Anúncio
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Apresentações para você(20)

Destaque(20)

Anúncio

Similar a ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.(20)

Mais de Ziwapohn Peecharoensap(13)

Anúncio

Último(20)

ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.

  1. ตอบคำถำมจำก SOAP NOTE SOAP NOTE นักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นศภ. วรรธนา ราตรึ 08550147
  2. กรณีศึกษา ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 59 ปี มีโรคประจาตัวเป็น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน และจอประสาทตาเสื่อมจากการโรคเบาหวาน วันที่ 8 มิถุนายน 2559 ทีมสหสาขาวิชาชีพประกอบด้วยเภสัชกรโรงพยาบาล เภสัชกรร้านยา พยาบาล และ อาสาสมัครหมู่บ้าน ได้ลงไป เยี่ยมบ้านเพื่อติดตามอาการและการใช้ยาของผู้ป่วย พยาบาลได้ทาการวัดความดันผู้ป่วยได้ 212/111 วัดชีพจรได้ 68 ครั้งต่อนาที ผู้ป่วยบอกกับพยาบาลว่ามีอาการชาปลายเท้า ยาที่ผู้ป่วยใช้มี่ทั้งหมด 16 ตัวเป็นยาลดความดัน 9 กลุ่ม (10 ตัวยา) ยาลดระดับน้าตาลใน เลือด 3 ตัว ยาลดไขมันในเลือด 1 ตัว ยาต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือด 1 ตัว และวิตามิน B 1-6-12 ผู้ป่วยรับประทานยาไม่ครบ ทานยา แค่ 5 ตัวและไม่ได้ทานตามวิธีที่แพทย์สั่ง cc: หญิงไทยคู่ อายุ 59 ปี น้าหนัก 70 kg ส่วนสูง 153 cm BMI 30 kg/m2 มีอาการชาปลายเท้า PI: วันที่ 8 มิถุนายน 2559 วัดความดันได้ 212/111 ชีพจร 68 ครั้ง/นาที HPI: มีโรคประจาตัวเป็นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง รายการยาที่ใช้ในปัจจุบัน: ยาลดความดัน 10 ตัว - Amlodipine 5 mg 2x2 pc -Isosorbide dinitrate 10mg 2x3 ac - Diltiazem 30 mg 1x1 pc - Losartan 50 mg 2x2 pc - Doxazosin 2 mg 2x2 pc -Methyldopa 250 mg 2x3 pc - Enalapril 5 mg 4x2 pc -Metoprolol 100 mg 1x2 pc -Furosemide 40 mg 1x1 pc - hydralazine 25 mg 2x4 pc
  3. MH : ยาลดระดับน้าตาลในเลือด 3 ตัว - Metformin 500 mg 2x2 pc - Mixtard (insulin) 46 unit ฉีดเข้าใต้ผิวหนังตอนเช้า และ 32 unit ฉีดเข้าใต้ผิวหนังตอนเย็น -Pioglitazone 30 mg 1x1 pc ยาลดระดับได้ไขมันในเลือด 1 ตัว - Simvastatin 20 mg 2x1 รับประทานก่อนนอน วิตามิน B 1-6-12 รับประทาน 1x3 pc
  4. ความร่วมมือในการใช้ยา : รับประทานยาลดความดัน 3 ตัว ยาลดระดับน้าตาลในเลือด 1 ตัว และไม่ได้ รับประทานตามวิธีที่แพทย์สั่ง ได้แก่ - Amlodipine 5 mg 1x3 pc - Methyldopa 250 mg 1x3 pc - Metoprolol 100 mg 1x3 pc - Metformin 500 mg 1x3 pc *ผู้ป่วยไม่ฉีดยา insulin ที่แพทย์สั่งเนื่องจากไม่สะดวกและกลัวว่าจะต้องฉีดไปตลอดชีวิตและมีการนายาที่ ได้มาแบ่งไปให้เพื่อนบ้านที่เป็นเบาหวานฉีดแทน ALL: ปฏิเสธการแพ้ยา SH: ผู้ป่วยไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุหรี่ อ่านหนังสือไม่ค่อยออกจึงอ่านฉลากยาไม่ได้ รับประทานปลาเค็มกับข้าวเกือบทุกมื้ออาหาร PE: BP 212/111 mmHg PR 68 ครั้ง/นาที LAB: GFR 68.5 ml/min DTX หลังทานอาหาร 2 ชั่วโมง 330 mg/dl (ค่าปกติ <140 mg/dl)
  5. โรคร่วมของผู้ป่วยรายนี้ • Hypertension (ความดันโลหิตสูง) • Diabetes mellintus (เบาหวาน) • Dyslipidemia (ไขมันในเลือดสูง) • Renal impairment (ภาวะไตทางานผิดปกติ)
  6.  ผู้ป่วยที่มีโรคเบาหวานเป็นโรคร่วม จะเริ่มใช้ยาลดความดันโลหิตเมื่อความดัน SBP >140 mmHg โดยมีเป้ าหมายการรักษาคือ BP <140/85 mmHg ยาที่แนะนาคือยาในกลุ่ม ACEI หรือ ARB โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีภาวะโปรตีนรั่ว แต่ไม่ควรใช้ยาในกลุ่ม ACEI และ ARB ร่วมกัน
  7.  ผู้ป่วยที่มีภาวะ Metabolic syndrome แนะนาให้ผู้ป่วยออกกาลังกาย ซึ่งเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด เนื่องจากมีส่วนช่วยลดความดัน และชะลอการดาเนินไปของ โรคเบาหวาน ตามไกด์ไลน์แนะนาให้เริ่มใช้ยาลดความดันเมื่อ BP >140/90 mmHg เป้ าหมายในการรักษาคือ BP <140/90 mmHg โดยยาที่แนะนา ให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีภาวะ Metabolic syndrome ร่วมด้วยใช้ คือ ยาในกลุ่ม ACEI, ARB, CCB
  8.  ผู้ป่วยที่เป็นโรคไตร่วมด้วยแนะนาให้ใช้ยาในกลุ่ม ACEI, ARB แต่ห้ามใช้ยาสองกลุ่มนี้ ร่วมกัน และห้ามใช้ยาในกลุ่ม Aldosterone antagonist เนื่องจากยาจะไปเพิ่ม การทาลายการทางานของไต และทาให้เกิด Hyperkalemia เป้ าหมายในการรักษาคือ SBP <140 mmHg ถ้าหากผู้ป่วยมีโปรตีนรั่วด้วย SBP ไม่ควรเกิน 130 mmHg
  9. การดูแลตนเองของผู้ป่วยที่อยู่บ้านเพียงลาพัง • หาผู้ดูแลให้ผู้ป่วย เป็นคนที่จะมาจัดยาให้ผู้ป่วยรับประทาน • จัดยาเป็นชุดให้ผู้ป่วย เขียนฉลากให้ชัดเจน ทารูปสัญลักษณ์ในฉลาก เพื่อให้ผู้ป่วยสังเกตได้ง่าย • ให้เบอร์ติดต่อเพื่อให้ผู้ป่วยเรียกรถพยาบาลมารับที่บ้านหากมีเหตุฉุกเฉิน ได้แก่ เบอร์ 1669 • จัดทีมสหสาขาวิชาชีพลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วยทุกสัปดาห์ เพื่อติดตามอาการและดูแล ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
  10. การจัดยาให้อยู่ใน single unit container • จัดยาเป็นชุดตามมื้ออาหาร โดยตัดแผงยาแบ่งเป็น เม็ดแต่ไม่ต้องฉีกฟอยด์ออกจากเม็ดยา เพื่อรักษา คุณภาพยา • จัดยาใส่ซองสีชาหากมียามียาแยกเม็กที่ต้องกันแสง • ติดฉลากเป็นภาษาไทยตัวใหญ่ พร้อมกับรูป ประกอบให้ชัดเจน รูปใหญ่ๆ • จัดยาให้ผู้ป่วยไม่เกิน 7 วันแล้วนัดมารับยาใหม่ เพื่อป้องกันยาเสื่อมคุณภาพ และเพื่อติดตามอาการ ของผู้ป่วยด้วย * ด้านในซองใหญ่ มีซองยาเล็กๆจัดไว้เป็นชุด
  11. Reference • แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557.สืบค้นเมื่อ 18/06/59. site: http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/cpgcorner/แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย.pdf • จิราภรณ์ ชนมาสุข.วิธีดูแลผู้สูงอายุอยู่ลาพัง (Home care for elderly living alone). สืบค้นเมื่อ 18/06/59. site: http://haamor.com/th/ วิธีดูแลผู้สูงอายุอยู่ลาพัง/
Anúncio