SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 48
Baixar para ler offline
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                       112

                                            หนวยการเรียนรูที่ 4
                                 เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร
รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
    ศิลปะ ภาษาไทย
1. มาตรฐานการเรียนรูประจําหนวย
   มฐ. ค 6.1
2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
   ค 6.1 ม.3/1
3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 กิจกรรมฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร
   3.2 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรเกี่ยวกับตรีโกณมิติ
   3.3 กิจกรรมออกแบบ
4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
         1) ผลจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
         2) ผลจากการทําแบบฝกหัด
   4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
         1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการหองสมุดอยางเหมาะสม
         2) การมีสวนรวมในการปฏิบัตกิจกรรมกลุม
                                       ิ
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                            113

5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม
                                                          แนวทางการจัดการเรียนรู
        รองรอยการเรียนรู
                                                 บทบาทครู                     บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
    1) ผลจากการทํากิจกรรมตรวจ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง       - ฝกคิดตาม และรวมทํากิจกรรมใน
       สอบความเขาใจ                                               ชั้นเรียน
                              - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดในแต - ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
                                ละเรื่อง                           แตละเรื่อง
    2) ผลจากการทําแบบฝกหัด   - แนะนําการทําใบงาน                - ใหนักเรียนแบงกลุม/เดียว ชวยกัน
    3) ผลจากการทําแบบฝกหัด   - เปนผูชี้แนะเมื่อนักเรียนขอความ   ทําแบบฝกหัด
       ระคน                     ชวยเหลือ

5.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
    1) การปฏิบัตกิจกรรมในชั้น
                ิ                - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังความคิด - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด
       เรียน                       สรุปความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อ     ประจําหนวย
                                   หาประจําหนวย                    - ใหนกเรียนไปคนควาโจทยใน
                                                                            ั
    2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ - แนะนําใหนักเรียนใชบริการหอง      หองสมุดโรงเรียน
       กิจกรรมกลุม                สมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม
                                 - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการทํา   - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบ
                                   กิจกรรมกลุม                        หมายและชวยกันทํากิจกรรมใน
                                                                       ชั้นเรียน
5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง     - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง   - ทําแบบทดสอบหลังจบหนวย
    การเรียน                       ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก
                                   ครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                             114

                                        แผนการจัดการเรียนรูที่ 4/1
                            เรื่อง กิจกรรมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร
                                             เวลา 5 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
    1.1 ผลการเรียนรู
         1) ใชความรูคณิตศาสตร ความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแก
ปญหาได
        2) ใชความรูคณิตศาสตร ความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการให
เหตุผลได
        3) ใชความรูคณิตศาสตรความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการสื่อ
สารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตรได
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) สามารถแกโจทยปญหาแบบตางๆ ได
        2) ใชเหตุผล สื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร นําเสนอ เชื่อมโยงความรูทางคณิตศาสตรในการแก
ปญหาได
2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
        กิจกรรมฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร
   2.2 ทักษะ/ กระบวนการ
        การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดคํานวณ
3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        ผลจากการทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 1- 5
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) มอบหมายงาน
        2) จัดทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ
        3) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        4) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                               115

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
         1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
     3.4 ความรูความเขาใจ
         นําความรูคณิตศาสตร และอื่น ๆมาใชในการแกปญหารูปแบบตาง ๆ ได
4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
    เกณฑขั้นต่ํา
    4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
    4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
    4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
    การสรุปผลการประเมิน
    ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
     5.1 ขั้นนํา
         ปญหามีจํานวนอยางนอยเทาไร
         ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสถานการณในปจจุบันวามีการแขงขันกันสูงมากในทุกสาขาการเรียน การ
ประกอบอาชีพ หรือการแสดงผลงานการวิจัยตาง ๆ ทําใหการศึกษาและการฝกทักษะกระบวนการแกปญหาจึงมีความ
จําเปนตอการเรียนในโลกปจจุบันของเราอยางมาก ครูใหนักเรียนอภิปรายถึงขั้นตอนการแกปญหา โดยครูเปนผูถาม
นํา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                  116

   5.2 ขั้นสอน
                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
   ชั่วโมงที่ 1
   1. ครูนํานักเรียนเขาสูตัวอยางปญหาในกิจกรรมที่ 1 เรื่อง มีจํานวนอยางนอยเทาไร ทักษะการคิดวิเคราะห
        ครูใหนักเรียนพิจารณาปญหาตอไปนี้                                              ทักษะการคิดคํานวณ
        สมศักดิ์มีไอศกรีมจํานวนหนึ่งที่จะนําไปแจกใหเด็กนักเรียน ถาแจกใหเด็กนักเรียน
   โรงเรียนที่ 1 คนละ 5 แทง จะเหลือไอศกรีม 1 แทง ถาแจกใหนักเรียนโรงเรียนที่ 2
   คนละ 6 แทง จะเหลือไอศกรีม 3 แทง และถาแจกใหเด็กนักเรียนโรงเรียนที่ 3 คนละ
   8 แทง จะเหลือไอศกรีม 5 แทง จงตรวจสอบวาสมศักดิ์มไอศกรีมอยางนอยกี่แทง
                                                             ี
        จากปญหาขางตนครูใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ โดยครูถามนําแลวใหนักเรียน
   ชวยกันตอบ
       1) จากเงื่อนไขที่กําหนดให นักเรียนคิดวาสมศักดิ์จะมีไอศกรีมอยางนอยกี่แทง
            เพราะเหตุใด
       2) ในการแกปญหานี้นักเรียนจะตองใชความรูเรื่องใดบาง
       3) นักเรียนมีแนวความคิดที่จะนําเสนอวิธีแกปญหานี้ไดอยางไร จงอธิบาย
       4) ใหนกเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้และตอบคําถาม โดยครูถามนําและชวยเขียน
                 ั
   คําตอบบนกระดาน
               (1)ใหจํานวนไอศกรีมที่นอยที่สุดเปน 13 แทง จากนั้นเพิ่มขึ้นทีละ 1 แทง
   แลวหารแตละจํานวนดวย 5, 6 และ 8 ตามลําดับ บันทึกคําตอบที่ไดลงในตาราง จนได
   คําตอบของปญหาที่ถูกตอง
        จํานวนไอศกรีม                  เศษที่ไดจากการหารจํานวนไอศกรีม
              (แทง)           ตัวหารเปน 5        ตัวหารเปน 6       ตัวหารเปน 8
                13                   3                  1                   5
                14                   4                  2                   6
                15                   0                  3                   7
                16                   1                  4                   0
                17                   2                  5                   1
                18                   3                  0                   2
             M                   M                  M                  M
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                           117

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                          ฝกการคิดแบบ
        (2) สมศักดิ์มีไอศกรีมอยางนอยกี่แทง
        (3) มีวิธีการตรวจสอบคําตอบที่ถูกตองอยางไร จงอธิบาย
   2. ครูเฉลยคําตอบตามคําถามขางตน แลวถามนักเรียนตอไปวานอกจากวิธีการแก                ทักษะการคิดวิเคราะห
   ปญ หาโดยวิธีก ารดั งกล าวแลว นั ก เรียนสามารถใชแนวคิด แบบอื่น ไดอีก หรือไม        ทักษะการคิดคํานวณ
   อยางไร โดยใหนักเรียนชวยกันอภิปราย และครูสรุปแนวความคิด
   3. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดย               ทักษะการคิดวิเคราะห
   ใหเวลา 15 นาที และครูคอยแนะนําเมื่อนักเรียนไมเขาใจ แลวใหนักเรียนชวยกัน            ทักษะการคิดคํานวณ
   ออกมาเฉลยคําตอบหนาชั้นเรียน
   ชั่วโมงที่ 2 กิจกรรมที่ 2 มีจํานวนนับกี่จํานวนตามเงื่อนไขที่กําหนด
   1. ครูตั้งโจทยปญหาเกี่ยวกับการหาวามีจํานวนอยางนอยเทาใด ใหนักเรียนชวยกัน
   ตอบเปนการทบทวนการแกปญหาในชั่วโมงที่ผานมา
   2. ครูใหนักเรียนพิจารณากิจกรรมที่ 2 มีจํานวนนับกี่จํานวนตามเงื่อนไขที่กําหนด
   ดังนี้
        สมศรีและสมรกํ าลั งศึก ษาจํานวนนั บ อยู จึงสงสั ยวาจํานวนนั บ ที่ อ ยูระหวาง
   3,000 กับ 4,000 มีกี่จํานวน อะไรบาง โดยมีเงื่อนไขวาเลขโดดในหลักพันนอยกวา
   เลขโดดในหลักรอย เลขโดดในหลักรอยนอยกวาเลขโดดในหลักสิบ และเลขโดด
   ในหลักสิบนอยกวาเลขโดดในหลักหนวย เชน 3,457 จะไดวา 3<4 , 4< 5 และ
   5<7
        จากปญหาขางตน ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม โดยจดคําตอบลงในสมุด
   ดังตอไปนี้
               (1) เลขโดดที่สามารถเปนเลขโดดในหลักพันมีกี่ตว อะไรบาง จงอธิบาย
                                                              ั
               (2) เลขโดดที่สามารถเปนเลขโดดในหลักรอยมีกี่ตัว อะไรบาง จงอธิบาย
               (3) จงเขียนแผนภาพตนไมแสดงจํานวนนับที่เปนไปไดทั้งหมด
   3. ครูสุมนักเรียนออกมาเฉลยคําตอบ แลวใหเพื่อนๆ ชวยกันตรวจสอบความถูกตอง
   แลวครูสรุปดังนี้
             จากการตอบคําถามขางตน จะเห็นไดวาเลขโดดที่สามารถเปนเลขโดดใน
   หลักพันมี 1 ตัว คือ 3 เพราะเราตองการหาจํานวนนับที่อยูระหวาง 3,000 กับ 4,000
   ดังนั้นจะไดเลขโดดที่สามารถเปนเลขโดดในหลักรอยมีเพียง 4 ตัว คือ 4, 5, 6 และ 7
   เพราะเลขโดดเหลานี้มีคามากกวา 3 และสามารถหาเลขโดดมาประกอบเปนจํานวน
   นับที่อยูระหวาง 3,000 กับ 4,000 ได ดังแผนภาพตนไมตอไปนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                             118

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ

      หลักพัน          หลักรอย           หลักสิบ         หลักหนวย
                                                              6
                                                              7
                                             5
                                                              8
                                                              9
                                                              7
                                             6                8
                            4                                 9
                                                              8
                                             7
                                                              9
                                             8                9
                                                              7
                                             6                8
       3
                                                              9
                                                              8
                            5                7
                                                              9
                                             8                9

                                                              8
                                             7
                                                              9
                            6
                                             8                9


                             7               8                9

   4. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดย ทักษะการคิดวิเคราะห
   ใหเวลา 15 นาที และครูคอยแนะนําเมื่อนักเรียนไมเขาใจ แลวใหนักเรียนชวยกัน ทักษะการคิดคํานวณ
   ออกมาเฉลยคําตอบหนาชั้นเรียน
   ชั่วโมงที่ 3 การแกปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคา 1 ตัว
   1. ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่องของการแกปญหาตางๆ โดยการใชกระบวนการทาง
   คณิตศาสตรเขามาชวย ใหนักเรียนอภิปรายถึงขั้นตอนการแกปญหา โดยครูเปนผูถาม
   นํา แลวจึงรวมกันสรุปขั้นตอนการแกปญหา ดังนี้ การแกปญหาประกอบดวยสี่ขั้นที่
   สําคัญดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                          119

