SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
Baixar para ler offline
1
2
stroma
สารตั้งต้นที่ใช้ คือ NADPH ATP CO2
ผลิตภัณฑ์ที่ได้ คือ Glucose
3
ปี พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950) คัลวิน (Melvin Calvin) แอนดรู เอ เบนสัน
(Andrew A Benson) และคณะ ได้นาสาหร่ายสีเขียวเซลล์เดียว คลอเรลลา
(Chlorella) และน้าใส่ในขวดแก้ว
4
• ผ่านแสงและ CO2 ที่เป็น 14C ที่อยู่ในรูปของ H14CO-
3 เข้าไปในขวดเพื่อให้เกิด
การสังเคราะห์ด้วยแสง
• เมื่อผ่านไปได้ประมาณ 60 วินาที ตรวจสารประกอบแล้วพบ 14C ใน
สารประกอบของ ฟอสโฟกลีเซอริก (Phosphoglyceric acid) หรือ PGA
• PGA มีคาร์บอนอยู่ 3 อะตอมในโมเลกุล แต่มีอะตอมเดียวเท่านั้นที่เป็น 14C
ส่วนอีก 2 อะตอมเป็นอะตอมของคาร์บอนปกติ P
5
 เมื่อมีแสงปริมาณของ PGA และ RuBP จะ
อยู่ในระดับคงที่
 ขณะที่ไม่มีแสงสว่าง แต่มีคาร์บอนไดออกไซด์
ปริมาณ PGA เพิ่มขึ้น ส่วน RuBP ลดลง
 การที่ RuBP ลดลงขณะที่ไม่มีแสง เนื่องจาก
ไม่เกิดปฏิกิริยาแสง จึงไม่มี ATP และ
NADPH เพื่อใช้เปลี่ยน PGA ให้กลายเป็น
RuBP
 การเปลี่ยนแปลงของ PGA และ RuBP
ในช่วงที่ไม่มี CO2 เป็นการสนับสนุนว่า
RuBP เป็นตัวรับคาร์บอนไดออกไซด์ แล้ว
ทาให้เกิด PGA ขึ้นมา
 เมื่อไม่มี CO2 ปริมาณ RuBP เพิ่ม
สูงขึ้น ในขณะที่ PGA ลดลง แสดงว่าการ
ขาด ทาให้ RuBP ไม่สามารถเปลี่ยนไป
เป็น PGA ได้ 6
7
8
คาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วัฏจักร
คัลวินด้วยการทาปฏิกริยากับ
RuBP โดยมีเอนไซม์
ribulose-1,5-bisphosphate
carboxylase oxygenase :
Rubisco เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
9
ทาให้ได้สารประกอบที่ไม่อิ่มตัว มีคาร์บอนอยู่ 6 อะตอม แล้วสลายให้
Phosphoglycerate : PGA (3C) 2 โมเลกุล
1. Carboxylation /Carbon fixation
1. PGA รับหมู่ฟอสเฟตจาก
ATP กลายเป็น 1,3-
bisphosphoglycerate
2. รับอิเล็กตรอนจาก NADPH
เพื่อรีดิวซ์ 1,3-
bisphosphoglycerate ให้
กลายเป็น PGAL
(phosphoglyceroldehyde)
หรือ G3P (glyceroldehyde
-3-phosphate)
10
2. Reduction
3. Regeneration
11
• เป็นปฏิกิริยาที่สร้าง RuBP ขึ้นมาใหม่เพื่อกลับไปรับ CO2 อีกครั้ง
• มีการใช้ ATP เพื่อสร้าง RuBP จาก G3P
 น้าตาลที่ได้จากวัฏจักรคัลวินจะถูกนาไปสร้างเป็น glucose และ sucrose
เพื่อลาเลียงไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช
 ในปัจจุบัน พบว่า แสงมีบทบาทสาคัญ เนื่องจากแสงจะไปกระตุ้นการทางาน
ของเอนไซม์หลายชนิดในวัฏจักรคัลวิน เช่น rubisco และแสงยังมีอิทธิพลต่อ
การลาเลียง G3P ออกจาก chloroplast และมีอิทธิพลต่อการเคลื่อนที่ของ
ไอออนต่าง ๆ
12
 หมายถึง กระบวนการ
ตรึงออกซิเจนในคลอ
โรพลาสต์เมื่อได้รับแสง
 กระบวนการนี้เกิดขึ้น
ในสภาพที่ใบพืชได้รับ
แสงมาก แต่มีปริมาณ
คาร์บอนไดออกไซด์ใน
บรรยากาศน้อย ทาให้
RuBP ตรึงออกซิเจนได้
มาก
13
• RuBP จะทาปฏิกริยากับ O2 แทนที่ CO2
• ได้ Phosphoglycolic acid (2C) และ PGA (3C)
RuBP
(Ribulose bisphosphate)
C C C C CC C C
PGA
(Phosphoglycerate)
C C
O O
Rubisco
Phosphoglycolate
14
 PGA ยังคงอยู่ใน Calvin cycle แต่ Phosphoglycolate จะออกจาก
