SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 29
Baixar para ler offline
อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)
 พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ทาหน้าที่เป็นผู้ผลิต (producer) สามารถ
สังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้างอาหารเองได้
 มี chloroplast ซึ่งมีสารสีชนิด chlorophyll a และ b
 มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกลุ่ม protist ที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้
 หลักฐานทางวิวัฒนาการและการศึกษาการเปรียบเทียบลาดับเบสของ
DNA พบว่ามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ charophyte
การปรับตัวของพืชเพื่อดารงชีวิตบนพื้นดิน
 ด้านโครงสร้าง มีรากทาหน้าที่ยึดลาต้นให้ติดอยู่บนพื้นดิน และดูดน้า ลาต้นชูกิ่ง
ก้าน และ ใบทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง
 องค์ประกอบทางเคมี สามารถสังเคราะห์สารพวกลิกนิน คิวทิน เพื่อให้พืชมีความ
แข็งแรงและทนต่อสภาพแวดล้อม ป้องกันการสูญเสียน้า และยังมีการสร้างสาร
sporopollenin เคลือบผิวสปอร์เพื่อป้องกันการสูญเสียน้า
 ด้านการสืบพันธุ์ มี gametangium ประกอบด้วย เซลล์สืบพันธุ์ (gamete)
และมีเนื้อเยื่อที่เป็นหมัน (steriled jacket cells) ล้อมรอบเพื่อป้องกันอันตราย
และป้องกันการสูญเสียน้า และเซลล์สืบพันธุ์มีการปรับตัวให้ใช้น้าน้อยหรือไม่ต้อง
อาศัยน้าในการสืบพันธุ์ นอกจากนี้พืชยังมี sporangium ซึ่งประกอบด้วย
spore และเนื้อเยื่อที่เป็นหมันล้อมรอบ
ลักษณะของพืช
 มีลักษณะที่แตกต่างจากสาหร่าย คือ มี embryo
 มีวัฏจักรชีวิตแบบสลับ (alternation of generation)
ความหลากหลายของพืช
1. Phylum Hepatophyta
2. Phylum Anthocerophyta
3. Phylum Bryophyta
4. Phylum Lycophyta
5. Phylum Pterophyta
6. Phylum Cycadophyta
7. Phylum Ginkgophyta
8. Phylum Coniferophyta
9. Phylum Gnetophyta
10. Phylum Anthophyta
Kingdom
Plantae
กลุ่มไม่มี
ท่อลาเลียง Phylum Bryophyta
Phylum Hepatophyta
Phylum Anthocerophyta
กลุ่มมี
ท่อลาเลียง
ไม่มีเมล็ด
Phylum Lycophyta
Phylum Pterophyta
มีเมล็ด
ไม่มีเปลือกหุ้มเมล็ด
(gymnosperm)
Phylum Coniferophyta
Phylum Cycadophyta
Phylum Ginkgophyta
Phylum Gnetophytaมีเปลือกหุ้มเมล็ด
(angiosperm) Phylum Anthophyta
กลุ่มพืชไม่มีท่อลาเลียง (nonvascular plant)
• มีระยะ gametophyte ยาว และ
sporophyte สั้น
• sporophyte เจริญอยู่บน
gametophyte
• การปฏิสนธิต้องอาศัยน้าเป็นตัวกลาง
ให้ sperm เคลื่อนที่
• ไม่มี ราก ใบ ลาต้นที่แท้จริง
• ลาเลียงน้าและสารอาหารด้วยการแพร่
Phylum
Hepatophyta
(เช่น Liverwort)
gametophyte มีทั้ง
ส่วนคล้ายใบและที่เป็น
แผ่นบาง ๆ ภายใน
เซลล์มีหยดน้ามัน