                                   กิจกรรมการเรียนการสอน                                       ฝกการคิดแบบ
              (1) แทนตัวไมทราบคาดวยตัวอักษร
            (2) เปลี่ยนความสัมพันธเกี่ยวกับตัวไมทราบคาเปนสมการ
            (3) หาคําตอบของสมการคือหาคาของตัวไมทราบคา
            (4) ตรวจสอบคาที่หาไดวาสอดคลองกับปญหาเดิมหรือไม
   2. ครูนํานักเรียนเขาสูตัวอยางของปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคา 1 ตัว ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห
   ตัวอยาง สองเท าของจํานวนจํานวนหนึ่ งบวกด วยสิ บ 10 เท ากับ 32 จงหาจํานวน ทักษะการคิดคํานวณ
   จํานวนนั้น
            ครูใหนักเรียนพิจารณาโจทย แลวชวยกันเสนอแนะวิธีการหาคําตอบ โดยครู
   อาจใชคําถามถามนําก็ได ซึ่งจะไดวา
            วิธีทํา (1) ให x แทนจํานวน
                     (2) เขียนสมการ สองเทาของจํานวนจํานวนหนึ่ง บวกดวย 10
   เทากับ 32 จะได 2x +10 = 32
                     (3) แกสมการ                       2x+10 = 32
                                                           2x = 32-10
                                                          2x = 22
                                                           x = 22   2
                                                          x = 11
                     (4) ตรวจสอบ x = 11 สอดคลองกับขอความหรือไม
                        “สองเทาของจํานวนจํานวนหนึ่งบวกดวย 10 เทากับ 32”
                                               2(11)+10        =     32
                                                      32       =     32 เปนจริง
   3. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางโจทยบนกระดานแลวชวยกันหาคําตอบ หรือครู           ทักษะการคิดวิเคราะห
   ใหนักเรียนแตละคนเขียนโจทยบนกระดาน แลวใสลงในกลอง สงตัวแทนออกมาจับ              ทักษะการคิดคํานวณ
   ฉลากโจทย แลวชวยกันแสดงวิธีทํา โดยครูอาจเพิ่มเติมโจทยเล็กนอยใหสมบูรณ
   แลวตรวจสอบความถูกตอง
   4. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 โดยครูใหเวลา 30 นาที หลังจาก
   นั้นครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบบนกระดาน
   ชั่วโมงที่ 4 การแกปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคา 2 ตัว
   1. ครูตั้งโจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคา 1 ตัว บนกระดาน แลวสุมให     ทักษะการคิดวิเคราะห
   นักเรียนออกมาหาคําตอบ โดยใหเพื่อนคนอื่นเปนผูชวยตรวจสอบความถูกตองเพื่อ           ทักษะการคิดคํานวณ
   เปนการทบทวน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                        120

                                  กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
   2. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการหาคําตอบของปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไม           ทักษะการคิดวิเคราะห
   ทราบคา2 ตัว วานักเรียนจะมีวิธีในการหาคําตอบไดอยางไร ใหนกเรียนรวมกัน
                                                                  ั                     ทักษะการคิดคํานวณ
   อภิปราย หรือครูอาจยกตัวอยางโจทยเพื่อใหนักเรียนมองเห็นภาพชัดเจนก็ได แลวจึง
   รวมกันสรุปวิธีการหาคําตอบ ซึ่งจะไดดังนี้
            ปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคา 2 ตัว มีความสัมพันธสองความ
   สัมพันธที่เกี่ยวของกับตัวไมทราบคา ซึ่งจะสามารถแกไดอยางใดอยางหนึ่งใน 2 วิธี
   ดังนี้
            วิธีที่ 1 ใชตัวอักษรตัวเดียว และเขียนสมการหนึ่งสมการ
           ความสัมพันธอันหนึ่งจะถูกใชแทนตัวไมทราบคา 2 ตัว ในพจนของตัวอักษร
   ตัวเดียว อีกความสัมพันธหนึ่งจะไดจากสมการสมการเดียว
            วิธีที่ 2 ใชตัวอักษร 2 ตัว และเขียนสมการสองสมการ
          โดยแทนตัวไมทราบคา 2 ตัว ดวยตัวอักษรที่ตางกัน เมื่อหาคาตัวไมทราบคา
   ไดแลวตองตรวจสอบโดยแทนในปญหาดังเดิม
   3. จากนั้นครูนาเสนอตัวอยางปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคาสองตัว แลวให
                     ํ                                                                  ทักษะการคิดวิเคราะห
   นักเรียนพิจารณาชวยกันหาคําตอบจากวิธีทั้ง 2 วิธีที่ไดรวมกันสรุปเอาไว ดังนี้       ทักษะการคิดคํานวณ
   ตัวอยาง จํานวนจํานวนหนึ่งเปนสามเทาของอีกจํานวนหนึ่ง จํานวนที่มากกวามาก
   กวาจํานวนที่นอยกวาอยู 12 จงหาจํานวนสองจํานวนนั้น
   วิธทํา วิธีท่ี 1
      ี
            (1) แทนตัวไมทราบคา
            ให x แทนจํานวนที่นอยกวา
            ดังนั้น 3x แทนจํานวนที่มากกวา (จํานวนที่มากกวาเปนสามเทาของจํานวนที่
   นอยกวา)
            (2) เขียนสมการแสดง “จํานวนที่มากกวามากกวาจํานวนที่นอยกวาอยู 12”
   จะได 3x - x = 12
             (3) แกสมการ 3x - x =             12
                               2x      =       12
                                            12
                           x        =
                                             2
                             x       =       6
           ดังนั้น จํานวนที่นอยกวาคือ 6 และจํานวนที่มากกวาคือ 3(6) = 18
           (4) ตรวจสอบ 18 - 6 =              12
                             12      =       12 เปนจริง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                           121

                                        กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
             ครูใหนักเรียนชวยกันทําวิธีที่ 2 บนกระดาน โดยครูใชคาถามกระตุนชวย ซึ่ง
                                                                   ํ
   จะไดดังนี้
             วิธีที่ 2
             (1) แทนตัวไมทราบคา
             ให x แทนจํานวนที่มากกวา
                   y แทนจํานวนที่นอยกวา
             (2) เขียนสมการ
             จํานวนหนึ่งเปนสามเทาของอีกจํานวนหนึ่ง
                          x           =      3y
             จํานวนที่มากกวามากกวาจํานวนนอยกวาอยู 12
                          x-y =              12
             (3) แกระบบสมการ
                          x           =      3y    ..........(1)
                          x-y =              12    ..........(2)
             แทน x ดวย 3y ใน (2) จะได
                          3y- y =            12
                          2y          =      12
                          y           =      6
             แทน y ดวย 6 ใน (1) จะได
                          x           =      3(6)
                          x           =      18
             ดังนั้น จํานวนสองจํานวนคือ 6 และ 18
             (4) ตรวจสอบคําตอบ (ใหนักเรียนชวยกันตรวจสอบเอง)
   4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ 4 โดยครู ค อยให คํ า แนะนํ า ทักษะการคิดวิเคราะห
   นักเรียนอยางใกลชิด ในกรณีนักเรียนทําไมได ถานักเรียนทําไมเสร็จในชั่วโมง ให ทักษะการคิดคํานวณ
   นักเรียนกลับไปทําเปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                         122

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
   ชั่วโมงที่ 5 การแกปญหาเกี่ยวกับจํานวนเต็มที่เรียงกัน
   1. ครูใหนักเรียนสังเกตและรวมกันพิจารณาตารางตอไปนี้บนกระดาน                         ทักษะการคิดวิเคราะห
                                 จํานวนเต็ม          จํานวนเต็มคู      จํานวนเต็มคี่    ทักษะการคิดคํานวณ
                                    เรียงกัน            เรียงกัน           เรียงกัน
            ตัวอยาง                 3, 4, 5           4, 6, 8, 10         3, 5, 7, 9
                                   -6, -5, -4         -6, -4, -2, 0     -7, -5,- 3, -1
    ชนิดของจํานวนเต็ม             จํานวนเต็ม         จํานวนเต็มคู      จํานวนเต็มคี่
    ผลตางจํานวนที่ติดกัน               1                   2                  2
    การแทน จํานวนแรก                    n                   n                  n
              จํานวนที่สอง            n+1                 n+2                 n+2
              จํานวนที่สาม            n+2                 n+4                 n+4
        จากนั้น ครูกลาวถึงป ญ หาเกี่ยวกับจํานวนที่ เรียงกัน เชน จํานวนเต็มคูเรียงกัน
   จํานวนเต็มคี่เรียงกัน หรือจํานวนเต็มเรียงกัน โดยจะเรียงจํานวนจากนอยไปหามาก
   ดังนั้น จากตารางที่นักเรียนพิจารณา จะไดวา
        จากตาราง n จะแทนจํานวนแรกของจํานวนที่เรียงกัน ซึ่งเราอาจจะแทน n ดวย
   จํานวนอื่นๆ ในจุดก็ได แลวครูนําเสนอตัวอยางใหนักเรียนชวยกันพิจารณาและหา
   คําตอบ หรือใหเสนอแนะการหาคําตอบ โดยครูเปนผูซักถาม ดังนี้
   ตัวอยาง ผลบวกของจํ านวนเต็ ม สามจํ านวนเรีย งกั น เท ากั บ 24 จงหาจํานวนสาม
   จํานวนนั้น
   วิธีทํา ใหจํานวนเต็มสามจํานวนเรียงกันคือ x, x+1 และ x+2
            เขียนสมการ ผลบวกจํานวนเต็มสามจํานวนเรียงกัน เทากับ 24
                                        x + (x+1) + (x+2)         =     24
                             แกสมการ              3x+3           =     24
                                                        3x        =     24-3
                                                        3x        =     21
                                                        x         =      21
                                                                          3
                                               x      =       7
   2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 โดยใหเวลา 20 นาที หลังจาก ทักษะการคิดวิเคราะห
   นั้นใหนกเรียนชวยกันออกมาเฉลยบนกระดาน ซึ่งครูคอยตรวจสอบความถูกตอง
           ั                                                                 ทักษะการคิดคํานวณ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                             123

    5.3 ขั้นสรุป
        ครูใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดในการแกปญหาของแตละเรื่องเปนแผนผังคิด (Mind Mapping) (ครูคอย
แนะนําและถามนําเพื่อใหนักเรียนสรุปจดลงในสมุด)
6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-5
   6.2 แหลงการเรียนรู
       1) หองสมุดโรงเรียน
       2) หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
7. กิจกรรมเสนอแนะ
   7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห
        ขั้นรวบรวมขอมูล
        ครูมอบหมายใหนักเรียนแบงกลุมไปคนควาปญหาอื่นๆ ที่สามารถใชความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรในการแก
ปญหา
        ขั้นวิเคราะห
        ใหนักเรียนในแตละกลุมชวยกันวิเคราะหปญหาและแสดงวิธแกปญหาี
        ขั้นสรุป
        ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนกันอาน
        ขั้นประยุกตใช
        ครูคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุด 5 อันดับ ติดบอรดเพื่อใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียน
   7.2 กิจกรรมการบูรณาการ
             -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                                  124

8. บันทึกหลังสอน
                                              บันทึกหลังสอน
                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน)
            ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน                            จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                      ลงชื่อ…………………………………..
                                                                      ตําแหนง.................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                     125

9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1        ( ดูในหนังสือเรียนแม็ค     คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 93 )
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2        ( ดูในหนังสือเรียนแม็ค     คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 95 )
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3        ( ดูในหนังสือเรียนแม็ค     คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 96 )
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4        ( ดูในหนังสือเรียนแม็ค     คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 98 )
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5       ( ดูในหนังสือเรียนแม็ค      คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 100)
    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

                      แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
     ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป………..
     ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต…………………………………………………………….

                                                                              ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                ดีมาก      ดี       พอใช ควรปรับปรุง
          ความสนใจ
          การตอบคําถาม
          การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
          การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
          ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ
          ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
          คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย

   แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
                  วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่……………

                                                                           ระดับการประเมิน
                       หัวขอการประเมิน
                                                          ดีมาก         ดี   ปานกลาง นอย         นอยมาก
          การวางแผนการทํางาน
          การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
          การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
          ความคิดสรางสรรค
          ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                              126

                                         แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
                            เรื่อง กิจกรรมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร
                                             เวลา 5 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
    1.1 ผลการเรียนรู
         1) ใชความรูคณิตศาสตร ความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแก
ปญหาได
         2) ใชความรูคณิตศาสตร ความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการให
เหตุผลได
         3) ใชความรูคณิตศาสตร ความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการสื่อ
สารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตรได
     1.2 จุดประสงคการเรียนรู
         1) สามารถแกโจทยปญหาแบบตาง ๆ ได
          2) ใชเหตุผล สื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร นําเสนอ เชื่อมโยงความรูทางคณิตศาสตรในการแก
    ปญหาได
 2. สาระสําคัญ
      2.1 สาระการเรียนรู
           กิจกรรมฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร
      2.2 ทักษะ/ กระบวนการ
           การวิเคราะห และการคํานวณ
      2.3 ทักษะการคิด
            ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคํานวณ
3. รองรอยการเรียนรู
    3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
         ผลจากการทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 6-10
     3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) มอบหมายงาน
        2) จัดทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ
        3) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        4) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                            127

   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
         1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
        นําความรูคณิตศาสตร และอื่น ๆมาใชในการแกปญหารูปแบบตาง ๆ ได
4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
     เกณฑขั้นต่ํา
     4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
     4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
     4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
     การสรุปผลการประเมิน
     ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
         การหาความยาวรอบรูป
         ครูวาดรูปสี่เหลี่ยมตอไปนี้ แลวซักถามนักเรียนวา ความยาวรอบรูปเปนเทาไร
                    R            b
                                                     S
                a
                                                     c
              Q
                            d
                                                     P
        ให a , b , c และ d แทนความยาวของ QR , RS, SP และ PQ ตามลําดับ ถาให p แทนความยาวรอบรูป
         จะไดวา                  p = a+b+c+d
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                            128

    5.2 ขั้นสอน
                                   กิจกรรมการเรียนการสอน                            ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1                                                                   ทักษะการคิดวิเคราะห
 1. ครูวาดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากบนกระดาน แลวใหนักเรียนชวยกันตอบวา ความยาวรอบ
 รูปมีคาเปนเทาไร
                       A             b              B


                   a



                       D                             c
            จากรูป ให a แทนความยาวของ AD
                  และ b แทนความยาวของ AB
           จะไดวา p = a + b + a + b = 2a + 2b
 2. ครูนําเสนอตัวอยางการหาความยาวรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมและรูปอื่นๆ ใหนักเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห
 ดูบนกระดาน แลวใหชวยกันเสนอแนะวิธการหาคําตอบ ดังนี้
                                          ี                                     ทักษะการคิดคํานวณ
 ตัวอยางที่ 1 รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทา
                                                             b

         a                     a                b                     b


                       a                                     b

                 p = 3a                                  p = 4b

                                                         d
             c             c
                                                d                 d

         c                     c               d                  d

                   c                                     d

                  p = 5c                                 p = 6d
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                 129

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                    ฝกการคิดแบบ
 ตั ว อย า งที่ 2 ABC มี AC = 30 หน ว ย ถ า ความยาวรอบรู ป เป น 75 หน ว ย และ
 BC = 2AB จงหา AB และ BC
                                  B




                A                                                C
                                       30

 วิธีทา ให AB = x หนวย และความยาวรอบรูปเปน 75 หนวย
       ํ
           เนื่องจาก BC = 2AB ดังนั้น BC = 2x หนวย จะไดสมการ
                                x + 2x + 30 =         75
                                       3x     =       45
                                        x     =       15
           ดังนั้น AB = 15 หนวย และ BC = 2(15) = 30 หนวย
 3. ครูใหนกเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ชวยกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6
             ั                                                                       ทักษะการคิดวิเคราะห
 โดยใหเวลา 20 นาที ครูคอยแนะนํา และใหนักเรียนกลุมที่ทําเสร็จกอนชวยกันออกมา      ทักษะการคิดคํานวณ
 เฉลยคําตอบ โดยครูตรวจสอบความถูกตอง
 ชั่วโมงที่ 2 การหาพื้นที่
 1. ครูยกตัวอยางรูปหลายเหลี่ยมใหนกเรียนชวยกันหาความยาวรอบรูป เปนการทบทวน
                                          ั
 1-2 รูป
 2. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการหาพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมตาง ๆ โดยให           ทักษะการคิดวิเคราะห
 นักเรียนชวยกันตอบวา รูจักสูตรการหาพื้นที่รปอะไรบาง ครูเขียนสูตรที่นักเรียนตอบ
                                                ู                                    ทักษะการคิดคํานวณ
 บนกระดาน เชน
    สูตรการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ดาน × ดาน
    สูตรการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง × ยาว
                                            1
  สูตรการหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก =       ×   ฐาน × สูง
                                            2
 3. ครูยกตัวอยางใหนกเรียนพิจารณากิจกรรม ดังนี้
                     ั
         กําหนดใหมีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 2×2 ตารางเซนติเมตร จํานวน 4 รูป รูป ทักษะการคิดวิเคราะห
 สามเหลี่ยมมุมฉากที่มีดานประกอบมุมฉากยาวดานละ 2 เซนติเมตร จํานวน 4 รูป และ ทักษะการคิดคํานวณ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                    130

                                  กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
 รูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 2×4 ตารางเซนติเมตร จํานวน 3 รูป ถานํารูปทั้งหมดมาตอกัน
 จะมีพื้นที่เทากับนําพื้นที่ของแตละรูปมารวมกันหรือไม




 จากปญหาขางตน ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้
       1) จากรูปที่กําหนดใหจงหาพื้นที่ของแตละรูปตอไปนี้
              (1) พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
              (2) พื้นที่รุปสามเหลี่ยมมุมฉาก
              (3) พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา
       2) ถานํารูปสามเหลี่ยมมุมฉากสี่รูปมาตอกันเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากจะมีพ้นที่เทาด
                                                                              ื
       3) ถานํารูปทั้งหมดมาตอกันจะมีพื้นที่เทาใด
 4. จากการตอบคําถามขางตน จะหาคําตอบดังนี้                                             ทักษะการคิดวิเคราะห
     1) พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ดาน × ดาน                                    ทักษะการคิดคํานวณ
                                          = 2×2
                                          = 4 ตารางเซนติเมตร
          พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 1 × ฐาน × สูง
                                              2
                                      =   1
                                          2
                                              ×2×2
                                      = 2 ตารางเซนติเมตร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                               131

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                 ฝกการคิดแบบ
          พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง × ยาว
                                        = 2×4
                                        = 8 ตารางเซนติเมตร
   2) ถานํารูปสามเหลี่ยมมุมฉากสี่รูปมาตอกันเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

                  2 ซม.


                              2 ซม.            2 ซม.
            จะมีพื้นที่ = กวาง x ยาว
                       = 2 × (2 + 2)
                       = 8 ตารางเซนติเมตร
   3) ถานํารูปทั้งหมดมาตอกันจะไดรูปดังนี้




   หรือ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                       132

                                     กิจกรรมการเรียนการสอน                                    ฝกการคิดแบบ
            จากรูป มีพื้นที่ = กวาง × ยาว
                                = 6×8
                                = 48 ตารางเซนติเมตร
          ครูใหนักเรียนนําพื้นที่ของแตละรูปมารวมกันเพื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่จากการ
 นํารูปมาตอกัน ไดดังนี้
          รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจํานวน 4 รูป มีพื้นที่เทากับ 4 × 4 = 16 ตารางเซนติเมตร
          รูปสามเหลี่ยมมุมฉากจํานวน 4 รูป มีพ้นที่เทากับ 4 × 2 = 8 ตารางเซนติเมตร
                                                     ื
          รูปสี่เหลี่ยมผืนผาจํานวน 3 รูป มีพื้นที่เทากับ 3 × 8 = 24 ตารางเซนติเมตร
            ดังนั้น มีพื้นที่ทั้งหมดเทากับ 16 + 8 + 24 = 48 ตารางเซนติเมตร
 5. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปวา ถานํารูปทั้งหมดมาตอกันจะมีพื้นที่เทากับนําพื้นที่ของ   ทักษะการคิดวิเคราะห
 แตละรูปมารวมกัน                                                                          ทักษะการคิดคํานวณ
 6. ครูใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 โดยใหเวลา 20 นาที หลังจากนั้น
             ั                                                                             ทักษะการคิดวิเคราะห
 ใหนกเรียนชวยกันออกมาเฉลยบนกระดาน ซึ่งครูคอยตรวจสอบความถูกตอง
        ั                                                                                  ทักษะการคิดคํานวณ
 ชั่วโมงที่ 3 นับไดกี่รูป
 1. ครูและนักเรียนสนทนาเรื่องการหาพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมเพื่อทบทวนความรูใน              ทักษะการคิดวิเคราะห
 ชั่วโมงที่ผานมา โดยสุมนักเรียนออกมาวาดรูป และใหเพื่อนในชั้นชวยกันหาพื้นที่ของ         ทักษะการคิดคํานวณ
 รูปนั้น
 2. ครูยกตัวอยางปญหาในกิจกรรมที่ 8 เพื่อนํานักเรียนไปสูการหาวานับไดกี่รูป ดังนี้      ทักษะการคิดวิเคราะห
     กําหนดใหรปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 1×5 มาจากการวางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1× 1
                   ู                                                                       ทักษะการคิดคํานวณ
 เรียงตอกันในแนวตรง 5 รูป นักเรียนคิดวาจะมีรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาดตาง ๆ ที่ซอนกัน
 อยูในรูปที่กาหนดใหทั้งหมดกี่รูป
               ํ

       ครูใหนกเรียนชวยกันหาคําตอบ โดยแนะนําใหนักเรียนเติมคําตอบลงในตารางตอไป
              ั
 นี้
                           ขนาด                 จํานวนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
                           1×1                               5
                           1×2
                           1×3
                           1×4
                           1×5
                            รวม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                     133