คลอโรพลาสต์เข้าสู่ Peroxisome และ Mitochodria จนสลายเป็น CO2
 เรียกว่า Photorespiration เนื่องมาจาก
1. เกิดในที่มีแสง (Photo)
2. ใช้ O2 คล้ายกับการหายใจแบบใช้ออกซิเจน (respiration)
3. ได้ CO2 และน้า คล้ายกับการหายใจแบบใช้ออกซิเจน (respiration)
 ต่างจากการหายใจแบบใช้ออกซิเจน คือ ไม่มีการสร้าง ATP (แต่ใช้ ATP)
 ต่างจากการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ ไม่มีการสร้างน้าตาลกลูโคส
 ช่วยป้องกันความเสียหายให้แก่ระบบการสังเคราะห์ด้วยแสง เมื่อใบพืชอยู่ใน
สภาพได้รับแสงมากแต่มี CO2 น้อย เนื่องจากพืชได้ใช้ ATP ที่เกิดจากปฏิกิริยา
แสง เพื่อลดอันตรายจากสารพลังงานสูงที่เหลือใช้
15
16
 ตามปกติ พืชมีการตรึง CO2 (กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง) และกระบวนการ
ตรึง O2 (โฟโตเรสไพเรชัน) เกิดขึ้นพร้อมกันอยู่แล้ว
สัดส่วนในการตรึง CO2 : O2 = 3 : 1 (แต่อาจเปลี่ยนแปลงตามความเข้มข้น
ของ CO2 และ O2 ในเซลล์)
สภาพแวดล้อมที่ทาให้เกิดโฟโตเรสไพเรชันได้ดี คือ แสงแดดจัด มีความร้อนและแห้ง
แล้ง ทาให้ปากใบปิด
17
18
โครงสร้างของใบที่จาเป็นต่อการตรึง CO2
19
C3 vs. C4
 พืช C3 มีคลอโรพลาสต์อยู่ที่บริเวณ mesophyll เท่านั้น แต่ Bundle sheath
หรือเซลล์ที่ห่อหุ้มท่อลาเลียงไม่มีคลอโรพลาสต์
 พืช C4 มีคลอโรพลาสต์ พบคลอโรพลาสต์ทั้งใน mesophyll และ Bundle
sheath
 การที่พืช C3 และ C4 มีโครงสร้างที่แตกต่างกัน จะส่งผลต่อการตรึง
คาร์บอนไดออกไซด์ที่แตกต่างกันด้วย
20
วัฏจักรคาร์บอนของพืช C3
21
วัฏจักรคาร์บอนของพืช C4
• พืช C4 ได้แก่ ข้าวโพด อ้อย ข้าวฟ่าง บานไม่รู้โรย
• มีการตรึง CO2 2 ครั้ง
–ครั้งแรกที่ mesophyll 22
PEP (3C) + CO2  OAA (4C)
1. การตรึง CO2 ที่ Mesophyll
•สารประกอบที่มีคาร์บอน 3 อะตอม คือ
phosphoenol pyruvic acid หรือ PEP มา
รับ CO2
• กลายเป็น oxaloacetic acid หรือ OAA
• OAA จะเปลี่ยนเป็น malic acid แล้วเข้าสู่
bundle sheath
2. การตรึง CO2 ที่ Bundle sheath
• malic acid แล้วเข้าสู่ bundle sheath โดย
ผ่านทาง plasmodesmata แล้วปล่อย CO2
ให้แก่ RuBP ใน Calvin cycle
• ทาให้ปริมาณ CO2 ใน bundle sheath สูง
อยู่ตลอดเวลา 23
24
Crassulacean acid metabolism plant ; CAM
เช่น กระบองเพชร สับประรด กล้วยไม้ ศรนารายณ์ ลิ้นมังกร ว่านหางจระเข้
ในสภาวะแวดล้อมที่อากาศแห้งแล้ง อุณหภูมิสูงแต่ความชื้นต่า พืชจะสูญเสียน้า
พืชปรับตัวโดยเปลี่ยนใบเป็นหนาม หรือมีลาต้นอวบเพื่อกักเก็บน้า และปิดปากใบในเวลากลางวัน
การที่ปากใบปิด ทาให้ CO2 เข้าสู่ใบไม่ได้ พืช CAM จึงตรึง CO2 ในเวลากลางคืน
กลางคืน:อุณหภูมิลดต่าลงและความชื้นเพิ่ม ปากใบเปิด และมีการตรึง CO2 แบบ C4 pathway
ได้ OAA แล้วเปลี่ยนเป็นกรดมาลิกไปเก็บที่แวคิวโอล
กลางวัน : ปากใบปิด กรดมาลิกในแวคิวโอลปล่อย CO2 ออกมา เข้าสู่ Calvin cycle
25
26
27
28
29
A
B
C
D
E
F 30
31
3. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างพืช C3 C4 และ CAM
ข้อเปรียบเทียบ พืช C3 พืช C4 พืช CAM
จานวนครั้งในการตรึง
CO2
บริเวณที่เกิดการตรึง CO2
บริเวณที่เกิดวัฏจักรคัลวิน
ผลิตภัณฑ์ตัวแรกที่ได้จาก
การตรึง CO2 ในอากาศ
Photorespiration
ชนิดของพืช
32

