SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
การล้าเลียงน้าและอาหารของพืช
การล้าเลียงน้าของพืช
พืชที่มีท่อล้าเลียง จะมีโครงสร้างที่ใช้ในการล้าเลียงน้าและแร่ธาตุโดยเฉพาะ
ท้าให้มีขนาดใหญ่และสูงได้มาก
การล้าเลียงน้าในพืชเกี่ยวข้องกับการดูดน้าและการคายน้า
การดูดน้าของราก
•น้าและแร่ธาตุที่รากดูดซึมจากดินที่
บริเวณส่วนปลายของรากที่เรียกว่า
บริเวณขนราก (root hair zone)
จะมีขนรากจ้านวนมาก
•ท้าให้เพิ่มพืนที่ผิวที่สัมผัสกับน้าซึ่ง
แทรกตัวอยู่ในช่องว่างภายในดินได้เป็น
จ้านวนมาก ขนรากดูดน้าโดย
กระบวนการ ออสโมซิส (Osmosis)
3
1) วิธีอะโพพลาสต์ (Apoplast) เป็นการล้าเลียงน้าและแร่ธาตุจากเซลล์หนึ่ง
ไปยังอีกเซลล์หนึ่ง โดยผ่านผนังเซลล์ที่ติดต่อกัน และช่องว่างภายนอกเซลล์
2) วิธีซิมพลาสต์ (Symplast) เป็นการล้าเลียงน้าและแร่ธาตุจากเซลล์หนึ่ง
ไปยังอีกเซลล์หนึ่ง โดยผ่านทางไซโทพลาสซึมที่เชื่อมต่อกัน และทะลุไปอีกเซลล์หนึ่งโดย
ผ่านทางพลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata)
การล้าเลียงน้าเข้าสู่ท่อไซเล็ม
•อะโพพลาสต์ (Apoplast) คือ การที่น้าและแร่ธาตุผ่านจากเซลล์หนึ่งไปยัง
เซลล์หนึ่ง โดย ผ่านช่องว่างระหว่างผนังเซลล์ในชันคอร์เทกซ์และผ่านเซลล์ที่
ไม่มีชีวิต (ยกเว้นเอนโดเดอร์มิส) คือ เทรคีด และเวสเซล
•ซิมพลาสต์ (Simplast) คือ การที่น้าและแร่ธาตุผ่านจาก เซลล์หนึ่งไปยัง
อีกเซลล์หนึ่ง โดย ผ่านทางไซโทพลาซึมที่เชื่อมต่อกันและทะลุไปอีกเซลล์หนึ่ง
โดยผ่านทางพลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata)
•ดังนันการที่น้าและแร่ธาตุสามารถผ่านไปจึงเป็นการผ่านชันเยื่อหุ้มเซลล์
เท่านัน เมื่อน้าและแร่ธาตุเคลื่อนมาถึง เอนโดเดอร์มิสซึ่งมี Casparian
strip กันอยู่ที่ผนังเซลล์ น้าและแร่ธาตุจะผ่านไปตามผนังเซลล์ไม่ได้ จึงต้อง
ใช้วิธีซิมพลาสต์ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของเอนโดเดอร์มิส เข้าสู่ไซโทพลาซึมแล้วจึง
เข้าสู่ stele จนถึง xylem แร่ธาตุที่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จึงถูกคัดเลือกโดยเยื่อ
หุ้มเซลล์
สรุปขันตอนการล้าเลียงน้าและแร่ธาตุผ่านทางด้านข้างของราก
1. เมื่อน้าและแร่ธาตุผ่านขนรากของชัน epidermis ซึ่งเข้าได้ทัง 2 วิธี
2. ถ้าการล้าเลียงนันเข้าทาง อะโพพลาสต์ น้าและแร่ธาตุบางส่วนจะล้าเลียงเข้าเซลล์
ของ เอพิเดอร์มิส และคอร์เทกซ์โดยวิธีซิมพลาสต์
3. น้าและแร่ธาตุที่เข้าสู่ เอนโดเดอร์มิสทางผนังเซลล์ (วิธีอะโพพลาสต์) จะไม่
สามารถผ่าน แคสพาเรียนสตริป ของเอนโดเดอร์มิสไปได้โดยวิธีอะโพพลาสต์ จึงใช้
วิธีซิมพลาสต์ เพื่อผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของ เอนโดเดอร์มิส
4. น้าและแร่ธาตุเมื่อเข้าสู่ไซเลม ซึ่งไซเลมประกอบด้วย เทรคีดและเวสเซล ซึ่งเป็น