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                         ฝกการคิดแบบ
    จากคําถามขางตน ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบ ดังนี้
                          ขนาด               จํานวนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
                          1×1                             5
                          1×2                             4
                          1×3                             3
                          1×4                             2
                          1×5                             1
                           รวม                          15

 3. ครูใหนักเรียนชวยกันตั้งโจทยรูปภาพ แลวใหเพื่อนๆ ในชั้นเรียนชวยกันหาคําตอบ
 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 โดยใหแขงกันใครตอบไดกอนจะมี           ทักษะการคิดวิเคราะห
 รางวัลให ทั้งนี้ครูคอยตรวจสอบคําตอบที่ถูกตอง                                          ทักษะการคิดคํานวณ
 ชั่วโมงที่ 4 นับไดกี่ตัว
 1. ครูนํานักเรียนเขาสูปญหา โดยเลาเปนเรื่องราว ดังนี้
                                                                                        ทักษะการคิดวิเคราะห
          นองโบและนองออนไปเที่ยวสวนสัตวแหงหนึ่งในสวนสัตวแหงนี้จะเลื้ยงนกยูง       ทักษะการคิดคํานวณ
 และกวางอยูในรั้วเดียวกัน นองโบและนองออนอยากทราบวามีนกยูงและกวางอยูในรั้ว
 นั้นอยางละกี่ตัว จึงไดพยายามชวยกันนับจํานวนสัตวทั้งสองชนิด แตสัตวทั้งสองชนิดไม
 อยูนิ่งเลยเดินไปมาจึงนับไมถูกสักที นองโบและนองออนจึงชวนกันไปสอบถามเจาหนา
 ที่สวนสัตวที่ดูแลอยู
    นองโบ : ในรั้วนี้มีนกยูงและกวางอยางละกี่ตัวคะ
    เจาหนาที่ : ถาหนูตองการทราบคําตอบตองหาเอาเองนะ ในรั้วนี้มีกวางอยูรอยละ 70
                  ของจํานวนสัตวทั้งหมด และถานับขาของนกยูงและกวางรวมกันจะได 136
                  ขาครับ
    นองออน : ไมยากเลย เดี๋ยวพวกหนูจะชวยกันหาคําตอบเองคะ
    เจาหนาที่ : ถาหนูไดคําตอบแลวขอดูวิธีคิดของหนูดวยนะครับ
       ครูใหนักเรียนชวยกันคิดหาคําตอบ โดยใหเวลา 15 นาที
 2. ครูใหนักเรียนที่ทําเสร็จกอนชวยกันออกมาเฉลยโดยครูเปนผูแนะนํา ดังนี้              ทักษะการคิดวิเคราะห
       วิธีการคิดของนองโบโดยใชรูปภาพ                                                   ทักษะการคิดคํานวณ
        เนื่องจากโจทยกําหนดจํานวนกวางอยูในรูปของรอยละโดยที่จํานวนกวางมีอยูรอย
 ละ 70 ของจํานวนสัตวทั้งหมดที่อยูในรั้วนี้ หมายความวา มีจํานวนกวาง 70 ตัว จาก
 สัตวทั้งหมด 100 ตัว จะไดจํานวนกวางเทากับ 70 ตัว และจํานวนนกยูงเทากับ 30 ตัว
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                             134

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
  เมื่อนํามาเขียนในรูปของอัตราสวนจํานวนกวางตอจํานวนนกยูงจะไดเทากับ 7 : 3

                 ใชรูป              แทนกวาง 1 ตัว และ

                   รูป               แทนนกยูง 1 ตัว

            เริ่มตนนองโบเขียนรูป โดยใชอัตราสวนจํานวนกวางตอจํานวนนกยูงเทากับ
 7 : 3 ดังนั้นเขียนรูปกวางจํานวน 7 ตัว และรูปนกยูงจํานวน 3 ตัว แลวนับขาทั้งหมด
 แตถานับขาทั้งหมดแลวไมได 136 ขา จึงทําการเพิ่มจํานวนของอัตราสวนจํานวนกวาง
 ตอจํานวนนกยูงจาก 7: 3 เปน 14 : 6 โดยจะเพิ่มจํานวนเปน 2 เทาของอัตราสวน และ
 ถานับขาทั้งหมดแลวไมได 136 ขา นองโบจึงทําการเพิ่มเปนจํานวนเต็มบวกเทาของ
 อัตราสวนจํานวนกวางตอจํานวนนกยูง ซึ่งมีคาเปน 7 : 3 ไปเรื่อย ๆ จนกวาจะนับขาของ
 สัตวทั้งหมดที่อยูในรั้วนั้นได 136 ขา ซึ่งแสดงไดดังนี้

      อัตราสวน                                            จํานวนขา
   จํานวนกวางตอ          รูปกวางและรูปนกยูง              ของสัตวทั้ง   ผลสรุป
    จํานวนนกยูง                                               หมด


        7: 3                                                  34



        14 : 6

        21 : 9
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                    135

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
  วิธีคิดของนองออนโดยใชตารางดังนี้
       นองออนมีวิธีคิดโดยจะใชวิธีวิเคราะหประกอบการเดาคําตอบและตรวจสอบการตั้ง
 คําถามกับตัวเองกอน เพื่อใหการเดามีประสิทธิภาพที่จะทําใหไดคําตอบเร็วขึ้น นองออน
 จึงตั้งคําถามกับตัวเองวา “ เปนไปไดหรือไมที่จะมีจํานวนกวาง 30 ตัว และตองมีอัตรา
 สวนจํานวนกวางตอจํานวนนกยูงเทากับ 7 : 3” หลังจากตอบคําถามตัวเองไดแลวนอง
 ออนจึงเริ่มตนเดาครั้งแรกโดยการคิดคํานวณจํานวนกวางเปน 35 ตัว และจํานวนนกยูง
 เปน 3 ×735 = 15 ตัว ซึ่งจะนําคาอัตราสวนของจํานวนกวางตอจํานวนนกยูงมาชวยใน
 การคิดหาจํานวนนกยูง จะไดคําตอบของจํานวนสัตวทั้งสองชนิดโดยใชตารางดังนี้

        เดา       กวาง       นกยูง     ขากวาง ขานกยูง       รวมขา       ผลสรุป
       ครั้งที่   (ตัว)      (ยูง)                          ทั้งหมด
         1         35       3 × 35     35 × 4 = 1 15 × 2 = 3 170
                                   =
                               7


          2        28       3 × 28   28 × 4 = 1 12 × 2 = 2     136
                                   =
                               7




 3. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 เปนการ          ทักษะการคิดวิเคราะห
 บาน                                                                                   ทักษะการคิดคํานวณ
 ชั่วโมงที่ 5 การหาคาประมาณจากการถอดราก
 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับจํานวนจริง จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ แลวถาม           ทักษะการคิดวิเคราะห
 นักเรียนวานักเรียนคิดวามีจํานวนตรรกยะใดที่ยกกําลังสองแลวได 2 หรือไม เนื่องจาก     ทักษะการคิดคํานวณ
 ( 2 )2 = 2 ดังนั้น 2 ไมเปนจํานวนตรรกยะ แตจะเรียก 2 วาจํานวนอตรรกยะ และ
 นักคณิตศาสตรไดศึกษาพบวา ไมมีจํานวนตรรกยะใดที่ยกกําลังสองได 3 แต ( 3 )2 = 3
 ดังนั้น 3 ไมเปนจํานวนตรรกยะ เรียก 3 วาจํานวนอตรรกยะ เชนเดียวกับ 5 ,
    7 , 10 หรือจํานวนอตรรกยะอื่น ๆ

 2. ครูถามนักเรียนวาใครสามารถหาคาประมาณของ 2 ไดบาง มีวิธีการอยางไร หลัง            ทักษะการคิดวิเคราะห
 จากนั้นครูและนักเรียนชวยกันแสดงวิธีการหาคําตอบขางตนดังนี้                           ทักษะการคิดคํานวณ
         เราอาจหาคําตอบขางตนโดยวิธีการประมาณคาของ 2
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                136

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
   1) เพราะวา 12 < 2 < 2 2
      ดังนั้น      1< 2 < 2

      หาคาเฉลี่ยของ 1 และ 2
      จะได 1 + 2 = 1.5
                  2
       นํา       2
                1.5
                    ≈ 1.333

   2) เนื่องจาก (1.333) 2 < 2 < (1.5)2
      จะได       1.333 < 2 < 1.5

      หาคาเฉลี่ยของ 1.333 และ 1.5
                   1.333 + 1.5
      จะได            2
                               ≈ 1.417

       นํา            2
                    1.417
                          ≈ 1.411

   3) เนื่องจาก (1.411) 2 < 2 < (1.417)2
      จะได       1.411 < 2 < 1.417

      หาคาเฉลี่ยของ 1.411 และ 1.417
                   1.411 + 1.417
      จะได              2
                                 ≈ 1.414

       นํา            2
                    1.414
                          ≈ 1.414

        ดังนั้น 2 ≈ 1.414
 3. ครูแ นะนํ านั ก เรี ย นเพิ่ ม เติ ม ว า ในการหาค าประมาณจากการถอดรากของจํ านวน ทักษะการคิดวิเคราะห
 อตรรกยะตาง ๆ อาจกําหนดจํานวนตําแหนงทศนิยมไดตามตองการ                            ทักษะการคิดคํานวณ
 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 10 โดยใหเวลา 30 นาที ครูเดิน ดู ทักษะการคิดวิเคราะห
 ความถูกตองและตอบขอซักถามหากนักเรียนสงสัย หลังจากนั้นครูสุมนักเรียนออกมา ทักษะการคิดคํานวณ
 ชวยกันเฉลยคําตอบหนาชั้นเรียน
     5.3 ขั้นสรุป
           ครูใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดในการแกปญหาของแตละเรื่องเปนแผนผังคิด (Mind Mapping) (ครู
    คอยแนะนําและถามนําเพื่อใหนักเรียนสรุปจดลงในสมุด)
6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
    6.1 สื่อการเรียนรู
         กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6-10
    6.2 แหลงการเรียนรู
         1) หองสมุดโรงเรียน
         2) หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                               137

7. กิจกรรมเสนอแนะ
   7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห
       ขั้นรวบรวมขอมูล
       ครูมอบหมายใหนักเรียนแบงกลุมไปคนควา ปญหาอื่น ๆ ที่สามารถใชความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรในการแก
ปญหา
       ขั้นวิเคราะห
       ใหนักเรียนในแตละกลุมชวยกันวิเคราะหปญหาและแสดงวิธีแกปญหา
       ขั้นสรุป
       ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนกันอาน
       ขั้นประยุกตใช
        ครูคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุด 5 อันดับ ติดบอรดเพื่อใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียน
   7.2 กิจกรรมการบูรณาการ
            -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                                  138

8. บันทึกหลังสอน
                                              บันทึกหลังสอน
                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน)
            ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน                            จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                      ลงชื่อ…………………………………..
                                                                      ตําแหนง.................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                         139

9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6       (ดูในหนังสือเรียนแม็ค       คณิตศาสตรพ้นฐาน
                                                                               ื      ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา   102)
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7       (ดูในหนังสือเรียนแม็ค       คณิตศาสตรพ้นฐาน
                                                                                 ื    ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา   104)
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8       (ดูในหนังสือเรียนแม็ค       คณิตศาสตรพื้นฐาน   ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา   105)
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9       (ดูในหนังสือเรียนแม็ค       คณิตศาสตรพื้นฐาน   ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา   108)
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 10       (ดูในหนังสือเรียนแม็ค      คณิตศาสตรพื้นฐาน   ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา   110)
   แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

                      แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
     ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป………..
     ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต…………………………………………………………….