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงTiew Yotakong
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 

Mais procurados (20)

การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 

Destaque

Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนThanyamon Chat.
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)Pinutchaya Nakchumroon
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชnokbiology
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชdnavaroj
 
Hand out ยีนและโครโมโซม
Hand out ยีนและโครโมโซมHand out ยีนและโครโมโซม
Hand out ยีนและโครโมโซมThanyamon Chat.
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรมHand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)Thanyamon Chat.
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2Thanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 

Destaque (20)

Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
Hand out ยีนและโครโมโซม
Hand out ยีนและโครโมโซมHand out ยีนและโครโมโซม
Hand out ยีนและโครโมโซม
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรมHand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 

Semelhante a carbondioxide fixation

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointsupreechafkk
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camappseper
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจN'apple Naja
 

Semelhante a carbondioxide fixation (20)

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipoint
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 

Mais de Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 

Mais de Thanyamon Chat. (18)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 

carbondioxide fixation

  • 1. 1
  • 2. 2
  • 3. stroma สารตั้งต้นที่ใช้ คือ NADPH ATP CO2 ผลิตภัณฑ์ที่ได้ คือ Glucose 3
  • 4. ปี พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950) คัลวิน (Melvin Calvin) แอนดรู เอ เบนสัน (Andrew A Benson) และคณะ ได้นาสาหร่ายสีเขียวเซลล์เดียว คลอเรลลา (Chlorella) และน้าใส่ในขวดแก้ว 4
  • 5. • ผ่านแสงและ CO2 ที่เป็น 14C ที่อยู่ในรูปของ H14CO- 3 เข้าไปในขวดเพื่อให้เกิด การสังเคราะห์ด้วยแสง • เมื่อผ่านไปได้ประมาณ 60 วินาที ตรวจสารประกอบแล้วพบ 14C ใน สารประกอบของ ฟอสโฟกลีเซอริก (Phosphoglyceric acid) หรือ PGA • PGA มีคาร์บอนอยู่ 3 อะตอมในโมเลกุล แต่มีอะตอมเดียวเท่านั้นที่เป็น 14C ส่วนอีก 2 อะตอมเป็นอะตอมของคาร์บอนปกติ P 5
  • 6.  เมื่อมีแสงปริมาณของ PGA และ RuBP จะ อยู่ในระดับคงที่  ขณะที่ไม่มีแสงสว่าง แต่มีคาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาณ PGA เพิ่มขึ้น ส่วน RuBP ลดลง  การที่ RuBP ลดลงขณะที่ไม่มีแสง เนื่องจาก ไม่เกิดปฏิกิริยาแสง จึงไม่มี ATP และ NADPH เพื่อใช้เปลี่ยน PGA ให้กลายเป็น RuBP  การเปลี่ยนแปลงของ PGA และ RuBP ในช่วงที่ไม่มี CO2 เป็นการสนับสนุนว่า RuBP เป็นตัวรับคาร์บอนไดออกไซด์ แล้ว ทาให้เกิด PGA ขึ้นมา  เมื่อไม่มี CO2 ปริมาณ RuBP เพิ่ม สูงขึ้น ในขณะที่ PGA ลดลง แสดงว่าการ ขาด ทาให้ RuBP ไม่สามารถเปลี่ยนไป เป็น PGA ได้ 6
  • 7. 7
  • 8. 8
  • 9. คาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วัฏจักร คัลวินด้วยการทาปฏิกริยากับ RuBP โดยมีเอนไซม์ ribulose-1,5-bisphosphate carboxylase oxygenase : Rubisco เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา 9 ทาให้ได้สารประกอบที่ไม่อิ่มตัว มีคาร์บอนอยู่ 6 อะตอม แล้วสลายให้ Phosphoglycerate : PGA (3C) 2 โมเลกุล 1. Carboxylation /Carbon fixation
  • 10. 1. PGA รับหมู่ฟอสเฟตจาก ATP กลายเป็น 1,3- bisphosphoglycerate 2. รับอิเล็กตรอนจาก NADPH เพื่อรีดิวซ์ 1,3- bisphosphoglycerate ให้ กลายเป็น PGAL (phosphoglyceroldehyde) หรือ G3P (glyceroldehyde -3-phosphate) 10 2. Reduction
  • 11. 3. Regeneration 11 • เป็นปฏิกิริยาที่สร้าง RuBP ขึ้นมาใหม่เพื่อกลับไปรับ CO2 อีกครั้ง • มีการใช้ ATP เพื่อสร้าง RuBP จาก G3P
  • 12.  น้าตาลที่ได้จากวัฏจักรคัลวินจะถูกนาไปสร้างเป็น glucose และ sucrose เพื่อลาเลียงไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช  ในปัจจุบัน พบว่า แสงมีบทบาทสาคัญ เนื่องจากแสงจะไปกระตุ้นการทางาน ของเอนไซม์หลายชนิดในวัฏจักรคัลวิน เช่น rubisco และแสงยังมีอิทธิพลต่อ การลาเลียง G3P ออกจาก chloroplast และมีอิทธิพลต่อการเคลื่อนที่ของ ไอออนต่าง ๆ 12
  • 13.  หมายถึง กระบวนการ ตรึงออกซิเจนในคลอ โรพลาสต์เมื่อได้รับแสง  กระบวนการนี้เกิดขึ้น ในสภาพที่ใบพืชได้รับ แสงมาก แต่มีปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ใน บรรยากาศน้อย ทาให้ RuBP ตรึงออกซิเจนได้ มาก 13
  • 14. • RuBP จะทาปฏิกริยากับ O2 แทนที่ CO2 • ได้ Phosphoglycolic acid (2C) และ PGA (3C) RuBP (Ribulose bisphosphate) C C C C CC C C PGA (Phosphoglycerate) C C O O Rubisco Phosphoglycolate 14
  • 15.  PGA ยังคงอยู่ใน Calvin cycle แต่ Phosphoglycolate จะออกจาก คลอโรพลาสต์เข้าสู่ Peroxisome และ Mitochodria จนสลายเป็น CO2  เรียกว่า Photorespiration เนื่องมาจาก 1. เกิดในที่มีแสง (Photo) 2. ใช้ O2 คล้ายกับการหายใจแบบใช้ออกซิเจน (respiration) 3. ได้ CO2 และน้า คล้ายกับการหายใจแบบใช้ออกซิเจน (respiration)  ต่างจากการหายใจแบบใช้ออกซิเจน คือ ไม่มีการสร้าง ATP (แต่ใช้ ATP)  ต่างจากการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ ไม่มีการสร้างน้าตาลกลูโคส  ช่วยป้องกันความเสียหายให้แก่ระบบการสังเคราะห์ด้วยแสง เมื่อใบพืชอยู่ใน สภาพได้รับแสงมากแต่มี CO2 น้อย เนื่องจากพืชได้ใช้ ATP ที่เกิดจากปฏิกิริยา แสง เพื่อลดอันตรายจากสารพลังงานสูงที่เหลือใช้ 15
  • 16. 16
  • 17.  ตามปกติ พืชมีการตรึง CO2 (กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง) และกระบวนการ ตรึง O2 (โฟโตเรสไพเรชัน) เกิดขึ้นพร้อมกันอยู่แล้ว สัดส่วนในการตรึง CO2 : O2 = 3 : 1 (แต่อาจเปลี่ยนแปลงตามความเข้มข้น ของ CO2 และ O2 ในเซลล์) สภาพแวดล้อมที่ทาให้เกิดโฟโตเรสไพเรชันได้ดี คือ แสงแดดจัด มีความร้อนและแห้ง แล้ง ทาให้ปากใบปิด 17
  • 18. 18
  • 20. C3 vs. C4  พืช C3 มีคลอโรพลาสต์อยู่ที่บริเวณ mesophyll เท่านั้น แต่ Bundle sheath หรือเซลล์ที่ห่อหุ้มท่อลาเลียงไม่มีคลอโรพลาสต์  พืช C4 มีคลอโรพลาสต์ พบคลอโรพลาสต์ทั้งใน mesophyll และ Bundle sheath  การที่พืช C3 และ C4 มีโครงสร้างที่แตกต่างกัน จะส่งผลต่อการตรึง คาร์บอนไดออกไซด์ที่แตกต่างกันด้วย 20
  • 22. วัฏจักรคาร์บอนของพืช C4 • พืช C4 ได้แก่ ข้าวโพด อ้อย ข้าวฟ่าง บานไม่รู้โรย • มีการตรึง CO2 2 ครั้ง –ครั้งแรกที่ mesophyll 22
  • 23. PEP (3C) + CO2  OAA (4C) 1. การตรึง CO2 ที่ Mesophyll •สารประกอบที่มีคาร์บอน 3 อะตอม คือ phosphoenol pyruvic acid หรือ PEP มา รับ CO2 • กลายเป็น oxaloacetic acid หรือ OAA • OAA จะเปลี่ยนเป็น malic acid แล้วเข้าสู่ bundle sheath 2. การตรึง CO2 ที่ Bundle sheath • malic acid แล้วเข้าสู่ bundle sheath โดย ผ่านทาง plasmodesmata แล้วปล่อย CO2 ให้แก่ RuBP ใน Calvin cycle • ทาให้ปริมาณ CO2 ใน bundle sheath สูง อยู่ตลอดเวลา 23
  • 24. 24
  • 25. Crassulacean acid metabolism plant ; CAM เช่น กระบองเพชร สับประรด กล้วยไม้ ศรนารายณ์ ลิ้นมังกร ว่านหางจระเข้ ในสภาวะแวดล้อมที่อากาศแห้งแล้ง อุณหภูมิสูงแต่ความชื้นต่า พืชจะสูญเสียน้า พืชปรับตัวโดยเปลี่ยนใบเป็นหนาม หรือมีลาต้นอวบเพื่อกักเก็บน้า และปิดปากใบในเวลากลางวัน การที่ปากใบปิด ทาให้ CO2 เข้าสู่ใบไม่ได้ พืช CAM จึงตรึง CO2 ในเวลากลางคืน กลางคืน:อุณหภูมิลดต่าลงและความชื้นเพิ่ม ปากใบเปิด และมีการตรึง CO2 แบบ C4 pathway ได้ OAA แล้วเปลี่ยนเป็นกรดมาลิกไปเก็บที่แวคิวโอล กลางวัน : ปากใบปิด กรดมาลิกในแวคิวโอลปล่อย CO2 ออกมา เข้าสู่ Calvin cycle 25
  • 26. 26
  • 27. 27
  • 28. 28
  • 29. 29
  • 31. 31
  • 32. 3. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างพืช C3 C4 และ CAM ข้อเปรียบเทียบ พืช C3 พืช C4 พืช CAM จานวนครั้งในการตรึง CO2 บริเวณที่เกิดการตรึง CO2 บริเวณที่เกิดวัฏจักรคัลวิน ผลิตภัณฑ์ตัวแรกที่ได้จาก การตรึง CO2 ในอากาศ Photorespiration ชนิดของพืช 32