Anúncio

พัฒนาดัชนีเกษียณ

President at The Philosophy and Religion Society of Thailand em The Philosophy and Religion Society of Thailand
3 de Aug de 2012
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Mais de Soraj Hongladarom(20)

Anúncio

พัฒนาดัชนีเกษียณ

  1. รายงานการวิจัย การพัฒนาดัชนีการเกษียณอายุ ของข้าราชการและพนักงานของรัฐ โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ ภาควิชาปรัชญาและศูนย์จริยธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโลยี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  2. เวทีวิชาการมโนทัศน์ใหม่ผู้สงอายุ ู “เกษียณอายุราชการ ๖๕ ปี: ถึงเวลาแล้วหรือยัง?” วันจันทร์ที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ โรงแรมรามา การ์เดนส์ กทม.
  3. หัวข้อนำาเสนอ  เบืองหลังและที่มาที่ไปของงานวิจัย ้  ข้อเสนอแนะหลัก  เหตุใดจึงควรขยายอายุเกษียณไปเป็น ๖๕ (หรือ มากกว่า)  ต่างประเทศมีการยกเลิกการบังคับเกษียณอายุไป แล้ว ประเทศไทยควรตามอย่างหรือไม่?
  4. เหตุใดจึงมาเป็นงานวิจัยชิ้นนี้?
  5. วิธีการศึกษาและผลที่ได้รับ
  6. เหตุใดจึงควรเกษียณที่ ๖๕?  ปัจจุบันเราเห็นคนอายุ ๖๐ ถึง ๖๕ ทำางานกัน อย่างขยันขันแข็งมีประสิทธิภาพเป็นจำานวนมาก  ธรรมชาติของการทำางานของข้าราชการกับ พนักงานของรัฐส่วนใหญ่ไม่ใช่การใช้แรงงาน ทางกาย แต่เป็นการใช้ความรู้ความคิด
  7. เหตุใดจึงควรเกษียณที่ ๖๕?  ข้าราชการที่ใช้ความรู้ในระดับสูงมาก เช่น อาจารย์มหาวิทยาลัย ผูพิพากษา ผู้ทำางานใน ้ ระดับนโยบาย ควรเกษียณที่อายุ ๗๐  วิชาชีพที่ไม่มีการเกษียณอายุ - พระภิกษุ ข้าราชการในพระองค์ องคมนตรี ข้าราชการ การเมือง (แล้วทำาไมต้องบังคับข้าราชการ ธรรมดาให้เกษียณที่ ๖๐?)
  8. เหตุใดจึงควรเกษียณที่ ๖๕?  สถานะทางการเงินของรัฐ – ถ้าคนอายุ ๖๐ – ๖๕ ยังทำางานได้ดี แล้วต้องเกษียณอายุไป ก็ หมายความว่ารัฐต้องจ่ายบำานาญให้คนกลุ่มนี้ไป ฟรีๆโดยคนกลุ่มนี้ไม่ต้องทำางานให้เป็นประโยชน์ แก่ราชการอีกต่อไป  ในสังคมที่คนวัยทำางานปกติมีน้อยลงแต่คนสูงวัย มีมากขึ้น ภาษีที่รัฐจะได้รับจากคนกลุ่มแรกจะลด น้อยลง แต่ภาระใช้จ่ายจะเพิ่มมากขึ้น
  9. ข้อโต้แย้ง  ถ้าให้เกษียณอายุมากๆแล้วคนข้างล่างก็ไม่ได้ขึ้น ตำาแหน่งซักที − ก็รอกันไปเป็นทอดๆ − กำาหนดว่าตำาแหน่งบริหารมีวาระชั่วคราว − ต้องพิจารณาความสามารถของคนให้เหมาะ กันงาน ไม่ใช่ทกคนทีจะเหมาะแก่ตำาแหน่ง ุ ่ บริหารระดับสูง
  10. การยกเลิกการบังคับเกษียณ  หลายๆประเทศก็เหมือนกับประเทศไทย คือมีการบังคับอายุ เกษียณ (mandatory retirement age) แต่หลายประเทศ กำาหนดอายุมากกว่าไทย  การยกเลิกการบังคับเกษียณก็คือไม่บังคับว่าพอถึงอายุ เท่านั้นเท่านี้ ก็จะทำางานไม่ได้อีกต่อไป (เกษียณอายุ)  หลายคนเชื่อว่าการบังคับเช่นนี้เป็นการเลือกปฏิบัติโดย เกณฑ์อายุ (age discrimination)  ถ้าใครยังทำางานตามเงื่อนไขได้ดี ก็ไม่มีเหตุผลจะให้เขาออก เพียงเพราะอายุเขาเป็นเท่านั้นเท่านี้
  11. การยกเลิกการบังคับเกษียณ  เหตุใดข้าราชการบางประเภท (การเมืองและอื่น) จึงไม่มี เกษียณอายุ ทังๆที่ความรับผิดชอบสูงมาก? ้  ก็แสดงว่ามีคนจำานวนหนึ่งที่มความสามารถทำางานไปได้ ี อย่างดี แม้อายุจะมากขึ้น  ถ้าไม่มการบังคับเกษียณ คนทีทำางานก็จะทำางานไปจน ี ่ รู้สึกว่าตนเองพอแล้ว หรืออยากจะเกษียณตัวเองแล้ว ก็ หยุดทำางานแล้วรับบำานาญตั้งแต่ตอนนัน ้  ในต่างประเทศอาจารย์ที่สอนนักศึกษาจนอายุมากกว่า ๗๐ มีเป็นจำานวนมาก
  12. แต่อย่างไรก็ตาม ในช่วงเริ่มแรกนี้ รัฐบาล ควรเริ่มขยายอายุเกษียณไปที่ ๖๕ ก่อน แล้ว ค่อยพิจารณายกเลิกการเกษียณอายุสำาหรับ ข้าราชการและพนักงานบางประเภทไปก่อน โดยเฉพาะตำาแหน่งงานที่อาศัยความรู้ ความสามารถสูงมากๆ
Anúncio