เซลล์ที่ตายแล้ว ไม่มีโพรโทพลาซึมเหลือแต่ผนังเซลล์และช่องว่าง ลูเมน (Lumen)
ในไซเลมจึงล้าเลียงน้าและแร่ธาตุแบบอะโพพลาสต์ โดยล้าเลียงขึนสู่ล้าต้นต่อไปยัง
ส่วนต่าง ๆ ทังยอด ล้าต้น กิ่ง และใบ เพื่อส่งน้าไปให้ทุก ๆ เซลล์ของต้นพืช
กลไกการล้าเลียงน้าของพืช
หลังจากที่พืชสามารถดูดน้าจากดินเข้าสู่
รากแล้ว น้าจะเกิดการล้าเลียงต่อไปยัง
ส่วนของล้าต้น โดยผ่านทางท่อน้า ซึ่ง
กลไกที่พืชใช้ในการล้าเลียงน้านีเกิดขึนได้
ดังต่อไปนี คือ
•แรงดันราก (root pressure)
•แรงดันแคพิลลารี (capillary force)
•แรงดันเนื่องจากการคายน้า
(transpiration pull)
1. แรงดันราก (root pressure) เมื่อปริมาณน้าในรากมีจ้านวนมากขึน ท้าให้เกิด
แรงดันในรากที่สูงขึนจนสามารถดันของเหลวขึนไปยังท่อไซเลมได้
การล้าเลียงน้าแบบนีจะเกิดกับพืชบางชนิดเท่านัน เพราะในสภาพที่อากาศร้อนจัดและ
แห้งแล้ง พืชไม่สามารถสร้างแรงดันรากได้
เ
2. แรงดันแคพิลลารี (capillary force) เป็นแรงดึงที่เกิดขึนภายในท่อล้าเลียง
คล้ายท่อคะพิลลารี ท่อล้าเลียงที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กสามารถดึงน้าขึนไปได้
มากกว่าขนาดใหญ่ เกี่ยวข้องกับแรงยึดระหว่างโมเลกุลของน้าด้วยกันเอง (cohesion)
และแรงยึดระหว่างโมเลกุลของน้ากับผนังเซลล์ (adhesion)
11
เ
3. แรงดันเนื่องจากการคายน้า (transpiration pull) เกิดขึนจากการดึงน้าขึนมา
ทดแทนน้าที่เสียไปโดยวิธีการคายน้า วิธีนีสามารถดึงน้าขึนมาได้ในปริมาณสูง การดึง
น้าโดยวิธีนีจ้าเป็นต้องอาศัยแรงแคพิลลารีช่วยด้วย ท้าให้การล้าเลียงน้าสามารถเกิดขึน
ได้อย่างต่อเนื่องจากข้างล่างถึงข้างบนยอดพืชโดยไม่ขาดตอน
13
•แรงดึงในท่อไซเลม ดึงน้้ำขึ้นสู่ล้ำต้นและใบได้ รำกจึงเกิดแรงดึงน้้ำจำกดินเข้ำมำใน
ท่อไซเลมได้ เมื่อพืชคำยน้้ำออกทำงใบท้ำให้เกิดแรงดึงน้้ำขึ้นตำมท่อไซเลม แรงดึง
นี้เรียกว่ำ แรงดึงเนื่องจำกกำรคำยน้้ำ (Transpiration pull) และโมเลกุลของ
น้้ำมีแรงดึงดูดระหว่ำงโมเลกุลที่เรียกว่ำ โคฮีชัน (Cohesion) ท้ำให้กำรไหลของ
น้้ำในท่อไซเลมจึงต่อเนื่องกันได้
•หำกแรงดึงจำกกำรคำยน้้ำมีค่ำมำกกว่ำแรงโคฮีชัน ท้ำให้สำยน้้ำไม่ต่อเนื่องกัน เกิด
ฟองอำกำศขึ้นซึ่งจะขัดขวำงกำรล้ำเลียงน้้ำ ในเวลำกลำงคืนที่ปำกใบปิดและน้้ำใน
ดินมำกพอ น้้ำจะเคลื่อนที่เข้ำสู่ไซเล็มท้ำให้เกิดแรงดันรำกซึ่งจะดันน้้ำขึ้นไปบีบอัด
ฟองอำกำศที่เกิดขึ้นให้หำยไปได้
14
transpiration pull
capillary force
root pressure
เพราะเหตุใดเราจึงต้องใส่ปุ๋ยให้พืช
พืชใช้โครงสร้างใดในการดูดซึมสารอาหารสารอาหารที่จ้าเป็นต่อพืชมีอะไรบ้าง
K
P
NCa
S
Mg
Fe
Passive transport Active transport
การล้าเลียงสารอาหารของพืช
การล้าเลียงน้าและสารอาหารเข้าสู่ไซเล็ม
สารอาหารจะเข้าสู่ท่อไซเล็มโดยวิธีอโพพลาสต์ หรือซิมพลาสต์
การล้าเลียงสารอาหารจากรากสู่ปลายยอด
สารอาหาร หรือ ธาตุอาหาร (nutrient)
นักวิทยาศาสตร์ได้ก้าหนดหลักเกณฑ์ในการจัดว่าธาตุใดเป็นสารอาหารที่จ้าเป็นต่อการ
เจริญเติบโตของพืช ซึ่งมีอยู่ 3 ประการ คือ
1. ธาตุนันจ้าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ถ้าขาดธาตุนันพืชจะไม่สามารถด้ารงชีวิต
ท้าให้การเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ไม่สมบูรณ์
2. ความต้องการชนิดของธาตุนันในการเจริญเติบโต โดยที่ธาตุอื่นไม่สามารถทดแทนได้
3. ธาตุนันจ้าเป็นต่อกระบวนการเมแทบอลิซึมและการเจริญเติบโตของพืชโดยตรง
1. สารอาหารหลัก (macronutrient) มี 9 ธาตุ ได้แก่ C H O N P K Ca Mg S
2. สารอาหารรอง (micronutrient) มี 7 ธาตุ ได้แก่ Fe B Mn Cu Zn Cl Mo
เ
แร่ธาตุที่จ้าเป็นส้าหรับพืช
ธาตุ หน้าที่ของธาตุ
ไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ โปรตีน เอนไซม์และวิตามิน
หลายชนิด ช่วยให้พืชเจริญเติบโตทางด้านใบ ล้าต้น หัว ฯลฯ
ฟอสฟอรัส เป็นองค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก ฟอสโฟลิพิด ATP และโค
เอนไซม์หลายชนิด ช่วยเร่งการออกดอกและ สร้างเมล็ด
โพแทสเซียม ไม่เป็นองค์ประกอบของสารใดๆ ในพืชแต่ไปท้าหน้าที่กระตุ้น
การท้างานของเอนไซม์หลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแป้ง
น้าตาล และโปรตีน ควบคุมการปิดเปิดของปากใบ และ
เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างโปรตีน
เ
แร่ธาตุที่จ้าเป็นส้าหรับพืช
ธาตุ หน้าที่ของธาตุ
แคลเซียม เป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์ จ้าเป็นส้าหรับกระบวนการแบ่ง
เซลล์ การเพิ่มขนาดของเซลล์และชวยกระตุ้นการท้างานของ
เอนไซม์บางชนิด
แมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ กระตุ้นการท้างานของเอนไซม์ที่
เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ การ
สังเคราะห์โปรตีน
ก้ามะถัน เป็นองค์ประกอบของสารโปรตีนบางชนิด วิตามิน B1 และสารที่
ระเหยได้บางชนิดในพืชช่วยเพิ่มปริมาณน้ามันในพืช เกี่ยวข้องกับ
การสังเคราะห์คลอโรฟิลล์
ธาตุอาหาร หน้าที่
อาการที่พืชตอบสนองและแสดงออก
อาการเมื่อขาด อาการเมื่อได้รับธาตุ
อาหารมากเกินไป
ไนโตรเจน (N) - เป็นองค์ประกอบของ
โปรตีน กรดนิวคลีอิก
คลอโรฟิลล์ และ
โคเอนไซม์
- ใบมีสีเหลืองทังใบ จะ
เริ่มเหลืองที่ใบแก่ก่อน
- ล้าต้นแคระแกร็น
- ใบสีเขียวเข้ม
- ใบมีจ้านวนมาก
- ล้าต้นเติบโตมากกว่า
ราก
โพแทสเซียม (K) - เป็นโคแฟกเตอร์ของ
เอนไซม์
- ควบคุมแรงดันออสโม
ติก ของเซลล์คุม
- รักษาสมดุลไอออน
- ควบคุมการสังเคราะห์
และเคลื่อนย้ายแป้ง
- ใบเหลือง ขอบใบ
และปลายใบไหม้
- เนือเยื่อใบตายเป็น
จุดๆ เกิดที่ใบแก่ก่อน
ธาตุอาหาร หน้าที่
อาการที่พืชตอบสนองและแสดงออก
อาการเมื่อขาด อาการเมื่อได้รับธาตุ
อาหารมากเกินไป
ฟอสฟอรัส (P) - เป็นองค์ประกอบของ
กรดนิวคลีอิก ATP
และฟอสโฟลิพิด
- การเติบโตชะงัก
- ใบแก่มีสีเขียวเข้ม
ก้านใบหรือใบมีสีแดง
หรือม่วง
- ใบอ่อนมีสีเหลือง
ระหว่างเส้นใบ แต่เส้น
ใบมีสีเขียว เนือเยื่อใบ
ตาย
แคลเซียม (Ca) - ควบคุมการ
ตอบสนองต่อสารต่างๆ
ที่เยื่อหุ้มเซลล์
- เกี่ยวข้องกับการสร้าง
และรักษาความเสถียร
ของผนังเซลล์
- เนือเยื่อเจริญปลาย
ยอดและปลายรากตาย
- ใบอ่อนหงิกงอ
- ปลายใบ ขอบใบ
เหี่ยว
ธาตุอาหาร หน้าที่
อาการที่พืชตอบสนองและแสดงออก
อาการเมื่อขาด อาการเมื่อได้รับธาตุ
อาหารมากเกินไป
แมกนีเซียม (Mg) - เป็นองค์ประกอบของ
คลอโรฟิลล์
- กระตุ้นการท้างานของเอนไซม์ที่
เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
- ใบมีสีเหลืองระหว่างเส้นใบ
เกิดที่ใบแก่อ่อน
- เกิดจุดสีแดงบนใบ
- ปลายใบและขอบใบม้วนเป็น
รูปถ้วย
ก้ามะถัน (S) - เป็นองค์ประกอบของกรดอะมิ
โนและโคเอนไซม์บางชนิด
- เกี่ยวข้องกับการหายใจและการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
- ใบเหลืองทังใบโดยเกิดที่ใบอ่อน
ก่อนหรือใบเหลืองทังล้าต้น
- ยับยังการสังเคราะห์ด้วยแสง
และท้าให้โครงสร้างคลอโรฟิลล์
เสื่อมสภาพ
เหล็ก (Fe) - เป็นองค์ประกอบของไซโทโครม
ซึ่งจ้าเป็นต่อกระบวนการหายใจ
ระดับเซลล์
- เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์
คลอโรฟิลล์
- ใบมีสีเหลืองระหว่างเส้นใบ
เกิดที่ใบแก่อ่อน
- ขาดอย่างรุนแรงใบอ่อนอาจซีด
ขาวและแห้งตาย
- เกิดเป็นจุดเซลล์แห้งตายบนใบ
คุณหมอต้นไม้
ฟอสฟอรัส
(Phosphorus)
เหล็ก (Iron)
โพแทสเซียม
(Potassium)
แมกนีเซียม
(Magnesium)
ฟอสฟอรัส
(Phosphorus)
ไนโตรเจน
(Nitrogen)
การล้าเลียงอาหารของพืช
• อาหารที่พืชสร้างขึน ได้แก่ น้าตาล หรือสารประกอบชนิดอื่นๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป
• อาหารจะถูกล้าเลียงไปตามเนือเยื่อโฟลเอม (phloem) เพื่อน้าไปเลียงส่วนต่างๆ
ของพืชที่ก้าลังจะเจริญ เช่น บริเวณปลายยอด บริเวณปลายราก หรือเก็บสะสมไว้
บริเวณที่เก็บสะสมอาการ เช่น ราก หรือหัว เป็นต้น
35
กลไกการล้าเลียงอาหารทางโฟลเอม
• จากลักษณะการล้าเลียงอาหารของโฟลเอ็ม ได้มีนักวิทยาศาสตร์หลายท่านศึกษา
และอธิบายวิธีการล้าเลียงอาหาร ดังนี
• 1. มาร์เซลโล มัลพิจิ (Marcello Malpighi)
• 2. ที จี เมสัน (T.G. Mason) และ อี เจ มัสเคล (E.J. Maskel)
• 3. ซิมเมอร์แมน (Zimmerman)
• 4. สมมุติฐานการไหลของมวลสาร (Mass flow hypothesis) ของ
อี มึนซ์ (E. Munch)
ประวัติการศึกษาการล้าเลียงอาหาร
• มาร์เซลโล มัลพิจิ (Marcello Malpighi), 1686 ท้าการควั่นรอบเปลือกไม้
ของล้าต้น เมื่อพืชเจริญระยะหนึ่งพบว่าเปลือกเหนือรอยควั่นจะพองออก
• ที จี เมสัน (T.G. Mason) และ อี เจ มัสเคล (E.J. Maskel), 1928
พบว่าการควั่นเปลือกของล้าต้นไม่มีผลต่อการคายน้าของพืช แต่มีผลต่อการล้าเลียง
อาหาร เนื่องจากไซเล็มยังสามารถล้าเลียงน้าได้ ส่วนเปลือกของล้าต้นที่อยู่เหนือ
รอยควั่นพองออก เนื่องจากมีการสะสมของน้าตาลที่ไม่สามารถล้าเลียงผ่านมายัง
ด้านล่างของต้นไม้ได้
ถ้าควั่นเปลือกของล้าต้นตรงบริเวณโคน ?
• อาจท้าให้ต้นไม้ตายได้ เพราะไม่สามารถส่งอาหารไปเลียงราก รากจะขาดอาหาร
ท้าให้รากตาย จึงไม่สามารถล้าเลียงน้าและสารอาหารไปยังส่วนต่างๆ ของพืชได้
• การควั่นต้นไม้นิยมใช้ในการตอนต้นไม้ โดยควั่นบริเวณกิ่ง แล้วขูดเนือเยื่อที่ติดกับ
เนือไม้ออกให้หมด แล้วจึงน้าดินเปียกๆ หรือโคลนไปพอก ที่ท้าเช่นนีเพื่อให้กิ่งไม้ที่
อยู่เหนือรอยควั่นเป็นแหล่งสะสมอาหาร ช่วยท้าให้รากแตกออกมาได้
• ซิมเมอร์แมน (Zimmerman) ได้ท้าการทดลองโดยใช้เพลียอ่อน โดยให้เพลีย
อ่อนแทงงวงเข้าไปดูดของเหลวจากโฟลเอ็มของพืช พบว่ามีของเหลวไหลมาออกทาง
ก้นของเพลียอ่อน จากนันได้วางยาสลบและตัดหัวของเพลียอ่อนออก พบว่ามี
ของเหลวจากโฟลเอ็มยังคงไหลออกมาตามงวงของเพลียอ่อนอยู่ เมื่อเอาของเหลวที่
ไหลออกจากงวงไปวิเคราะห์พบว่าส่วนใหญ่เป็น ซูโครส
ซูโครส (sucrose)
• พืชล้าเลียงอาหารในรูปของซูโครส
• พืชเก็บสะสมอาหารในรูปของแป้ง
แป้ง (starch)
การศึกษาการล้าเลียงน้าตาลโดยใช้สารกัมมันตรังสี 14c
• มีการศึกษาการล้าเลียงน้าตาลในพืชโดยใช้สารกัมมันตรังสี คือ 14c ที่อยู่
ในรูปของสารละลายคาร์บอนไดออกไซด์
• พืชดูดสารละลาย 14co2 เข้าทางใบ เพื่อใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เพื่อ
ดูว่าส่วนใดของพืชจะได้รับสารกัมมันตรังสี เป็นการบ่งบอกว่าน้าตาลถูกล้าเลียงไป
ยังส่วนใดของพืชบ้าง แล้วให้เพลียอ่อนแทงงวงเข้าท่อโฟลเอ็มในต้าแหน่งต่างๆ กัน
• ท้าให้สามารถหาอัตราการเคลื่อนที่ของของน้าตาลในโฟลอ็มได้ พบว่าการเคลื่อนที่
ของน้าตาลในโฟลเอ็มมีความเร็วประมาณ 100 เซนติเมตรต่อชั่วโมง
• พบว่า การล้าเลียงน้าตาลซูโครสเกิดได้ทังสองทิศทาง (bidirection) โดยการ
ล้าเลียงจากแหล่งสร้าง (Source) ไปยังแหล่งใช้ (Sink)
เพราะเหตุใดการเคลื่อนที่ของน้าตาลในโฟลเอ็มจึงเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
สมมุติฐานการไหลของมวลสาร (Mass flow hypothesis)
• อี มึนซ์ (E. Munch), 1928 อธิบายการล้าเลียงอาหารในโฟลเอ็มว่าเกิดจาก
ความแตกต่างของแรงดันออสโมติกของความเข้มข้นน้าตาลระหว่างใบและราก
• เซลล์ใบมีความเข้มข้นของน้าตาลสูง มีการล้าเลียงไปยังเซลล์ข้างเคียง และมีการ
ล้าเลียงต่อไปยังเซลล์ต่อๆ ไปจนถึงโฟลเอ็ม เกิดแรงดันให้โมเลกุลน้าตาลเคลื่อน
ไปตามโฟลเอ็ม ไปยังเนือเยื่อที่มีความเข้มข้นของน้าตาลน้อยกว่า
• การล้าเลียงซูโครสจากแหล่งสร้างเข้า
สู่ sieve-tube ท้าให้ความเข้มข้น
ของสารละลายใน sieve tube
เพิ่มขึน น้าจึงออสโมซิสเข้า sieve
tube
• Sieve tube มีแรงดันเต่งมากขึน
ดันสารข้างในไปตามท่อ
• เมื่อมาถึงแหล่งรับ แรงดันใน sieve
tube ลดลง น้าจะออสโมซิสสู่เซลล์
ข้างเคียงที่แหล่งรับ
• น้าเข้าสู่ไซเล็ม ซึ่งจะล้าเลียงจาก
แหล่งรับไปยังแหล่งสร้างอีก
1. พืชมีวิธีกำรล้ำเลียงน้้ำและแร่ธำตุจำกขนรำกเข้ำสู่ไซเล็มโดยวิธีใดบ้ำง
จงอธิบำยพอเข้ำใจ
2. พืชมีกำรล้ำเลียงน้้ำและสำรอำหำรจำกรำกขึ้นไปยังบริเวณปลำยยอด
ได้อย่ำงไร
3. สำรอำหำรควำมส้ำคัญต่อพืชอย่ำงไร
Quiz กำรล้ำเลียงน้้ำและอำหำร
4. พืชมีวิธีกำรล้ำเลียงอำหำรโดยวิธีกำรใดบ้ำง จงอธิบำยพอเข้ำใจ
5. กำรล้ำเลียงสำรใน xylem และ phloem มีทิศทำงที่แตกต่ำงกัน
อย่ำงไร
6. อำหำรที่พืชสร้ำงขึ้นส่วนใหญ่มีกำรล้ำเลียงไปตำม phloem ในรูป
ใด และน้ำไปเก็บสะสมตำมส่วนต่ำง ๆ ของพืชในรูปใด
7. เพรำะเหตุใดเวลำตอนกิ่งจึงต้องขูดเยื่อบำง ๆ ออก

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 

Viewers also liked

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
ข้อมูลด้านวัฒนธรรม
ข้อมูลด้านวัฒนธรรมข้อมูลด้านวัฒนธรรม
ข้อมูลด้านวัฒนธรรมThai China
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชNokko Bio
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชWann Rattiya
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงTiew Yotakong
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 

Viewers also liked (20)

การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
ข้อมูลด้านวัฒนธรรม
ข้อมูลด้านวัฒนธรรมข้อมูลด้านวัฒนธรรม
ข้อมูลด้านวัฒนธรรม
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 

Similar to การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช

การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชAnana Anana
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
4water culture 2
4water culture 24water culture 2
4water culture 2kasetpcc
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชMin Minho
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัยwiyadanam
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 

Similar to การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช (20)

การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 
4water culture 2
4water culture 24water culture 2
4water culture 2
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
Biology Chapter10
Biology Chapter10 Biology Chapter10
Biology Chapter10
 

More from Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (20)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช