SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 12
Baixar para ler offline
ประจุไฟฟ้า (ELECTRIC CHARGE)
บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต




                                  ครูสมพร เหล่าทองสาร
                     โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. เขต 26
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

       เมื่อนาวัตถุสองชนิดทีเหมาะสมถูกันแล้วต่างเกิดมีอานาจดูดของ
                            ่
  เบาๆ ได้นั้นเราเรียกว่าวัตถุทั้งสองต่างเกิดมีประจุไฟฟ้าขึ้น การกระทา
  ที่ทาให้วัตถุเกิดมีอานาจไฟฟ้าขึ้นได้เราเรียกว่า electrify หรือ
  charge วัตถุและเมื่อวัตถุนั้นๆ หมดอานาจไฟฟ้าแล้ว เราเรียกว่า
  วัตถุนี้เป็นกลาง (neutral)
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)
      กฏเกี่ยวกับประจุไฟฟ้า
 1. ประจุไฟฟ้ามีอยู่ 2 ชนิดคือ
     - ประจุไฟฟ้าบวก หรือเราเรียกสั้นๆ ว่า ประจุบวก (+) เป็นประจุที่
 เกิดบนแท่งแก้ว เมื่อถูด้วยผ้าไหม
     - ประจุไฟฟ้าลบ หรือเราเรียกสั้นๆ ว่า ประจุลบ (-) เป็นประจุที่เกิด
 บนแท่งอาพัน เมื่อถูด้วยผ้าขนสัตว์
       โดย เบนจามิน แฟรงกลิน นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันคนแรกที่
 จาแนกชนิดของประจุไฟฟ้า
    หน่วยของประจุไฟฟ้า เรียกว่า คูลอมบ์ (Coulomb, C)
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

1. ประจุไฟฟ้าบวก (Positive charge)

                 +


2. ประจุไฟฟ้าลบ (Negative charge)

                 -
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

      กฏเกี่ยวกับประจุไฟฟ้า
  2. แรงกระทาที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า แบ่งได้ 2 ชนิดคือ
     - แรงดึงดูดกัน เป็นแรงกระทาระหว่างประจุต่างชนิดกัน
     - แรงผลักกัน เป็นแรงกระทาระหว่างประจุชนิดเดียวกัน
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

แรงกระทาที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า แบ่งได้ 2 ชนิดคือ
     1. แรงดึงดูดกัน เป็นแรงกระทาระหว่างประจุต่างชนิดกัน
                       F          F
               +                            -
     2. แรงผลักกัน เป็นแรงกระทาระหว่างประจุชนิดเดียวกันกัน

 F                       F          F                        F
       +           +                        -       -
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

       วัตถุประกอบด้วยอะตอมจานวนมากและแต่ละอะตอมมีนิวเคลียส
  ซึงประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวก เรียกว่า โปรตอน
    ่
  (proton) อนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้า เรียกว่า นิวตรอน (neutron)
  และบริเวณภายนอกนิวเคลียสมีอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกว่า
  อิเล็กตรอน (electron) ไฟฟ้า
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

         โครงสร้างของอะตอม
                                 -
                                         โปรตอน (proton)
                             +
                                     +
                        -    +
อิเล็กตรอน (electron)                    -

                             นิวตรอน (neutron)
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

      เมื่อนาวัตถุสองชนิดมาถูกันจะทาให้อิเล็กตรอนหลุดออกจาก
  อะตอมของวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง วัตถุที่สูญเสียอิเล็กตรอนจึงมี
  ประจุบวก และวัตถุที่ได้รับอิเล็กตรอนจะมีประจุลบ
      ลาดับของการเกิดชนิดประจุจากการถูวัสดุคู่หนึ่งแสดงดังตาราง
  ต่อไปนี้ โดยวัตถุที่อยู่ตาแหน่งเหนือกว่า (เลขน้อยกว่า) จะเป็นบวก
  ส่วนวัตถุที่อยู่ลาดับต่ากว่า (เลขมากกว่า) จะเป็นลบ เช่น เมื่อนา
  ผ้าไหมไปถูกับอาพัน ผ้าไหมจะมีประจุบวกและอาพันมีประจุลบ
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)
     ตารางแสดงลาดับการเกิดชนิดของประจุของวัตถุ
             1. แก้ว
             2. เส้นผมคน
             3. เปอร์สเปกซ์
             4. ไนลอน
             5. ผ้าสักหลาด
             6. ผ้าไหม
             7. ผ้าฝ้าย
             8. อาพัน
             9. โพลีไวนิลคลอไรด์ (พีวีซ)
                                       ี
             10. เทฟลอน
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

       ลองคิดดู

1. นักเรียนคิดว่า ถ้าถูเทฟลอนด้วยผ้าสักหลาดวัตถุใดจะมีประจุไฟฟ้า
   บวกและวัตถุใดจะมีประจุไฟฟ้าลบ
2. ถ้าถูไนลอนด้วยพีวีซี นักเรียนคิดว่า ถ้าวัตถุใดจะมีประจุไฟฟ้าบวกและ
   ประจุไฟฟ้าลบ ตามลาดับ
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)

      เฉลย

1. เทฟลอนจะมีประจุไฟฟ้าลบ และผ้าสักหลาดจะมีประจุไฟฟ้าบวก

2. ไนลอนจะมีประจุไฟฟ้าบวก และพีวซีจะมีประจุไฟฟ้าลบ ตามลาดับ
                                ี

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงPonpirun Homsuwan
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กSakad Rinrith
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 

Mais procurados (20)

บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 

Destaque

แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
Charging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsCharging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsOhMiss
 
06 types of electroscopes
06 types of electroscopes06 types of electroscopes
06 types of electroscopesmrtangextrahelp
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 

Destaque (14)

กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
 
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้าการทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
Charging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsCharging and Discharging Objects
Charging and Discharging Objects
 
06 types of electroscopes
06 types of electroscopes06 types of electroscopes
06 types of electroscopes
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 

Semelhante a Charge (ประจุไฟฟ้า)

Electriccharge
ElectricchargeElectriccharge
Electricchargekrusajja
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตkapom7
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตArocha Chaichana
 
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าJiraporn Chaimongkol
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารพัน พัน
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าMaliwan303fkk
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตNang Ka Nangnarak
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าพัน พัน
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 

Semelhante a Charge (ประจุไฟฟ้า) (20)

Electriccharge
ElectricchargeElectriccharge
Electriccharge
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
Lesson15
Lesson15Lesson15
Lesson15
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 

Mais de นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

Mais de นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (20)

Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559
 
Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559 Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
 
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
 
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
 
Pressure
PressurePressure
Pressure
 
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
 
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57
 
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57
 
WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4
 

Charge (ประจุไฟฟ้า)

  • 1. ประจุไฟฟ้า (ELECTRIC CHARGE) บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. เขต 26
  • 2. ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) เมื่อนาวัตถุสองชนิดทีเหมาะสมถูกันแล้วต่างเกิดมีอานาจดูดของ ่ เบาๆ ได้นั้นเราเรียกว่าวัตถุทั้งสองต่างเกิดมีประจุไฟฟ้าขึ้น การกระทา ที่ทาให้วัตถุเกิดมีอานาจไฟฟ้าขึ้นได้เราเรียกว่า electrify หรือ charge วัตถุและเมื่อวัตถุนั้นๆ หมดอานาจไฟฟ้าแล้ว เราเรียกว่า วัตถุนี้เป็นกลาง (neutral)
  • 3. ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) กฏเกี่ยวกับประจุไฟฟ้า 1. ประจุไฟฟ้ามีอยู่ 2 ชนิดคือ - ประจุไฟฟ้าบวก หรือเราเรียกสั้นๆ ว่า ประจุบวก (+) เป็นประจุที่ เกิดบนแท่งแก้ว เมื่อถูด้วยผ้าไหม - ประจุไฟฟ้าลบ หรือเราเรียกสั้นๆ ว่า ประจุลบ (-) เป็นประจุที่เกิด บนแท่งอาพัน เมื่อถูด้วยผ้าขนสัตว์ โดย เบนจามิน แฟรงกลิน นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันคนแรกที่ จาแนกชนิดของประจุไฟฟ้า หน่วยของประจุไฟฟ้า เรียกว่า คูลอมบ์ (Coulomb, C)
  • 4. ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) 1. ประจุไฟฟ้าบวก (Positive charge) + 2. ประจุไฟฟ้าลบ (Negative charge) -
  • 5. ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) กฏเกี่ยวกับประจุไฟฟ้า 2. แรงกระทาที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า แบ่งได้ 2 ชนิดคือ - แรงดึงดูดกัน เป็นแรงกระทาระหว่างประจุต่างชนิดกัน - แรงผลักกัน เป็นแรงกระทาระหว่างประจุชนิดเดียวกัน
  • 6. ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) แรงกระทาที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า แบ่งได้ 2 ชนิดคือ 1. แรงดึงดูดกัน เป็นแรงกระทาระหว่างประจุต่างชนิดกัน F F + - 2. แรงผลักกัน เป็นแรงกระทาระหว่างประจุชนิดเดียวกันกัน F F F F + + - -
  • 7. ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) วัตถุประกอบด้วยอะตอมจานวนมากและแต่ละอะตอมมีนิวเคลียส ซึงประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวก เรียกว่า โปรตอน ่ (proton) อนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้า เรียกว่า นิวตรอน (neutron) และบริเวณภายนอกนิวเคลียสมีอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกว่า อิเล็กตรอน (electron) ไฟฟ้า
  • 8. ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) โครงสร้างของอะตอม - โปรตอน (proton) + + - + อิเล็กตรอน (electron) - นิวตรอน (neutron)
  • 9. ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) เมื่อนาวัตถุสองชนิดมาถูกันจะทาให้อิเล็กตรอนหลุดออกจาก อะตอมของวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง วัตถุที่สูญเสียอิเล็กตรอนจึงมี ประจุบวก และวัตถุที่ได้รับอิเล็กตรอนจะมีประจุลบ ลาดับของการเกิดชนิดประจุจากการถูวัสดุคู่หนึ่งแสดงดังตาราง ต่อไปนี้ โดยวัตถุที่อยู่ตาแหน่งเหนือกว่า (เลขน้อยกว่า) จะเป็นบวก ส่วนวัตถุที่อยู่ลาดับต่ากว่า (เลขมากกว่า) จะเป็นลบ เช่น เมื่อนา ผ้าไหมไปถูกับอาพัน ผ้าไหมจะมีประจุบวกและอาพันมีประจุลบ
  • 10. ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) ตารางแสดงลาดับการเกิดชนิดของประจุของวัตถุ 1. แก้ว 2. เส้นผมคน 3. เปอร์สเปกซ์ 4. ไนลอน 5. ผ้าสักหลาด 6. ผ้าไหม 7. ผ้าฝ้าย 8. อาพัน 9. โพลีไวนิลคลอไรด์ (พีวีซ) ี 10. เทฟลอน
  • 11. ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) ลองคิดดู 1. นักเรียนคิดว่า ถ้าถูเทฟลอนด้วยผ้าสักหลาดวัตถุใดจะมีประจุไฟฟ้า บวกและวัตถุใดจะมีประจุไฟฟ้าลบ 2. ถ้าถูไนลอนด้วยพีวีซี นักเรียนคิดว่า ถ้าวัตถุใดจะมีประจุไฟฟ้าบวกและ ประจุไฟฟ้าลบ ตามลาดับ
  • 12. ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) เฉลย 1. เทฟลอนจะมีประจุไฟฟ้าลบ และผ้าสักหลาดจะมีประจุไฟฟ้าบวก 2. ไนลอนจะมีประจุไฟฟ้าบวก และพีวซีจะมีประจุไฟฟ้าลบ ตามลาดับ ี