                                                                              ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                               ดีมาก       ดี       พอใช ควรปรับปรุง
          ความสนใจ
          การตอบคําถาม
          การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
          การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
          ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ
          ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
          คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย

   แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
                  วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่……………

                                                                          ระดับการประเมิน
                       หัวขอการประเมิน
                                                          ดีมาก        ดี   ปานกลาง นอย             นอยมาก
          การวางแผนการทํางาน
          การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
          การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
          ความคิดสรางสรรค
          ผลการทํางาน
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Mais procurados (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Ex
ExEx
Ex
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Destaque

How can OpenNebula fit your needs - OpenNebulaConf 2013
How can OpenNebula fit your needs - OpenNebulaConf 2013 How can OpenNebula fit your needs - OpenNebulaConf 2013
How can OpenNebula fit your needs - OpenNebulaConf 2013 Maxence Dunnewind
 
Blueberry cheese tart
Blueberry cheese tartBlueberry cheese tart
Blueberry cheese tartaen joedean
 
Su Vulcano con un MacGuffin in mano (di Andrea Natella)
Su Vulcano con un MacGuffin in mano (di Andrea Natella)Su Vulcano con un MacGuffin in mano (di Andrea Natella)
Su Vulcano con un MacGuffin in mano (di Andrea Natella)Andrea Natella
 
Mirth measurement
Mirth measurementMirth measurement
Mirth measurementeyetech
 
Fly magazine mosquero nº 49
Fly magazine mosquero nº 49Fly magazine mosquero nº 49
Fly magazine mosquero nº 49Martin Cardozo
 
The Scarcity of Colored Diamonds
The Scarcity of Colored Diamonds The Scarcity of Colored Diamonds
The Scarcity of Colored Diamonds Pastor Geneve
 
20130223 google apps+能動的教育とコミュニケーション-open
20130223 google apps+能動的教育とコミュニケーション-open20130223 google apps+能動的教育とコミュニケーション-open
20130223 google apps+能動的教育とコミュニケーション-openNorio Toyama
 
Simbiosis2
Simbiosis2Simbiosis2
Simbiosis2okejelly
 
Computer law 2550_sm
Computer law 2550_smComputer law 2550_sm
Computer law 2550_smAj'wow Bc
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Wirot Chantharoek
 
Observation record
Observation record Observation record
Observation record vshackley
 
The Сonsumerization of Сorporate Сommerce | Imagine 2013 Business solution
The Сonsumerization of Сorporate Сommerce | Imagine 2013 Business solutionThe Сonsumerization of Сorporate Сommerce | Imagine 2013 Business solution
The Сonsumerization of Сorporate Сommerce | Imagine 2013 Business solutionAtwix
 
Tecnologia E Informatica Segundo Periodo
Tecnologia E Informatica   Segundo PeriodoTecnologia E Informatica   Segundo Periodo
Tecnologia E Informatica Segundo Periodojulian vega
 
Traffic Jam: Going Beyond Search Engines | Magento Imagine 2013 Business Trac...
Traffic Jam: Going Beyond Search Engines | Magento Imagine 2013 Business Trac...Traffic Jam: Going Beyond Search Engines | Magento Imagine 2013 Business Trac...
Traffic Jam: Going Beyond Search Engines | Magento Imagine 2013 Business Trac...Atwix
 

Destaque (20)

Foley
FoleyFoley
Foley
 
How can OpenNebula fit your needs - OpenNebulaConf 2013
How can OpenNebula fit your needs - OpenNebulaConf 2013 How can OpenNebula fit your needs - OpenNebulaConf 2013
How can OpenNebula fit your needs - OpenNebulaConf 2013
 
Blueberry cheese tart
Blueberry cheese tartBlueberry cheese tart
Blueberry cheese tart
 
Su Vulcano con un MacGuffin in mano (di Andrea Natella)
Su Vulcano con un MacGuffin in mano (di Andrea Natella)Su Vulcano con un MacGuffin in mano (di Andrea Natella)
Su Vulcano con un MacGuffin in mano (di Andrea Natella)
 
Mirth measurement
Mirth measurementMirth measurement
Mirth measurement
 
Fly magazine mosquero nº 49
Fly magazine mosquero nº 49Fly magazine mosquero nº 49
Fly magazine mosquero nº 49
 
The Scarcity of Colored Diamonds
The Scarcity of Colored Diamonds The Scarcity of Colored Diamonds
The Scarcity of Colored Diamonds
 
20130223 google apps+能動的教育とコミュニケーション-open
20130223 google apps+能動的教育とコミュニケーション-open20130223 google apps+能動的教育とコミュニケーション-open
20130223 google apps+能動的教育とコミュニケーション-open
 
Simbiosis2
Simbiosis2Simbiosis2
Simbiosis2
 
C e 1
C e   1C e   1
C e 1
 
Computer law 2550_sm
Computer law 2550_smComputer law 2550_sm
Computer law 2550_sm
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Observation record
Observation record Observation record
Observation record
 
M6eng2552
M6eng2552M6eng2552
M6eng2552
 
Profile of artitecture
Profile of artitectureProfile of artitecture
Profile of artitecture
 
The Сonsumerization of Сorporate Сommerce | Imagine 2013 Business solution
The Сonsumerization of Сorporate Сommerce | Imagine 2013 Business solutionThe Сonsumerization of Сorporate Сommerce | Imagine 2013 Business solution
The Сonsumerization of Сorporate Сommerce | Imagine 2013 Business solution
 
Tecnologia E Informatica Segundo Periodo
Tecnologia E Informatica   Segundo PeriodoTecnologia E Informatica   Segundo Periodo
Tecnologia E Informatica Segundo Periodo
 
Traffic Jam: Going Beyond Search Engines | Magento Imagine 2013 Business Trac...
Traffic Jam: Going Beyond Search Engines | Magento Imagine 2013 Business Trac...Traffic Jam: Going Beyond Search Engines | Magento Imagine 2013 Business Trac...
Traffic Jam: Going Beyond Search Engines | Magento Imagine 2013 Business Trac...
 
Video 1 circulatory system
Video 1   circulatory systemVideo 1   circulatory system
Video 1 circulatory system
 

Semelhante a Unit4

แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับsayunwanlor
 

Semelhante a Unit4 (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Mais de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

Mais de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (20)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

Unit4

  • 1. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 112 หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร รายวิชาที่นํามาบูรณาการ ศิลปะ ภาษาไทย 1. มาตรฐานการเรียนรูประจําหนวย มฐ. ค 6.1 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ ค 6.1 ม.3/1 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 กิจกรรมฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร 3.2 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรเกี่ยวกับตรีโกณมิติ 3.3 กิจกรรมออกแบบ 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2) ผลจากการทําแบบฝกหัด 4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการหองสมุดอยางเหมาะสม 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัตกิจกรรมกลุม ิ 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 113 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลจากการทํากิจกรรมตรวจ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝกคิดตาม และรวมทํากิจกรรมใน สอบความเขาใจ ชั้นเรียน - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดในแต - ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ ละเรื่อง แตละเรื่อง 2) ผลจากการทําแบบฝกหัด - แนะนําการทําใบงาน - ใหนักเรียนแบงกลุม/เดียว ชวยกัน 3) ผลจากการทําแบบฝกหัด - เปนผูชี้แนะเมื่อนักเรียนขอความ ทําแบบฝกหัด ระคน ชวยเหลือ 5.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การปฏิบัตกิจกรรมในชั้น ิ - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังความคิด - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรียน สรุปความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อ ประจําหนวย หาประจําหนวย - ใหนกเรียนไปคนควาโจทยใน ั 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ - แนะนําใหนักเรียนใชบริการหอง หองสมุดโรงเรียน กิจกรรมกลุม สมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการทํา - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบ กิจกรรมกลุม หมายและชวยกันทํากิจกรรมใน ชั้นเรียน 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทําแบบทดสอบหลังจบหนวย การเรียน ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก ครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 114 แผนการจัดการเรียนรูที่ 4/1 เรื่อง กิจกรรมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร เวลา 5 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) ใชความรูคณิตศาสตร ความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแก ปญหาได 2) ใชความรูคณิตศาสตร ความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการให เหตุผลได 3) ใชความรูคณิตศาสตรความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการสื่อ สารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตรได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) สามารถแกโจทยปญหาแบบตางๆ ได 2) ใชเหตุผล สื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร นําเสนอ เชื่อมโยงความรูทางคณิตศาสตรในการแก ปญหาได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู กิจกรรมฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร 2.2 ทักษะ/ กระบวนการ การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดคํานวณ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ผลจากการทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 1- 5 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) มอบหมายงาน 2) จัดทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 3) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 4) สงงาน
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 115 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นําความรูคณิตศาสตร และอื่น ๆมาใชในการแกปญหารูปแบบตาง ๆ ได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ปญหามีจํานวนอยางนอยเทาไร ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสถานการณในปจจุบันวามีการแขงขันกันสูงมากในทุกสาขาการเรียน การ ประกอบอาชีพ หรือการแสดงผลงานการวิจัยตาง ๆ ทําใหการศึกษาและการฝกทักษะกระบวนการแกปญหาจึงมีความ จําเปนตอการเรียนในโลกปจจุบันของเราอยางมาก ครูใหนักเรียนอภิปรายถึงขั้นตอนการแกปญหา โดยครูเปนผูถาม นํา
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 116 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 1. ครูนํานักเรียนเขาสูตัวอยางปญหาในกิจกรรมที่ 1 เรื่อง มีจํานวนอยางนอยเทาไร ทักษะการคิดวิเคราะห ครูใหนักเรียนพิจารณาปญหาตอไปนี้ ทักษะการคิดคํานวณ สมศักดิ์มีไอศกรีมจํานวนหนึ่งที่จะนําไปแจกใหเด็กนักเรียน ถาแจกใหเด็กนักเรียน โรงเรียนที่ 1 คนละ 5 แทง จะเหลือไอศกรีม 1 แทง ถาแจกใหนักเรียนโรงเรียนที่ 2 คนละ 6 แทง จะเหลือไอศกรีม 3 แทง และถาแจกใหเด็กนักเรียนโรงเรียนที่ 3 คนละ 8 แทง จะเหลือไอศกรีม 5 แทง จงตรวจสอบวาสมศักดิ์มไอศกรีมอยางนอยกี่แทง ี จากปญหาขางตนครูใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ โดยครูถามนําแลวใหนักเรียน ชวยกันตอบ 1) จากเงื่อนไขที่กําหนดให นักเรียนคิดวาสมศักดิ์จะมีไอศกรีมอยางนอยกี่แทง เพราะเหตุใด 2) ในการแกปญหานี้นักเรียนจะตองใชความรูเรื่องใดบาง 3) นักเรียนมีแนวความคิดที่จะนําเสนอวิธีแกปญหานี้ไดอยางไร จงอธิบาย 4) ใหนกเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้และตอบคําถาม โดยครูถามนําและชวยเขียน ั คําตอบบนกระดาน (1)ใหจํานวนไอศกรีมที่นอยที่สุดเปน 13 แทง จากนั้นเพิ่มขึ้นทีละ 1 แทง แลวหารแตละจํานวนดวย 5, 6 และ 8 ตามลําดับ บันทึกคําตอบที่ไดลงในตาราง จนได คําตอบของปญหาที่ถูกตอง จํานวนไอศกรีม เศษที่ไดจากการหารจํานวนไอศกรีม (แทง) ตัวหารเปน 5 ตัวหารเปน 6 ตัวหารเปน 8 13 3 1 5 14 4 2 6 15 0 3 7 16 1 4 0 17 2 5 1 18 3 0 2 M M M M
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 117 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (2) สมศักดิ์มีไอศกรีมอยางนอยกี่แทง (3) มีวิธีการตรวจสอบคําตอบที่ถูกตองอยางไร จงอธิบาย 2. ครูเฉลยคําตอบตามคําถามขางตน แลวถามนักเรียนตอไปวานอกจากวิธีการแก ทักษะการคิดวิเคราะห ปญ หาโดยวิธีก ารดั งกล าวแลว นั ก เรียนสามารถใชแนวคิด แบบอื่น ไดอีก หรือไม ทักษะการคิดคํานวณ อยางไร โดยใหนักเรียนชวยกันอภิปราย และครูสรุปแนวความคิด 3. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดย ทักษะการคิดวิเคราะห ใหเวลา 15 นาที และครูคอยแนะนําเมื่อนักเรียนไมเขาใจ แลวใหนักเรียนชวยกัน ทักษะการคิดคํานวณ ออกมาเฉลยคําตอบหนาชั้นเรียน ชั่วโมงที่ 2 กิจกรรมที่ 2 มีจํานวนนับกี่จํานวนตามเงื่อนไขที่กําหนด 1. ครูตั้งโจทยปญหาเกี่ยวกับการหาวามีจํานวนอยางนอยเทาใด ใหนักเรียนชวยกัน ตอบเปนการทบทวนการแกปญหาในชั่วโมงที่ผานมา 2. ครูใหนักเรียนพิจารณากิจกรรมที่ 2 มีจํานวนนับกี่จํานวนตามเงื่อนไขที่กําหนด ดังนี้ สมศรีและสมรกํ าลั งศึก ษาจํานวนนั บ อยู จึงสงสั ยวาจํานวนนั บ ที่ อ ยูระหวาง 3,000 กับ 4,000 มีกี่จํานวน อะไรบาง โดยมีเงื่อนไขวาเลขโดดในหลักพันนอยกวา เลขโดดในหลักรอย เลขโดดในหลักรอยนอยกวาเลขโดดในหลักสิบ และเลขโดด ในหลักสิบนอยกวาเลขโดดในหลักหนวย เชน 3,457 จะไดวา 3<4 , 4< 5 และ 5<7 จากปญหาขางตน ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม โดยจดคําตอบลงในสมุด ดังตอไปนี้ (1) เลขโดดที่สามารถเปนเลขโดดในหลักพันมีกี่ตว อะไรบาง จงอธิบาย ั (2) เลขโดดที่สามารถเปนเลขโดดในหลักรอยมีกี่ตัว อะไรบาง จงอธิบาย (3) จงเขียนแผนภาพตนไมแสดงจํานวนนับที่เปนไปไดทั้งหมด 3. ครูสุมนักเรียนออกมาเฉลยคําตอบ แลวใหเพื่อนๆ ชวยกันตรวจสอบความถูกตอง แลวครูสรุปดังนี้ จากการตอบคําถามขางตน จะเห็นไดวาเลขโดดที่สามารถเปนเลขโดดใน หลักพันมี 1 ตัว คือ 3 เพราะเราตองการหาจํานวนนับที่อยูระหวาง 3,000 กับ 4,000 ดังนั้นจะไดเลขโดดที่สามารถเปนเลขโดดในหลักรอยมีเพียง 4 ตัว คือ 4, 5, 6 และ 7 เพราะเลขโดดเหลานี้มีคามากกวา 3 และสามารถหาเลขโดดมาประกอบเปนจํานวน นับที่อยูระหวาง 3,000 กับ 4,000 ได ดังแผนภาพตนไมตอไปนี้
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 118 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ หลักพัน หลักรอย หลักสิบ หลักหนวย 6 7 5 8 9 7 6 8 4 9 8 7 9 8 9 7 6 8 3 9 8 5 7 9 8 9 8 7 9 6 8 9 7 8 9 4. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดย ทักษะการคิดวิเคราะห ใหเวลา 15 นาที และครูคอยแนะนําเมื่อนักเรียนไมเขาใจ แลวใหนักเรียนชวยกัน ทักษะการคิดคํานวณ ออกมาเฉลยคําตอบหนาชั้นเรียน ชั่วโมงที่ 3 การแกปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคา 1 ตัว 1. ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่องของการแกปญหาตางๆ โดยการใชกระบวนการทาง คณิตศาสตรเขามาชวย ใหนักเรียนอภิปรายถึงขั้นตอนการแกปญหา โดยครูเปนผูถาม นํา แลวจึงรวมกันสรุปขั้นตอนการแกปญหา ดังนี้ การแกปญหาประกอบดวยสี่ขั้นที่ สําคัญดังนี้
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 119 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (1) แทนตัวไมทราบคาดวยตัวอักษร (2) เปลี่ยนความสัมพันธเกี่ยวกับตัวไมทราบคาเปนสมการ (3) หาคําตอบของสมการคือหาคาของตัวไมทราบคา (4) ตรวจสอบคาที่หาไดวาสอดคลองกับปญหาเดิมหรือไม 2. ครูนํานักเรียนเขาสูตัวอยางของปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคา 1 ตัว ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวอยาง สองเท าของจํานวนจํานวนหนึ่ งบวกด วยสิ บ 10 เท ากับ 32 จงหาจํานวน ทักษะการคิดคํานวณ จํานวนนั้น ครูใหนักเรียนพิจารณาโจทย แลวชวยกันเสนอแนะวิธีการหาคําตอบ โดยครู อาจใชคําถามถามนําก็ได ซึ่งจะไดวา วิธีทํา (1) ให x แทนจํานวน (2) เขียนสมการ สองเทาของจํานวนจํานวนหนึ่ง บวกดวย 10 เทากับ 32 จะได 2x +10 = 32 (3) แกสมการ 2x+10 = 32 2x = 32-10 2x = 22 x = 22 2 x = 11 (4) ตรวจสอบ x = 11 สอดคลองกับขอความหรือไม “สองเทาของจํานวนจํานวนหนึ่งบวกดวย 10 เทากับ 32” 2(11)+10 = 32 32 = 32 เปนจริง 3. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางโจทยบนกระดานแลวชวยกันหาคําตอบ หรือครู ทักษะการคิดวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนเขียนโจทยบนกระดาน แลวใสลงในกลอง สงตัวแทนออกมาจับ ทักษะการคิดคํานวณ ฉลากโจทย แลวชวยกันแสดงวิธีทํา โดยครูอาจเพิ่มเติมโจทยเล็กนอยใหสมบูรณ แลวตรวจสอบความถูกตอง 4. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 โดยครูใหเวลา 30 นาที หลังจาก นั้นครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบบนกระดาน ชั่วโมงที่ 4 การแกปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคา 2 ตัว 1. ครูตั้งโจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคา 1 ตัว บนกระดาน แลวสุมให ทักษะการคิดวิเคราะห นักเรียนออกมาหาคําตอบ โดยใหเพื่อนคนอื่นเปนผูชวยตรวจสอบความถูกตองเพื่อ ทักษะการคิดคํานวณ เปนการทบทวน
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 120 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการหาคําตอบของปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไม ทักษะการคิดวิเคราะห ทราบคา2 ตัว วานักเรียนจะมีวิธีในการหาคําตอบไดอยางไร ใหนกเรียนรวมกัน ั ทักษะการคิดคํานวณ อภิปราย หรือครูอาจยกตัวอยางโจทยเพื่อใหนักเรียนมองเห็นภาพชัดเจนก็ได แลวจึง รวมกันสรุปวิธีการหาคําตอบ ซึ่งจะไดดังนี้ ปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคา 2 ตัว มีความสัมพันธสองความ สัมพันธที่เกี่ยวของกับตัวไมทราบคา ซึ่งจะสามารถแกไดอยางใดอยางหนึ่งใน 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 ใชตัวอักษรตัวเดียว และเขียนสมการหนึ่งสมการ ความสัมพันธอันหนึ่งจะถูกใชแทนตัวไมทราบคา 2 ตัว ในพจนของตัวอักษร ตัวเดียว อีกความสัมพันธหนึ่งจะไดจากสมการสมการเดียว วิธีที่ 2 ใชตัวอักษร 2 ตัว และเขียนสมการสองสมการ โดยแทนตัวไมทราบคา 2 ตัว ดวยตัวอักษรที่ตางกัน เมื่อหาคาตัวไมทราบคา ไดแลวตองตรวจสอบโดยแทนในปญหาดังเดิม 3. จากนั้นครูนาเสนอตัวอยางปญหาเกี่ยวกับจํานวนที่มีตัวไมทราบคาสองตัว แลวให ํ ทักษะการคิดวิเคราะห นักเรียนพิจารณาชวยกันหาคําตอบจากวิธีทั้ง 2 วิธีที่ไดรวมกันสรุปเอาไว ดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยาง จํานวนจํานวนหนึ่งเปนสามเทาของอีกจํานวนหนึ่ง จํานวนที่มากกวามาก กวาจํานวนที่นอยกวาอยู 12 จงหาจํานวนสองจํานวนนั้น วิธทํา วิธีท่ี 1 ี (1) แทนตัวไมทราบคา ให x แทนจํานวนที่นอยกวา ดังนั้น 3x แทนจํานวนที่มากกวา (จํานวนที่มากกวาเปนสามเทาของจํานวนที่ นอยกวา) (2) เขียนสมการแสดง “จํานวนที่มากกวามากกวาจํานวนที่นอยกวาอยู 12” จะได 3x - x = 12 (3) แกสมการ 3x - x = 12 2x = 12 12 x = 2 x = 6 ดังนั้น จํานวนที่นอยกวาคือ 6 และจํานวนที่มากกวาคือ 3(6) = 18 (4) ตรวจสอบ 18 - 6 = 12 12 = 12 เปนจริง
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 121 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ครูใหนักเรียนชวยกันทําวิธีที่ 2 บนกระดาน โดยครูใชคาถามกระตุนชวย ซึ่ง ํ จะไดดังนี้ วิธีที่ 2 (1) แทนตัวไมทราบคา ให x แทนจํานวนที่มากกวา y แทนจํานวนที่นอยกวา (2) เขียนสมการ จํานวนหนึ่งเปนสามเทาของอีกจํานวนหนึ่ง x = 3y จํานวนที่มากกวามากกวาจํานวนนอยกวาอยู 12 x-y = 12 (3) แกระบบสมการ x = 3y ..........(1) x-y = 12 ..........(2) แทน x ดวย 3y ใน (2) จะได 3y- y = 12 2y = 12 y = 6 แทน y ดวย 6 ใน (1) จะได x = 3(6) x = 18 ดังนั้น จํานวนสองจํานวนคือ 6 และ 18 (4) ตรวจสอบคําตอบ (ใหนักเรียนชวยกันตรวจสอบเอง) 4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ 4 โดยครู ค อยให คํ า แนะนํ า ทักษะการคิดวิเคราะห นักเรียนอยางใกลชิด ในกรณีนักเรียนทําไมได ถานักเรียนทําไมเสร็จในชั่วโมง ให ทักษะการคิดคํานวณ นักเรียนกลับไปทําเปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 122 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 5 การแกปญหาเกี่ยวกับจํานวนเต็มที่เรียงกัน 1. ครูใหนักเรียนสังเกตและรวมกันพิจารณาตารางตอไปนี้บนกระดาน ทักษะการคิดวิเคราะห จํานวนเต็ม จํานวนเต็มคู จํานวนเต็มคี่ ทักษะการคิดคํานวณ เรียงกัน เรียงกัน เรียงกัน ตัวอยาง 3, 4, 5 4, 6, 8, 10 3, 5, 7, 9 -6, -5, -4 -6, -4, -2, 0 -7, -5,- 3, -1 ชนิดของจํานวนเต็ม จํานวนเต็ม จํานวนเต็มคู จํานวนเต็มคี่ ผลตางจํานวนที่ติดกัน 1 2 2 การแทน จํานวนแรก n n n จํานวนที่สอง n+1 n+2 n+2 จํานวนที่สาม n+2 n+4 n+4 จากนั้น ครูกลาวถึงป ญ หาเกี่ยวกับจํานวนที่ เรียงกัน เชน จํานวนเต็มคูเรียงกัน จํานวนเต็มคี่เรียงกัน หรือจํานวนเต็มเรียงกัน โดยจะเรียงจํานวนจากนอยไปหามาก ดังนั้น จากตารางที่นักเรียนพิจารณา จะไดวา จากตาราง n จะแทนจํานวนแรกของจํานวนที่เรียงกัน ซึ่งเราอาจจะแทน n ดวย จํานวนอื่นๆ ในจุดก็ได แลวครูนําเสนอตัวอยางใหนักเรียนชวยกันพิจารณาและหา คําตอบ หรือใหเสนอแนะการหาคําตอบ โดยครูเปนผูซักถาม ดังนี้ ตัวอยาง ผลบวกของจํ านวนเต็ ม สามจํ านวนเรีย งกั น เท ากั บ 24 จงหาจํานวนสาม จํานวนนั้น วิธีทํา ใหจํานวนเต็มสามจํานวนเรียงกันคือ x, x+1 และ x+2 เขียนสมการ ผลบวกจํานวนเต็มสามจํานวนเรียงกัน เทากับ 24 x + (x+1) + (x+2) = 24 แกสมการ 3x+3 = 24 3x = 24-3 3x = 21 x = 21 3 x = 7 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 โดยใหเวลา 20 นาที หลังจาก ทักษะการคิดวิเคราะห นั้นใหนกเรียนชวยกันออกมาเฉลยบนกระดาน ซึ่งครูคอยตรวจสอบความถูกตอง ั ทักษะการคิดคํานวณ
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 123 5.3 ขั้นสรุป ครูใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดในการแกปญหาของแตละเรื่องเปนแผนผังคิด (Mind Mapping) (ครูคอย แนะนําและถามนําเพื่อใหนักเรียนสรุปจดลงในสมุด) 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-5 6.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุดโรงเรียน 2) หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนแบงกลุมไปคนควาปญหาอื่นๆ ที่สามารถใชความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรในการแก ปญหา ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนในแตละกลุมชวยกันวิเคราะหปญหาและแสดงวิธแกปญหาี ขั้นสรุป ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนกันอาน ขั้นประยุกตใช ครูคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุด 5 อันดับ ติดบอรดเพื่อใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียน 7.2 กิจกรรมการบูรณาการ -
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 124 8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………….. ตําแหนง.................................................
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 125 9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 ( ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 93 ) ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 ( ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 95 ) ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 ( ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 96 ) ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 ( ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 98 ) ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 ( ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 100) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป……….. ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต……………………………………………………………. ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่…………… ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 126 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง กิจกรรมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร เวลา 5 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) ใชความรูคณิตศาสตร ความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแก ปญหาได 2) ใชความรูคณิตศาสตร ความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการให เหตุผลได 3) ใชความรูคณิตศาสตร ความรูอื่นๆ และเทคโนโลยีเพื่อเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการสื่อ สารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตรได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) สามารถแกโจทยปญหาแบบตาง ๆ ได 2) ใชเหตุผล สื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร นําเสนอ เชื่อมโยงความรูทางคณิตศาสตรในการแก ปญหาได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู กิจกรรมฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร 2.2 ทักษะ/ กระบวนการ การวิเคราะห และการคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคํานวณ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ผลจากการทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 6-10 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) มอบหมายงาน 2) จัดทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 3) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 4) สงงาน
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 127 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นําความรูคณิตศาสตร และอื่น ๆมาใชในการแกปญหารูปแบบตาง ๆ ได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา การหาความยาวรอบรูป ครูวาดรูปสี่เหลี่ยมตอไปนี้ แลวซักถามนักเรียนวา ความยาวรอบรูปเปนเทาไร R b S a c Q d P ให a , b , c และ d แทนความยาวของ QR , RS, SP และ PQ ตามลําดับ ถาให p แทนความยาวรอบรูป จะไดวา  p = a+b+c+d
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 128 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 ทักษะการคิดวิเคราะห 1. ครูวาดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากบนกระดาน แลวใหนักเรียนชวยกันตอบวา ความยาวรอบ รูปมีคาเปนเทาไร A b B a D c จากรูป ให a แทนความยาวของ AD และ b แทนความยาวของ AB จะไดวา p = a + b + a + b = 2a + 2b 2. ครูนําเสนอตัวอยางการหาความยาวรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมและรูปอื่นๆ ใหนักเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห ดูบนกระดาน แลวใหชวยกันเสนอแนะวิธการหาคําตอบ ดังนี้ ี ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยางที่ 1 รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทา b a a b b a b p = 3a p = 4b d c c d d c c d d c d p = 5c p = 6d
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 129 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ตั ว อย า งที่ 2 ABC มี AC = 30 หน ว ย ถ า ความยาวรอบรู ป เป น 75 หน ว ย และ BC = 2AB จงหา AB และ BC B A C 30 วิธีทา ให AB = x หนวย และความยาวรอบรูปเปน 75 หนวย ํ เนื่องจาก BC = 2AB ดังนั้น BC = 2x หนวย จะไดสมการ x + 2x + 30 = 75 3x = 45 x = 15 ดังนั้น AB = 15 หนวย และ BC = 2(15) = 30 หนวย 3. ครูใหนกเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ชวยกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 ั ทักษะการคิดวิเคราะห โดยใหเวลา 20 นาที ครูคอยแนะนํา และใหนักเรียนกลุมที่ทําเสร็จกอนชวยกันออกมา ทักษะการคิดคํานวณ เฉลยคําตอบ โดยครูตรวจสอบความถูกตอง ชั่วโมงที่ 2 การหาพื้นที่ 1. ครูยกตัวอยางรูปหลายเหลี่ยมใหนกเรียนชวยกันหาความยาวรอบรูป เปนการทบทวน ั 1-2 รูป 2. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการหาพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมตาง ๆ โดยให ทักษะการคิดวิเคราะห นักเรียนชวยกันตอบวา รูจักสูตรการหาพื้นที่รปอะไรบาง ครูเขียนสูตรที่นักเรียนตอบ ู ทักษะการคิดคํานวณ บนกระดาน เชน สูตรการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ดาน × ดาน สูตรการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง × ยาว 1 สูตรการหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก = × ฐาน × สูง 2 3. ครูยกตัวอยางใหนกเรียนพิจารณากิจกรรม ดังนี้ ั กําหนดใหมีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 2×2 ตารางเซนติเมตร จํานวน 4 รูป รูป ทักษะการคิดวิเคราะห สามเหลี่ยมมุมฉากที่มีดานประกอบมุมฉากยาวดานละ 2 เซนติเมตร จํานวน 4 รูป และ ทักษะการคิดคํานวณ
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 130 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ รูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 2×4 ตารางเซนติเมตร จํานวน 3 รูป ถานํารูปทั้งหมดมาตอกัน จะมีพื้นที่เทากับนําพื้นที่ของแตละรูปมารวมกันหรือไม จากปญหาขางตน ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้ 1) จากรูปที่กําหนดใหจงหาพื้นที่ของแตละรูปตอไปนี้ (1) พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส (2) พื้นที่รุปสามเหลี่ยมมุมฉาก (3) พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา 2) ถานํารูปสามเหลี่ยมมุมฉากสี่รูปมาตอกันเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากจะมีพ้นที่เทาด ื 3) ถานํารูปทั้งหมดมาตอกันจะมีพื้นที่เทาใด 4. จากการตอบคําถามขางตน จะหาคําตอบดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห 1) พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ดาน × ดาน ทักษะการคิดคํานวณ = 2×2 = 4 ตารางเซนติเมตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 1 × ฐาน × สูง 2 = 1 2 ×2×2 = 2 ตารางเซนติเมตร
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 131 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง × ยาว = 2×4 = 8 ตารางเซนติเมตร 2) ถานํารูปสามเหลี่ยมมุมฉากสี่รูปมาตอกันเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 2 ซม. 2 ซม. 2 ซม. จะมีพื้นที่ = กวาง x ยาว = 2 × (2 + 2) = 8 ตารางเซนติเมตร 3) ถานํารูปทั้งหมดมาตอกันจะไดรูปดังนี้ หรือ
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 132 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ จากรูป มีพื้นที่ = กวาง × ยาว = 6×8 = 48 ตารางเซนติเมตร ครูใหนักเรียนนําพื้นที่ของแตละรูปมารวมกันเพื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่จากการ นํารูปมาตอกัน ไดดังนี้ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจํานวน 4 รูป มีพื้นที่เทากับ 4 × 4 = 16 ตารางเซนติเมตร รูปสามเหลี่ยมมุมฉากจํานวน 4 รูป มีพ้นที่เทากับ 4 × 2 = 8 ตารางเซนติเมตร ื รูปสี่เหลี่ยมผืนผาจํานวน 3 รูป มีพื้นที่เทากับ 3 × 8 = 24 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น มีพื้นที่ทั้งหมดเทากับ 16 + 8 + 24 = 48 ตารางเซนติเมตร 5. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปวา ถานํารูปทั้งหมดมาตอกันจะมีพื้นที่เทากับนําพื้นที่ของ ทักษะการคิดวิเคราะห แตละรูปมารวมกัน ทักษะการคิดคํานวณ 6. ครูใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 โดยใหเวลา 20 นาที หลังจากนั้น ั ทักษะการคิดวิเคราะห ใหนกเรียนชวยกันออกมาเฉลยบนกระดาน ซึ่งครูคอยตรวจสอบความถูกตอง ั ทักษะการคิดคํานวณ ชั่วโมงที่ 3 นับไดกี่รูป 1. ครูและนักเรียนสนทนาเรื่องการหาพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมเพื่อทบทวนความรูใน ทักษะการคิดวิเคราะห ชั่วโมงที่ผานมา โดยสุมนักเรียนออกมาวาดรูป และใหเพื่อนในชั้นชวยกันหาพื้นที่ของ ทักษะการคิดคํานวณ รูปนั้น 2. ครูยกตัวอยางปญหาในกิจกรรมที่ 8 เพื่อนํานักเรียนไปสูการหาวานับไดกี่รูป ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห กําหนดใหรปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 1×5 มาจากการวางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1× 1 ู ทักษะการคิดคํานวณ เรียงตอกันในแนวตรง 5 รูป นักเรียนคิดวาจะมีรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาดตาง ๆ ที่ซอนกัน อยูในรูปที่กาหนดใหทั้งหมดกี่รูป ํ ครูใหนกเรียนชวยกันหาคําตอบ โดยแนะนําใหนักเรียนเติมคําตอบลงในตารางตอไป ั นี้ ขนาด จํานวนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 1×1 5 1×2 1×3 1×4 1×5 รวม
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 133 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ จากคําถามขางตน ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบ ดังนี้ ขนาด จํานวนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 1×1 5 1×2 4 1×3 3 1×4 2 1×5 1 รวม 15 3. ครูใหนักเรียนชวยกันตั้งโจทยรูปภาพ แลวใหเพื่อนๆ ในชั้นเรียนชวยกันหาคําตอบ 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 โดยใหแขงกันใครตอบไดกอนจะมี ทักษะการคิดวิเคราะห รางวัลให ทั้งนี้ครูคอยตรวจสอบคําตอบที่ถูกตอง ทักษะการคิดคํานวณ ชั่วโมงที่ 4 นับไดกี่ตัว 1. ครูนํานักเรียนเขาสูปญหา โดยเลาเปนเรื่องราว ดังนี้  ทักษะการคิดวิเคราะห นองโบและนองออนไปเที่ยวสวนสัตวแหงหนึ่งในสวนสัตวแหงนี้จะเลื้ยงนกยูง ทักษะการคิดคํานวณ และกวางอยูในรั้วเดียวกัน นองโบและนองออนอยากทราบวามีนกยูงและกวางอยูในรั้ว นั้นอยางละกี่ตัว จึงไดพยายามชวยกันนับจํานวนสัตวทั้งสองชนิด แตสัตวทั้งสองชนิดไม อยูนิ่งเลยเดินไปมาจึงนับไมถูกสักที นองโบและนองออนจึงชวนกันไปสอบถามเจาหนา ที่สวนสัตวที่ดูแลอยู นองโบ : ในรั้วนี้มีนกยูงและกวางอยางละกี่ตัวคะ เจาหนาที่ : ถาหนูตองการทราบคําตอบตองหาเอาเองนะ ในรั้วนี้มีกวางอยูรอยละ 70 ของจํานวนสัตวทั้งหมด และถานับขาของนกยูงและกวางรวมกันจะได 136 ขาครับ นองออน : ไมยากเลย เดี๋ยวพวกหนูจะชวยกันหาคําตอบเองคะ เจาหนาที่ : ถาหนูไดคําตอบแลวขอดูวิธีคิดของหนูดวยนะครับ ครูใหนักเรียนชวยกันคิดหาคําตอบ โดยใหเวลา 15 นาที 2. ครูใหนักเรียนที่ทําเสร็จกอนชวยกันออกมาเฉลยโดยครูเปนผูแนะนํา ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห วิธีการคิดของนองโบโดยใชรูปภาพ ทักษะการคิดคํานวณ เนื่องจากโจทยกําหนดจํานวนกวางอยูในรูปของรอยละโดยที่จํานวนกวางมีอยูรอย ละ 70 ของจํานวนสัตวทั้งหมดที่อยูในรั้วนี้ หมายความวา มีจํานวนกวาง 70 ตัว จาก สัตวทั้งหมด 100 ตัว จะไดจํานวนกวางเทากับ 70 ตัว และจํานวนนกยูงเทากับ 30 ตัว
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 134 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ เมื่อนํามาเขียนในรูปของอัตราสวนจํานวนกวางตอจํานวนนกยูงจะไดเทากับ 7 : 3 ใชรูป แทนกวาง 1 ตัว และ รูป แทนนกยูง 1 ตัว เริ่มตนนองโบเขียนรูป โดยใชอัตราสวนจํานวนกวางตอจํานวนนกยูงเทากับ 7 : 3 ดังนั้นเขียนรูปกวางจํานวน 7 ตัว และรูปนกยูงจํานวน 3 ตัว แลวนับขาทั้งหมด แตถานับขาทั้งหมดแลวไมได 136 ขา จึงทําการเพิ่มจํานวนของอัตราสวนจํานวนกวาง ตอจํานวนนกยูงจาก 7: 3 เปน 14 : 6 โดยจะเพิ่มจํานวนเปน 2 เทาของอัตราสวน และ ถานับขาทั้งหมดแลวไมได 136 ขา นองโบจึงทําการเพิ่มเปนจํานวนเต็มบวกเทาของ อัตราสวนจํานวนกวางตอจํานวนนกยูง ซึ่งมีคาเปน 7 : 3 ไปเรื่อย ๆ จนกวาจะนับขาของ สัตวทั้งหมดที่อยูในรั้วนั้นได 136 ขา ซึ่งแสดงไดดังนี้ อัตราสวน จํานวนขา จํานวนกวางตอ รูปกวางและรูปนกยูง ของสัตวทั้ง ผลสรุป จํานวนนกยูง หมด 7: 3 34 14 : 6 21 : 9
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 135 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ วิธีคิดของนองออนโดยใชตารางดังนี้ นองออนมีวิธีคิดโดยจะใชวิธีวิเคราะหประกอบการเดาคําตอบและตรวจสอบการตั้ง คําถามกับตัวเองกอน เพื่อใหการเดามีประสิทธิภาพที่จะทําใหไดคําตอบเร็วขึ้น นองออน จึงตั้งคําถามกับตัวเองวา “ เปนไปไดหรือไมที่จะมีจํานวนกวาง 30 ตัว และตองมีอัตรา สวนจํานวนกวางตอจํานวนนกยูงเทากับ 7 : 3” หลังจากตอบคําถามตัวเองไดแลวนอง ออนจึงเริ่มตนเดาครั้งแรกโดยการคิดคํานวณจํานวนกวางเปน 35 ตัว และจํานวนนกยูง เปน 3 ×735 = 15 ตัว ซึ่งจะนําคาอัตราสวนของจํานวนกวางตอจํานวนนกยูงมาชวยใน การคิดหาจํานวนนกยูง จะไดคําตอบของจํานวนสัตวทั้งสองชนิดโดยใชตารางดังนี้ เดา กวาง นกยูง ขากวาง ขานกยูง รวมขา ผลสรุป ครั้งที่ (ตัว) (ยูง) ทั้งหมด 1 35 3 × 35 35 × 4 = 1 15 × 2 = 3 170 = 7 2 28 3 × 28 28 × 4 = 1 12 × 2 = 2 136 = 7 3. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 เปนการ ทักษะการคิดวิเคราะห บาน ทักษะการคิดคํานวณ ชั่วโมงที่ 5 การหาคาประมาณจากการถอดราก 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับจํานวนจริง จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ แลวถาม ทักษะการคิดวิเคราะห นักเรียนวานักเรียนคิดวามีจํานวนตรรกยะใดที่ยกกําลังสองแลวได 2 หรือไม เนื่องจาก ทักษะการคิดคํานวณ ( 2 )2 = 2 ดังนั้น 2 ไมเปนจํานวนตรรกยะ แตจะเรียก 2 วาจํานวนอตรรกยะ และ นักคณิตศาสตรไดศึกษาพบวา ไมมีจํานวนตรรกยะใดที่ยกกําลังสองได 3 แต ( 3 )2 = 3 ดังนั้น 3 ไมเปนจํานวนตรรกยะ เรียก 3 วาจํานวนอตรรกยะ เชนเดียวกับ 5 , 7 , 10 หรือจํานวนอตรรกยะอื่น ๆ 2. ครูถามนักเรียนวาใครสามารถหาคาประมาณของ 2 ไดบาง มีวิธีการอยางไร หลัง ทักษะการคิดวิเคราะห จากนั้นครูและนักเรียนชวยกันแสดงวิธีการหาคําตอบขางตนดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ เราอาจหาคําตอบขางตนโดยวิธีการประมาณคาของ 2
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 136 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1) เพราะวา 12 < 2 < 2 2 ดังนั้น 1< 2 < 2 หาคาเฉลี่ยของ 1 และ 2 จะได 1 + 2 = 1.5 2 นํา 2 1.5 ≈ 1.333 2) เนื่องจาก (1.333) 2 < 2 < (1.5)2 จะได 1.333 < 2 < 1.5 หาคาเฉลี่ยของ 1.333 และ 1.5 1.333 + 1.5 จะได 2 ≈ 1.417 นํา 2 1.417 ≈ 1.411 3) เนื่องจาก (1.411) 2 < 2 < (1.417)2 จะได 1.411 < 2 < 1.417 หาคาเฉลี่ยของ 1.411 และ 1.417 1.411 + 1.417 จะได 2 ≈ 1.414 นํา 2 1.414 ≈ 1.414 ดังนั้น 2 ≈ 1.414 3. ครูแ นะนํ านั ก เรี ย นเพิ่ ม เติ ม ว า ในการหาค าประมาณจากการถอดรากของจํ านวน ทักษะการคิดวิเคราะห อตรรกยะตาง ๆ อาจกําหนดจํานวนตําแหนงทศนิยมไดตามตองการ ทักษะการคิดคํานวณ 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 10 โดยใหเวลา 30 นาที ครูเดิน ดู ทักษะการคิดวิเคราะห ความถูกตองและตอบขอซักถามหากนักเรียนสงสัย หลังจากนั้นครูสุมนักเรียนออกมา ทักษะการคิดคํานวณ ชวยกันเฉลยคําตอบหนาชั้นเรียน 5.3 ขั้นสรุป ครูใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดในการแกปญหาของแตละเรื่องเปนแผนผังคิด (Mind Mapping) (ครู คอยแนะนําและถามนําเพื่อใหนักเรียนสรุปจดลงในสมุด) 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6-10 6.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุดโรงเรียน 2) หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 137 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนแบงกลุมไปคนควา ปญหาอื่น ๆ ที่สามารถใชความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรในการแก ปญหา ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนในแตละกลุมชวยกันวิเคราะหปญหาและแสดงวิธีแกปญหา ขั้นสรุป ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนกันอาน ขั้นประยุกตใช ครูคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุด 5 อันดับ ติดบอรดเพื่อใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียน 7.2 กิจกรรมการบูรณาการ -
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 138 8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………….. ตําแหนง.................................................
  • 28. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 139 9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพ้นฐาน ื ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 102) ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพ้นฐาน ื ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 104) ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 105) ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 108) ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 10 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 110) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป……….. ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต……………………………………………………………. ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่…………… ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน