราการยกพวกไปตี กัน,การเอาเปรียบกันจะไม่มี ตามกฎวิทยาศาสตร์ มนุษย์โดดเดี่ยวและโตช้า เปรียนบกับนกไม่มีขนก็บินยากฉันใดมนุษย์ไม่มีเพื่อนก็ขึ้นที่สูงไม่ได้ฉัน นั้น ในชนบทการเอาต้นไม้ไปวางไว้ กลางทุ่งที่มีวัว ควายเหยียบย่า และมีลมพัดทุกทิศทาง จะโตช้า แต่ถ้ามีต้นไม้หลายๆต้น อิงอาศัยกันก็จะโตได้เร็วต่างกับไม้ต้นเดียว คนเราก็เช่นกัน หากเอาแต่ใจและเห็น แก่ตัว ก็ยากที่จะทาอะไรให้สาเร็จ ยิ่งในสังคมปัจจุบันเรายิ่งต้องจาเป็นมีเพื่อนที่ดี แต่เพื่อนกินนั้นหาง่ายเพื่อนตายนั้นหายากตามคากล่าวที่ว่า “มั่งมีมากมายมิตรหมาย มอง เมื่อมัวหมองมิตรมองเหมือนหมูหมา เมื่อไม่มีหมดมิตรไม่มองมา เมื่อมอดม้วยแม้นหมูหมาไม่มามอง” ฉะนัน้ความคิดที่จะแสวงหาเพื่อนที่ดี 100%นั้นย่อมยาก แต่เราคิดเสียว่าเราไม่มีสติปัญญาหรืออานาจมากพอที่จะไปบังคับให้คนอื่นมา เป็นคนดีได้แต่เรามีอานาจพอที่จะบังคับให้ตัวเองเป็นคนดีได้ หากเราเป็นคนดีแล้วเมื่อมี เพื่อน เขาก็จะเป็นคนดีเหมือนเรา นอกจากนี้เรายังเป็นลูกที่ดี เป็นพี่เป็นน้องที่ดีและเป็นมนุษย์ที่มีความสานึกในการเป็นมนุษย์ อย่าเกิดมาเพียงแค่เพื่อกินเพื่อกามเพื่อ เกียรติ แต่ให้เกิดมาเพื่อพัฒนาชีวิตให้มีความสะอาดด้วยศีล มีความสงบ มีสมาธิ มีความสว่างและมีปัญญา
  • 9. การศึกษาเล่าเรียนก็เพื่อให้มีปัญญาไม่ใช่เรียนให้ผ่านๆไปวันๆแต่จะต้องมีการคิดค้นพัฒนาและปรับปรุงอยู่เสมอ การเป็นศาสนิกชนของศาสนาใดๆก็หันหน้า เข้าหาศาสนานั้นๆบ้างไม่ใช่รอให้แก่ให้เกษียณอายุแล้วค่อยสนใจ อาหารมีประโยชน์กับเราเมื่อร่างกายเจริญเติบโตพัฒนาฉันใด ธรรมะก็เป็นประโยชน์ต่อเมื่อ ชีวิตเริ่มออกเดินฉันนั้น เราเองก็ยังอยู่ในวัยที่กาลังก้าวเดินในเส้นทางชีวิต รู้เพียงแต่วิชาการนั้นยิอมไม่เพียงพอแต่ต้องรู้วิชาประคองจิต คือศีลธรรมเอาไว้บ้าง ดังที่เห็นกันแล้วว่าผู้นาของโลกแม้จะเก่งเพียงใดแต่เมื่อผิดศีลข้อ 3 แล้วก็โดนผู้คนรุมประณาฌต่อต้าน ศีลนั้นมีสมบัติดังนี้ 1. ไม่เปลืองเนื้อที่ 2. ไม่ริดรอนสุขภาพกายและจิต 3. เพิ่มคุณภาพให้กับชีวิต 4. ผลิตคุณธรรมให้ตนไว้ใช้ เกิดเป็นคนแล้วจะดีก็ต่อเมื่อมีภาวิตตญาณ ไม่เหมือนสัตว์ที่มีเพียงแต่สัญชาตญาณ มนุษย์รู้ตัวว่าอะไรที่ยังด้อยและต้องฝึกเรื่องนั้นให้ดีขึ้นทั้งทางกาย วาจา ใจ ให้สะอาดขึ้นด้วยศีล ฝึกจิตใจให้สงบด้วยสมาธิ ฝึกให้เกิดปัญญาจนรู้แจ้งดับปัญหาที่เกิดในชีวิต นั่นแหละ”ชีวิตที่สมบูรณ์” ซึ่งสิ่งที่ชีวิตเกิดมาเพื่อให้ทา มีดังนี้ ทางกาย : ได้อาหาร ที่อยู่ ปัจจัย4 ทางศีล : รู้จักปรับปรุงบุคลิกภาพในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ทางจิต : จิตที่เราได้อิทธิความดีจากพ่อ แม่ ได้รับการอบรมให้โอบอ้อมอารี ทางปัญญา : ทั้งวิชาการ,วิชาชีพ ,การประคองจิต เราเปรียบเหมือนต้นกล้ารากหญ้าของสังคมที่จะมารับช่วงความเจริญหรือความเสื่อมของสังคมต่อไป ดังนั้นความหวังของสังคมก็คือ เราที่เก่งทั้งวิชาการและ เพียบพร้อมคุณธรรม
  • 10. สาหรับประเด็นในคราวนี้ ก็คือเรื่อง”สันติสุขส่วนบุคคลคือปัจจัยให้เกิดสันติภาพของสังคม” พุทธ = นาม คือ พระพุทธเจ้า ท่านทรงเป็นแบบอย่างคือตื่นตี4 นอนน้อย ฉันน้อย แต่ทาประโยชน์ส่วนรวมได้มาก นี่เป็นลักษณะพิเศษของสุภาพชนทั่วโลก ดังจะเห็นว่า โลกที่เจริญแล้วมักจะตื่นตัวตลอด ไม่มีการหลับไหล สันติภาพของโลกนั้นเกิดจากสันติสุขของปัจเจกบุคคลก่อน และอุปสรรคที่ไม่ทาให้สันติสุขบังเกิดก็คือความเห็นแก่ตัวความเห็นแก่ได้ และไม่เอาใจใส่ต่อสิ่ง ที่ควรรู้ เพราะฉะนั้นปัจจัยที่จะก่อให้เกิดสันติภาพ ก็คือ ปัจเจกบุคคล ควรรู้ว่าสันติสุขจะเกิดได้อย่างไร ซึ่งความสุขนั้นมี 2 ประเภท 1. สุขสนุก เป็นความสุขที่ต้องแสวงหา มีจากัดเฉพาะคนมีทรัพย์มีโอกาส มีอานาจ สุขชนิดนี้เปลืองเงิน,ตัว,เวลา,แรงงาน,สิ่งแวดล้อม 2. สุขสงบ เป็นความสุขที่เรามีอยู่แล้วแต่ต้องรักษาเอาไว้ มีอย่างจากัด เกิดขึ้นได้ทุกหนแห่ง ไม่เปลืองสิ่งใดและทุกคนก็มีได้เท่าๆกัน จึงสรุปได้ว่า ชีวิตไม่รู้ว่าเกิดมาทาไม แต่ว่าเราเมื่อเกิดมาแล้ว เราต้องถามตัวเองว่าเราจะทาอะไรที่เป็นประโยชน์ ก็ทาให้ดีที่สุดในฐานะที่เราเป็นลูก เป็นพี่เป็น น้อง เป็นเพื่อน เป็นมนุษย์เป็นศาสนิกชน ทางานทุกชนิดโดยมีความคิดอยู่เสมอว่าอย่าทาให้ตัวเราและผู้อื่นเดือดร้อน ความรู้สานึกเกิดขึ้นอย่างนี้เรียกว่า คุณธรรม ที่เรามีคุณธรรมเพราะจิตใจเรามีจริยธรรม อันเป็นวงจรกัน เราต้องเข้าใจสัจธรรมก่อน จึงประพฤติจริยธรรม เมื่อประพฤติจริยธรรมแล้วก็จะผลิต คุณธรรมขึ้นมา สัจธรรมเป็นรากฐาน จริยธรรมเป็นตัวขับเคลื่อน คุณธรรมเป็นตัวแสดงผล เหมือนดอกไม้ที่เบ่งบาน สัจธรรมเป็นราก จริยธรรมเป็นลา ต้น คุณธรรมเป็นดอกผล คุณธรรมเป็นผลรู้สัจธรรมเป็นเหตุ คนฉลาดจะเห็นว่าสันติสุขมีอยู่แล้วในตัวเรา ต้องรักษา สุขอยู่กับความสุขที่เรียบง่ายแต่ว่ายั่งยืน สุขที่โลดโผนทาลายสุขภาพ ทาลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่คุ้มกัน เพราะสุขเพียงเดี๋ยวเดียว แล้วก็หายไป “รู้จักตัวเอง เตือนตัวเอง จะทาให้มีความสุขและสันติภาพ”