ส่วนของ
sporophyte มีก้านชู
อับสปอร์ที่ยาว เมื่ออับ
สปอร์แก่จะแตกออก
เพื่อปล่อยสปอร์กระจาย
พันธุ์
Phylum
Anthocerophyta
(เช่น Hornwort)
gametophyte เป็น
แผ่นมีรอยหยักที่ขอบ
มักมี 1 chloroplast
ต่อเซลล์
Sporophyte มีส่วน
ของอับสปอร์ลักษณะยาว
เรียว เมื่อแก่ปลายจะ
แตกออกเป็น 2 แฉก
Phylum Bryophyta (เช่น Moss)
gametophyte มีส่วนคล้ายต้นและใบเรียงวนรอบแกนกลาง
sporophyte มีก้านชูอับสปอร์ มีโครงสร้างช่วยในการกระจายสปอร์หรือมีช่องเปิด
เพื่อกระจายสปอร์
กลุ่มพืชมีท่อลาเลียงที่ไร้เมล็ด (vascular & seedless plant)
• เป็นกลุ่มพืชที่มีท่อลาเลียงเป็นกลุ่มแรก
• gametophyte มีช่วงชีวิตสั้นกว่า sporophyte
• มีการสร้างสปอร์ชนิดเดียว (homospore) หรือ สร้างสปอร์ 2 ชนิด (heterospore)
Phylum Lycophyta
• มี ราก ลาต้น และใบที่แท้จริง
• มีใบขนาดเล็ก มีเส้นใบ 1 เส้น
• ที่ยอดมีใบเรียงซ้อนกัน เรียกว่า strobilus ทาหน้าที่
สร้างสปอร์ ได้แก่ กลุ่มที่สร้าง homospore เช่น
Lycopodium (สามร้อยยอด, หางสิงห์, ช้องนางคลี่,
สร้อยสุกรม, กนกนารี) กลุ่มที่สร้าง heterospore เช่น
Selaginella (ตีนตุ๊กแก), Isoetes(กระเทียมน้า),
Phylum Pterophyta
พืชกลุ่มนี้ได้แก่ หวายทะนอย หญ้าถอดปล้อง เฟิน
หวายทะนอย (Psilotum sp.)
• เป็นพืชที่เริ่มมีท่อลาเลียงที่แท้จริง
• มีลาต้นขนาดเล็กเป็นเหลี่ยมอยู่เหนือดินและใต้ดิน(Rhizome) แตกกิ่งเป็น
คู่ๆ ไม่มีใบหรือมีใบเป็นเกล็ดเล็กๆ ไม่มีรากแต่มีไรซอยด์ดูดน้าและเกลือแร่
Phylum Pterophyta (ต่อ)
หญ้าถอดปล้อง หรือหญ้าหางม้า (equisetum)
• มีราก ลาต้น และใบที่แท้จริง
• เป็นพืชทีมีลาต้นขนาดเล็กสีเขียว ต่อกันเป็นข้อ
และ ปล้องเห็นได้ชัดเจน
• ลาต้นมีสัน มีร่อง มีใบเป็นเกล็ดเชื่อมติดกัน
เป็นวงรอบข้อ แต่ละใบมี 1 เส้นใบ
• ปลายกิ่งมีกลุ่มของอับสปอร์ เรียก
sporangiophore อยู่รอบ ๆ แกนกลางรวม
เป็นโครงสร้างเรียก strobilus
Phylum Pterophyta (ต่อ)
เฟิน (fern)
• มีราก ลาต้น และใบที่แท้จริง
• ใบอ่อนม้วนจากปลายสู่โคนใบ
• มีการสร้างสปอร์อยู่ภายในอับสปอร์
จานวนมากที่บริเวณใต้ใบ (sorus)
เฟินส่วนใหญ่สร้าง homospore
ยกเว้นเฟินน้าบางชนิดสร้าง
heterospore ได้แก่ ผักกูด ผักแว่น
แหนแดง เฟินใบมะขาม ข้าหลวงหลังลาย
จอกหูหนู ชายผ้าสีดา เฟินก้างปลา
ย่านลิเภา กูดเกี๊ยะ เป็นต้น
กลุ่มพืชมีท่อลาเลียงที่มีเมล็ด (vascular & seed plant)
Ovule
• มีการสร้างออวุล(ovule) ซึ่งวิวัฒนาการมาจากอับ
สปอร์ที่สร้างสปอร์ขนาดใหญ่ ภายในมี female
gametophyte เจริญอยู่ซึ่งต่อไปจะสร้าง egg cell
• integument เป็นเนื้อเยื่อพิเศษมาหุ้มเป็นผนัง
ออวุล มีช่อง micropyle
Pollen
• มีการสร้าง เรณู (pollen) อยู่ภายในอับสปอร์
และจะมีการถ่ายเรณู (pollination)
• ใน pollen จะมี การสร้าง sperm ซึ่งจะมีการ
ปฏิสนธิต่อไป แล้วเจริญไปเป็นเมล็ด
กลุ่มเมล็ดไม่มีเปลือกหุ้ม หรือ เมล็ดเปลือย (gymnosperm)
 ovule จะติดบนกิ่งหรือแผ่นใบ เมื่อมีการปฏิสนธิ ovule จะเจริญเป็นเมล็ดติด
อยู่บนกิ่งหรือแผ่นใบ
 กิ่งหรือแผ่นใบที่สร้าง ovule มีลักษณะเป็นแผ่นแข็งสีน้าตาลเป็น strobilus ที่
มีรูปร่างเหมือนกรวย (cone) โดยแยกเป็น female cone และ male cone
แต่บางชนิดอาจไม่เป็น strobilus
 ในไทยพบ 10 ชนิด อยู่ใน Genus
Cycas เช่น ปรง ปรงป่า ปรงเขา
 ลาต้นขนาดใหญ่เติบโตช้า เป็นใบ
ประกอบขนาดใหญ่แบบขนนกชั้นเดียว ใบ
อ่อนม้วนจากปลายใบไปสู่โคนใบ
 มีการสร้าง female cone และ male
cone แยกต้นกัน
 female cone มี ovule หลายอันติด
อยู่บนแผ่นใบ ซึ่งเรียงซ้อนกันแน่นแต่มัก
ไม่เป็น strobilus
Phylum Cycadophyta
Phylum Ginkgophyta
 เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่และผลัดใบ มีต้น
แยกเพศ มีใบสีเขียวเข้มแผ่คล้ายพัดปลาย
ใบเว้ากลาง
 ต้นเพศผู้สร้าง male cone เป็นกลุ่ม
แบบหลวม ๆ บนปลายกิ่งสั้น
 ต้นเพศเมียสร้าง female cone ซึ่งมี
ovule ติดอยู่บนก้านชูovuleบนกิ่ง ก้าน
ละ 2 ovule แต่จะมี 1 ovule ที่จะ
เจริญไปเป็นเมล็ด
 ปัจจุบันมี 1 สปีชีส์ คือ แปะก๊วย
(Ginkgo biloba Linn.)
Phylum Coniferophyta
 มีความหลากหลายมากที่สุดใน gymnosperm
เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ที่ไม่ผลัดใบ ที่รู้จักทั่วไป คือ สน
(pine)
 สร้าง female cone และ male cone บนต้น
เดียวกัน แต่ male cone จะเกิดก่อน
 female cone ประกอบด้วยกิ่งที่แผ่นแข็งสร้าง
ovule แผ่นละ 2 ovule
 male cone ประกอบด้วยแผ่นใบขนาดเล็กที่มี
ลักษณะแข็ง แต่ละแผ่นสร้าง 2 อับสปอร์
 สนเกี๊ยะ (สนสองใบ, สนสามใบ), สนสามพันปี,
พญาไม้
Phylum Gnetophyta
 พบ vessel ในท่อลาเลียง
น้า
 สร้าง strobilus แยกเพศ
 strobilus เพศเมียและ
เพศผู้ แต่ละอันสร้างกิ่งสั้น
เรียงรอบๆข้อเป็นชั้น ๆ แต่
ละกิ่งสั้นของเพศเมียสร้าง 2
ovule ส่วนเพศผู้แต่ละกิ่งสั้น
สร้าง 2 อับสปอร์
 ตัวอย่าง เช่น มะเมื่อย,
ผักเหลียง
กลุ่มที่มีท่อลาเลียง มีเมล็ดที่มีเปลือกหุ้ม (angiosperm)
พืชดอก
 มีความหลากหลายมากที่สุดใน
อาณาจักรพืช
 ดอกเปลี่ยนแปลงมาจากกิ่งสั้น
และใบบนกิ่งสั้นเปลี่ยนแปลงเป็น
โครงสร้างที่มีส่วนในการสืบพันธุ์
 มี ovule เจริญอยู่ใน ovary
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเกสรเพศเมีย
ดังนั้น ovule ของพืชดอกจึงได้รับ
การปกป้องมากกว่าพืชเมล็ดเปลือย
Phylum Anthophyta
 หลักฐานซากดึกดาบรรพ์ประมาณ 130 ปี
Family : Archaefructaceae
 ที่ยังมีชีวิตอยู่ในบัจจุบัน
Family : Amborellaceae
 แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
(monocots) และ พืชใบเลี้ยงคู่ (dicots)
Amborella trichopoda
Kingdom plantae

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 

Mais procurados (20)

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
3 photosyn 2
3 photosyn 23 photosyn 2
3 photosyn 2
 

Destaque

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2Thanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 

Destaque (17)

Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 

Semelhante a Kingdom plantae

Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชMin Minho
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2Naddanai Sumranbumrung
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชKunnanatya Pare
 
ระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืชระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืชdnavaroj
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกNokko Bio
 

Semelhante a Kingdom plantae (20)

Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
 
ระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืชระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืช
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 

Mais de Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 

Mais de Thanyamon Chat. (17)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 

Kingdom plantae

  • 1. อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)  พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ทาหน้าที่เป็นผู้ผลิต (producer) สามารถ สังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้างอาหารเองได้  มี chloroplast ซึ่งมีสารสีชนิด chlorophyll a และ b  มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกลุ่ม protist ที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้  หลักฐานทางวิวัฒนาการและการศึกษาการเปรียบเทียบลาดับเบสของ DNA พบว่ามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ charophyte
  • 2. การปรับตัวของพืชเพื่อดารงชีวิตบนพื้นดิน  ด้านโครงสร้าง มีรากทาหน้าที่ยึดลาต้นให้ติดอยู่บนพื้นดิน และดูดน้า ลาต้นชูกิ่ง ก้าน และ ใบทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง  องค์ประกอบทางเคมี สามารถสังเคราะห์สารพวกลิกนิน คิวทิน เพื่อให้พืชมีความ แข็งแรงและทนต่อสภาพแวดล้อม ป้องกันการสูญเสียน้า และยังมีการสร้างสาร sporopollenin เคลือบผิวสปอร์เพื่อป้องกันการสูญเสียน้า  ด้านการสืบพันธุ์ มี gametangium ประกอบด้วย เซลล์สืบพันธุ์ (gamete) และมีเนื้อเยื่อที่เป็นหมัน (steriled jacket cells) ล้อมรอบเพื่อป้องกันอันตราย และป้องกันการสูญเสียน้า และเซลล์สืบพันธุ์มีการปรับตัวให้ใช้น้าน้อยหรือไม่ต้อง อาศัยน้าในการสืบพันธุ์ นอกจากนี้พืชยังมี sporangium ซึ่งประกอบด้วย spore และเนื้อเยื่อที่เป็นหมันล้อมรอบ
  • 3. ลักษณะของพืช  มีลักษณะที่แตกต่างจากสาหร่าย คือ มี embryo  มีวัฏจักรชีวิตแบบสลับ (alternation of generation)
  • 4. ความหลากหลายของพืช 1. Phylum Hepatophyta 2. Phylum Anthocerophyta 3. Phylum Bryophyta 4. Phylum Lycophyta 5. Phylum Pterophyta 6. Phylum Cycadophyta 7. Phylum Ginkgophyta 8. Phylum Coniferophyta 9. Phylum Gnetophyta 10. Phylum Anthophyta
  • 5. Kingdom Plantae กลุ่มไม่มี ท่อลาเลียง Phylum Bryophyta Phylum Hepatophyta Phylum Anthocerophyta กลุ่มมี ท่อลาเลียง ไม่มีเมล็ด Phylum Lycophyta Phylum Pterophyta มีเมล็ด ไม่มีเปลือกหุ้มเมล็ด (gymnosperm) Phylum Coniferophyta Phylum Cycadophyta Phylum Ginkgophyta Phylum Gnetophytaมีเปลือกหุ้มเมล็ด (angiosperm) Phylum Anthophyta
  • 6. กลุ่มพืชไม่มีท่อลาเลียง (nonvascular plant) • มีระยะ gametophyte ยาว และ sporophyte สั้น • sporophyte เจริญอยู่บน gametophyte • การปฏิสนธิต้องอาศัยน้าเป็นตัวกลาง ให้ sperm เคลื่อนที่ • ไม่มี ราก ใบ ลาต้นที่แท้จริง • ลาเลียงน้าและสารอาหารด้วยการแพร่
  • 7. Phylum Hepatophyta (เช่น Liverwort) gametophyte มีทั้ง ส่วนคล้ายใบและที่เป็น แผ่นบาง ๆ ภายใน เซลล์มีหยดน้ามัน ส่วนของ sporophyte มีก้านชู อับสปอร์ที่ยาว เมื่ออับ สปอร์แก่จะแตกออก เพื่อปล่อยสปอร์กระจาย พันธุ์
  • 8.
  • 9. Phylum Anthocerophyta (เช่น Hornwort) gametophyte เป็น แผ่นมีรอยหยักที่ขอบ มักมี 1 chloroplast ต่อเซลล์ Sporophyte มีส่วน ของอับสปอร์ลักษณะยาว เรียว เมื่อแก่ปลายจะ แตกออกเป็น 2 แฉก
  • 10.
  • 11. Phylum Bryophyta (เช่น Moss) gametophyte มีส่วนคล้ายต้นและใบเรียงวนรอบแกนกลาง sporophyte มีก้านชูอับสปอร์ มีโครงสร้างช่วยในการกระจายสปอร์หรือมีช่องเปิด เพื่อกระจายสปอร์
  • 12.
  • 13. กลุ่มพืชมีท่อลาเลียงที่ไร้เมล็ด (vascular & seedless plant) • เป็นกลุ่มพืชที่มีท่อลาเลียงเป็นกลุ่มแรก • gametophyte มีช่วงชีวิตสั้นกว่า sporophyte • มีการสร้างสปอร์ชนิดเดียว (homospore) หรือ สร้างสปอร์ 2 ชนิด (heterospore) Phylum Lycophyta • มี ราก ลาต้น และใบที่แท้จริง • มีใบขนาดเล็ก มีเส้นใบ 1 เส้น • ที่ยอดมีใบเรียงซ้อนกัน เรียกว่า strobilus ทาหน้าที่ สร้างสปอร์ ได้แก่ กลุ่มที่สร้าง homospore เช่น Lycopodium (สามร้อยยอด, หางสิงห์, ช้องนางคลี่, สร้อยสุกรม, กนกนารี) กลุ่มที่สร้าง heterospore เช่น Selaginella (ตีนตุ๊กแก), Isoetes(กระเทียมน้า),
  • 14. Phylum Pterophyta พืชกลุ่มนี้ได้แก่ หวายทะนอย หญ้าถอดปล้อง เฟิน หวายทะนอย (Psilotum sp.) • เป็นพืชที่เริ่มมีท่อลาเลียงที่แท้จริง • มีลาต้นขนาดเล็กเป็นเหลี่ยมอยู่เหนือดินและใต้ดิน(Rhizome) แตกกิ่งเป็น คู่ๆ ไม่มีใบหรือมีใบเป็นเกล็ดเล็กๆ ไม่มีรากแต่มีไรซอยด์ดูดน้าและเกลือแร่
  • 15. Phylum Pterophyta (ต่อ) หญ้าถอดปล้อง หรือหญ้าหางม้า (equisetum) • มีราก ลาต้น และใบที่แท้จริง • เป็นพืชทีมีลาต้นขนาดเล็กสีเขียว ต่อกันเป็นข้อ และ ปล้องเห็นได้ชัดเจน • ลาต้นมีสัน มีร่อง มีใบเป็นเกล็ดเชื่อมติดกัน เป็นวงรอบข้อ แต่ละใบมี 1 เส้นใบ • ปลายกิ่งมีกลุ่มของอับสปอร์ เรียก sporangiophore อยู่รอบ ๆ แกนกลางรวม เป็นโครงสร้างเรียก strobilus
  • 16. Phylum Pterophyta (ต่อ) เฟิน (fern) • มีราก ลาต้น และใบที่แท้จริง • ใบอ่อนม้วนจากปลายสู่โคนใบ • มีการสร้างสปอร์อยู่ภายในอับสปอร์ จานวนมากที่บริเวณใต้ใบ (sorus) เฟินส่วนใหญ่สร้าง homospore ยกเว้นเฟินน้าบางชนิดสร้าง heterospore ได้แก่ ผักกูด ผักแว่น แหนแดง เฟินใบมะขาม ข้าหลวงหลังลาย จอกหูหนู ชายผ้าสีดา เฟินก้างปลา ย่านลิเภา กูดเกี๊ยะ เป็นต้น
  • 17. กลุ่มพืชมีท่อลาเลียงที่มีเมล็ด (vascular & seed plant) Ovule • มีการสร้างออวุล(ovule) ซึ่งวิวัฒนาการมาจากอับ สปอร์ที่สร้างสปอร์ขนาดใหญ่ ภายในมี female gametophyte เจริญอยู่ซึ่งต่อไปจะสร้าง egg cell • integument เป็นเนื้อเยื่อพิเศษมาหุ้มเป็นผนัง ออวุล มีช่อง micropyle Pollen • มีการสร้าง เรณู (pollen) อยู่ภายในอับสปอร์ และจะมีการถ่ายเรณู (pollination) • ใน pollen จะมี การสร้าง sperm ซึ่งจะมีการ ปฏิสนธิต่อไป แล้วเจริญไปเป็นเมล็ด
  • 18. กลุ่มเมล็ดไม่มีเปลือกหุ้ม หรือ เมล็ดเปลือย (gymnosperm)  ovule จะติดบนกิ่งหรือแผ่นใบ เมื่อมีการปฏิสนธิ ovule จะเจริญเป็นเมล็ดติด อยู่บนกิ่งหรือแผ่นใบ  กิ่งหรือแผ่นใบที่สร้าง ovule มีลักษณะเป็นแผ่นแข็งสีน้าตาลเป็น strobilus ที่ มีรูปร่างเหมือนกรวย (cone) โดยแยกเป็น female cone และ male cone แต่บางชนิดอาจไม่เป็น strobilus
  • 19.  ในไทยพบ 10 ชนิด อยู่ใน Genus Cycas เช่น ปรง ปรงป่า ปรงเขา  ลาต้นขนาดใหญ่เติบโตช้า เป็นใบ ประกอบขนาดใหญ่แบบขนนกชั้นเดียว ใบ อ่อนม้วนจากปลายใบไปสู่โคนใบ  มีการสร้าง female cone และ male cone แยกต้นกัน  female cone มี ovule หลายอันติด อยู่บนแผ่นใบ ซึ่งเรียงซ้อนกันแน่นแต่มัก ไม่เป็น strobilus Phylum Cycadophyta
  • 20.
  • 21. Phylum Ginkgophyta  เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่และผลัดใบ มีต้น แยกเพศ มีใบสีเขียวเข้มแผ่คล้ายพัดปลาย ใบเว้ากลาง  ต้นเพศผู้สร้าง male cone เป็นกลุ่ม แบบหลวม ๆ บนปลายกิ่งสั้น  ต้นเพศเมียสร้าง female cone ซึ่งมี ovule ติดอยู่บนก้านชูovuleบนกิ่ง ก้าน ละ 2 ovule แต่จะมี 1 ovule ที่จะ เจริญไปเป็นเมล็ด  ปัจจุบันมี 1 สปีชีส์ คือ แปะก๊วย (Ginkgo biloba Linn.)
  • 22. Phylum Coniferophyta  มีความหลากหลายมากที่สุดใน gymnosperm เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ที่ไม่ผลัดใบ ที่รู้จักทั่วไป คือ สน (pine)  สร้าง female cone และ male cone บนต้น เดียวกัน แต่ male cone จะเกิดก่อน  female cone ประกอบด้วยกิ่งที่แผ่นแข็งสร้าง ovule แผ่นละ 2 ovule  male cone ประกอบด้วยแผ่นใบขนาดเล็กที่มี ลักษณะแข็ง แต่ละแผ่นสร้าง 2 อับสปอร์  สนเกี๊ยะ (สนสองใบ, สนสามใบ), สนสามพันปี, พญาไม้
  • 23.
  • 24. Phylum Gnetophyta  พบ vessel ในท่อลาเลียง น้า  สร้าง strobilus แยกเพศ  strobilus เพศเมียและ เพศผู้ แต่ละอันสร้างกิ่งสั้น เรียงรอบๆข้อเป็นชั้น ๆ แต่ ละกิ่งสั้นของเพศเมียสร้าง 2 ovule ส่วนเพศผู้แต่ละกิ่งสั้น สร้าง 2 อับสปอร์  ตัวอย่าง เช่น มะเมื่อย, ผักเหลียง
  • 25. กลุ่มที่มีท่อลาเลียง มีเมล็ดที่มีเปลือกหุ้ม (angiosperm) พืชดอก  มีความหลากหลายมากที่สุดใน อาณาจักรพืช  ดอกเปลี่ยนแปลงมาจากกิ่งสั้น และใบบนกิ่งสั้นเปลี่ยนแปลงเป็น โครงสร้างที่มีส่วนในการสืบพันธุ์  มี ovule เจริญอยู่ใน ovary ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเกสรเพศเมีย ดังนั้น ovule ของพืชดอกจึงได้รับ การปกป้องมากกว่าพืชเมล็ดเปลือย
  • 26. Phylum Anthophyta  หลักฐานซากดึกดาบรรพ์ประมาณ 130 ปี Family : Archaefructaceae  ที่ยังมีชีวิตอยู่ในบัจจุบัน Family : Amborellaceae  แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว (monocots) และ พืชใบเลี้ยงคู่ (dicots)
  • 27.